SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 46
Benchmarking Library Service and Operation ยุพิน  จันทร์เจริญสิน ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 22  ตุลาคม  2552
วัตถุประสงค์ของ  workshop -  Benchmarking  คืออะไร -  ทำไม  Benchmarking  จึงสำคัญกับห้องสมุด -  จะ  Benchmarking  อะไรในห้องสมุด -  มีจุดบอด / หลุมดำอะไร  ตรงไหน  ในงานบ้างไหม Benchmarking  Library Service and Operation
Benchmarking วิธีการพัฒนาที่ประหยัดทั้งเวลาและงบประมาณ ได้ผลเร็ว เพราะเป็นการศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดของที่อื่น แล้วนำมาปฏิบัติ Benchmarking  Library Service and Operation
วัตถุประสงค์ของ  Benchmark วัดผลกระบวนงาน เพื่อปรับปรุงกระบวนงาน -  เพื่อเพิ่มความพอใจของผู้รับบริการ -  เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน -  เพิ่มประสิทธิผล Benchmarking  Library Service and Operation
กระบวนการ  Benchmarking วัดศักยภาพของสำนัก เปรียบชั้นเชิงกับต่างสำนัก จ้าวยุทธจักร  คือ ใคร เอาวิทยายุทธของเขามาใช้ Benchmarking  Library Service and Operation
ประเภทของ  Benchmarking Benchmarking  ตามวัตถุประสงค์ Benchmarking   ตามผู้ที่เราไปเปรียบเทียบ Benchmarking  Library Service and Operation
Benchmarking  ตามวัตถุประสงค์ 1.  Performance Benchmarking 2.  Process Benchmarking 3.  Product Benchmarking 4.  Strategy Benchmarking Benchmarking  Library Service and Operation
Performance   Benchmarking เปรียบเทียบเฉพาะผลของการปฏิบัติงานหรือตัวชี้วัดระหว่างเราและคู่เปรียบเทียบเพื่อดูความสามารถในการปฏิบัติงานหรือผลลัพธ์การทำงานของกระบวนการต่าง ๆ  Benchmarking  Library Service and Operation
Process  Benchmarking -  เปรียบเทียบกระบวนการทำงานหรือวิธีการปฏิบัติงานระหว่างเราและคู่เปรียบเทียบ -  เน้นการเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานที่ดีจากคู่เปรียบเทียบเพื่อนำมาปรับปรุงงานของเรา Benchmarking  Library Service and Operation
Product   Benchmarking -  เปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าว่าพอใจลักษณะใดของสินค้า แล้วนำผลมาเปรียบกับผลิตภัณฑ์ของเรา เพื่อปรับปรุง Benchmarking  Library Service and Operation
Strategy  Benchmarking -  เปรียบเทียบเชิงกลยุทธขององค์กรที่ประสบผลสำเร็จในด้านการวางกลยุทธ -  เป็นการ  Benchmarking  ระดับสูง ต้องมีผู้เชี่ยวชาญมาช่วย -  ส่งผลกระทบระยะยาวและมีผลต่อองค์กรอย่างรุนแรงในด้านการเปลี่ยนแปลง Benchmarking  Library Service and Operation
Benchmarking  ตามผู้ที่เราไปเปรียบเทียบ 1.  Internal Benchmarking 2.  Competition Benchmarking 3.  Industry Benchmarking 4.  Generic Benchmarking Benchmarking  Library Service and Operation
Internal  Benchmarking เปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรเดียวกัน ( แคบ ไม่ได้มีอะไรใหม่ ) Benchmarking  Library Service and Operation
Competition  Benchmarking เปรียบเทียบระหว่างองค์กรที่ประกอบกิจกรรมประเภทเดียวกัน  -  คู่แข่งโดยตรง ( เก็บข้อมูลยาก คู่แข่งเก็บเป็นความลับ ) Benchmarking  Library Service and Operation
Industry  Benchmarking เปรียบเทียบกับผู้นำในอุตสาหกรรมเดียวกัน แต่ไม่ใช่คู่แข่งกัน เช่น บริษัทให้เช่ารถ  /  บริษัท  taxi Benchmarking  Library Service and Operation
Generic  Benchmarking เปรียบเทียบระหว่างองค์กรที่ประกอบกิจการต่างประเภทกันแต่มีกระบวนการผลิตเหมือนกัน เพื่อหากระบวนการ  ที่เป็นเลิศ มี  Best Practice Benchmarking  Library Service and Operation
ความหมายและนิยาม 1.  การวัดผ้าขายในร้านผ้า 2.  การแข่งขันตกปลา จับปลาได้เอาขึ้นวัดบนโต๊ะ (bench)   แล้วทำเครื่องหมาย (mark) ไว้ 3.  เครื่องหมายที่ทำไว้บนกำแพงตึกหรือเสาเพื่อแสดงระดับน้ำทะเล และใช้ในการวัดความสูงและระยะทางในการสำรวจ อื่น ๆ อีกมากมาย Benchmarking  Library Service and Operation
มารู้จัก  Benchmarking  กันสักหน่อย เริ่มจากวงการธุรกิจ 1979  Xerox vs Fuji  การผลิตเครื่องถ่ายเอกสาร 1985  Benchmark:  the Search for Industry Best Practices that Lead to Superior Performance  คัมภีร์ระบบงาน  Xerox 1991  Malcolm  Balbridge Quantity Awards Benchmarking  Library Service and Operation
Benchmarking  ในวงการห้องสมุด 1985  เริ่มทำโดยไม่ได้คิดว่าใช่  -  Metro Toronto 1993  Library Benchmark International – Holly  Muir 1996  SLA  -  Competencies for Special Librarians in the 21st Century – 3/11  ระบุไว้เกี่ยวกับ  Benchmarking Benchmarking  Library Service and Operation
ประโยชน์ของ  Benchmarking  ปรับปรุงการทำงาน ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ได้ตามกลยุทธ พิสูจน์คุณค่าของตนเอง เพิ่มความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมอาชีพ Benchmarking  Library Service and Operation
กลยุทธสู่ชัยชนะ   วางแผน เลือกผู้ร่วมทีม ดำเนินการปรับปรุง หาแรงสนับสนุนจากผู้บริหาร เลือก  model   ของการทำ  Benchmarking Benchmarking  Library Service and Operation
จะ  Benchmarking  อะไร กระบวนงานของห้องสมุด ขั้นตอนการทำงานหรือบริการใด ๆ ในห้องสมุดที่จะต้องมี  input   หรือดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วได้ออกมาเป็น  output Benchmarking  Library Service and Operation
การยืมระหว่างห้องสมุด จำนวนหนังสือ ผลผลิต กระบวนการทำงาน จำนวนวารสาร Document & Delivery จำนวนการยืม - คืน หนังสือ Online Search จำนวนการจัดซื้อ การจัดหา จำนวนการยืมทรัพยากร บริการจ่าย - รับ จะ  Benchmarking  อะไร กระบวนงานของห้องสมุด Benchmarking  Library Service and Operation
กระบวนงานในห้องสมุด Reference Service Online Searching Service การยืมระหว่างห้องสมุด บริการหมุนเวียนวารสาร ขั้นตอนการจ่าย - รับ พัฒนาทรัพยากร การจัดชั้นหนังสือ Benchmarking  Library Service and Operation
การเลือกกระบวนงาน มีความสำคัญกับบุคลากร  ผู้รับบริการ  ผู้บริหาร เน้นกระบวนการที่ต้องอาศัยทักษะ ความชำนาญของบรรณารักษ์ กำลังถูกท้าทายจากภายนอก ต้องไม่ใช่งานที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลง ต้องเป็นกระบวนงานที่พอจะมีช่องว่างจะปรับปรุง Benchmarking  Library Service and Operation
การเลือกคู่เปรียบเทียบ จะรู้ได้อย่างไรว่าใครดีที่สุด ข้อมูลภายใน  -  QMR ห้องสมุดที่มีเจ้าสังกัดที่มีชื่อเสียง ห้องสมุดที่มีบุคลากรที่เก่ง ๆ  tip: อย่าเร่งรีบ ควรสืบเสาะ สอบถามให้แน่ใจ อย่าจำกัดเฉพาะผู้ที่อยู่ในวงการเดียวกัน อย่าเลือกห้องสมุดที่เราคุ้นเคย เป็นเพื่อนกัน หรือเพราะสะดวก Benchmarking  Library Service and Operation
การรวบรวมข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลตัวเลขทั้งหลาย สัมภาษณ์ พิจารณาข้อแตกต่าง ทำแผนปฏิบัติ tip: วิธีการเก็บข้อมูล เตรียมบทสัมภาษณ์  -  pretest เตรียมแบบบันทึก เตรียมการเก็บข้อมูลหลาย ๆ วิธี  ( โทรศัพท์  สำรวจ  ทำ  site visit) Benchmarking  Library Service and Operation
ขั้นตอนการทำ  site visit เลือกหน่วยงาน  กำหนดหัวข้อ ขอบเขต ติดต่อ  host  เบื้องต้น เลือกสมาชิก และมอบหมายงาน ชี้แจงผู้ร่วมทีม  BMK   Site Visit,  Code of Conduct ศึกษา  วิเคราะห์ขบวนการ  กำหนด  critical issue  และประเด็นคำถาม สรุปวัตถุประสงค์  ขอบเขต กำหนด  site visit Benchmarking  Library Service and Operation
ขั้นตอนการทำ  site visit  ( ต่อ ) แจ้ง  host   ยืนยันกำหนดการ  ส่งหัวข้อคำถาม ทดสอบประเด็นคำถาม  แบ่งผู้ร่วมทีม ประสานงานเตรียมการศึกษา เตรียมทำบันทึกข้อมูล และภาพ ( ถ้าอนุญาต ) Benchmarking  Library Service and Operation
ดำเนินการ เปิดประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ดำเนินการสัมภาษณ์ ถาม - ตอบ - บันทึก ปิดประชุม แสดงความขอบคุณ Benchmarking  Library Service and Operation
สรุป ส่งคำขอบคุณอย่างเป็นทางการ สรุปข้อมูลจาก  site visit  และวิเคราะห์  gap ศึกษาแนวทางการปรับปรุงงาน จัดทำรายงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้อง จัดทำ  action plan ดำเนินการตามตกลง เช่น  แลกเปลี่ยนข้อมูล  ให้  host   มาทำ   site visit Benchmarking  Library Service and Operation
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการทำ  Benchmarking (Criteria Success Facts) -  ประสานโครงการ  Benchmarking   เข้ากับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธของหน่วยงาน คือ ต้องรวมอยู่ในการประเมินคุณค่าและกลยุทธของหน่วยงานด้วย -  ต้องมีการคิดกระบวนการอย่างจริงจัง ทั้งกระบวนการมิใช่เพียงผลลัพธ์ -  เลือกคู่เปรียบเทียบที่ดีที่สุด Benchmarking  Library Service and Operation
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการทำ  Benchmarking (Criteria Success Facts)  ( ต่อ ) -  ทุ่มเททำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง -  ต้องเข้าใจหน่วยงานและวัฒนธรรมองค์กรเพื่อที่จะได้เลือกและปรับเอาวิธีการที่เหมาะสมที่สุด -  ต้องเข้าใจข้อจำกัดของ  Benchmarking Tip: เวลา  ต้องให้ให้พอ ข้อมูล  ต้องเลือกอย่างดี มีประโยชน์ ขอบเขต  ต้องให้ครอบคลุม ประการสำคัญ  อย่า  หลงหรือมั่นใจตัวเองเกินไป -  ต้องเข้าใจข้อจำกัดของ  Benchmarking Benchmarking  Library Service and Operation
ปัญหาและข้อยุ่งยาก ข้อควรระวัง ร่วมมือ  /  แข่งขัน การเปรียบเทียบภายใน / ภายนอก ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย วิธีการเก็บข้อมูล ได้มาตรฐาน  สม่ำเสมอ  กำหนดขอบเขตให้ชัดเจน ความเชื่อถือ เชื่อ  BM  จนเกินเหตุ  ไม่ก่อเกิดความคิดสร้างสรรค์ การวางแผน ต้องรอบคอบ ไม่ครอบคลุมวงกว้างเกินไป  ทำภายใน  4 – 6  เดือน  ทำต่อเนื่อง Benchmarking  Library Service and Operation
การทำ  Benchmarking  ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนสแลนด์ QUT / NS QUT  ต้องการทำ  Benchmarking  หลังจากได้ทำ  TQM   มาแล้ว ปรับปรุงพัฒนางานบริการผู้อ่านในส่วนของการช่วยสนับสนุนการทำงานวิจัยของคณาจารย์ ใช้เวลาทำ  6  เดือน Benchmarking  Library Service and Operation
ขั้นตอนการทำ  Benchmarking  ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนสแลนด์ 1.  สร้างความเข้าใจและทักษะในการทำ 2.  เลือกกระบวนการ 3.  รวบรวมเอกสาร 4.  เลือกคู่เปรียบเทียบ 5.  เตรียมการ 6.  ดำเนินการ 7.  วิเคราะห์เปรียบเทียบ 8.  ปรับปรุง Benchmarking  Library Service and Operation
วิเคราะห์ความต้องการขั้นต้น สำรวจความคิดเห็นความต้องการปรับปรุงของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3  กลุ่ม ผู้บริหาร ผู้รับบริการ บุคลากร Benchmarking  Library Service and Operation
สร้างความเข้าใจ ว่า  Benchmarking  คืออะไร เข้าใจกระบวนงาน พัฒนาการวัดขั้นตอน Benchmarking  Library Service and Operation
take action กระบวนการที่เลือก การบริการสารสนเทศ  - เพื่อส่งเสริมอำนวยความสะดวกในการทำวิจัย การเรียนการสอของคณาจารย์  นักวิจัย  นิสิต กระบวนการบริการ เกี่ยวข้องกับบุคลากร  3  กลุ่ม ผู้บริหารระดับสูง ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ  ( บุคลากรห้องสมุด ) Benchmarking  Library Service and Operation
การรวบรวมข้อมูล -  ศึกษาเบื้องต้นจาก  website -  e-mail -  ระบบห้องสมุด  Q.A.  SWOT -  ระบบโครงสร้างบุคลากร -  นโยบายพัฒนาทรัพยากร ฯลฯ -  เยี่ยมชม Benchmarking  Library Service and Operation
เตรียมการ -  ติดต่อ ดำเนินการ 3  มิ . ย . 47 19  ก . ค . 47  4  ต . ค . 47 วิเคราะห์ email   ชี้แจง เยี่ยมชม  สัมภาษณ์  สังเกตการณ์  เยี่ยมชม ใช้เกณฑ์เปรียบเทียบของ  Queensland Technology University Benchmarking  Library Service and Operation
วิเคราะห์ข้อมูล ตามภาระหน้าที่ของ  Reference Service  2  ประการ คือ 1.  การสนับสนุนการสอนและการเรียนรู้  ( Contribution to Teaching and Learning) 2.  การจัดการสนับสนุนเพื่องานวิจัย  ( Provision of Support for Research) Benchmarking  Library Service and Operation
การศึกษาเปรียบเทียบ เกณฑ์การเปรียบเทียบ การสนับสนุนการเรียนการสอน งานวิจัย โครงการฝ่ายบริการตอบคำถาม บุคลากร การใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริการ การประกันคุณภาพ การวิเคราะห์จุดอ่อน - จุดแข็ง Benchmarking  Library Service and Operation
จรรยาบรรณของการทำ  Benchmarking   (Code of Conduct) 1.  หลักการด้านกฎหมาย  ( Principle of Legality) 2.  หลักการด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูล  (Principle of Exchange) ร่วมมือกันแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นจริง 3.  หลักการด้านความลับ  (Principle of Confidentiality) รักษาความลับ 4.  หลักการด้านการใช้ข้อมูล  (Principle of Lese) ปฏิบัติในกรอบของกฎหมาย ใช้ข้อมูลตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ Benchmarking  Library Service and Operation
จรรยาบรรณของการทำ  Benchmarking   (Code of Conduct)  ( ต่อ ) 5.  หลักการด้านการติดต่อ  ( Principle of Contact) ไม่เปิดเผยชื่อของผู้ที่เราติดต่อโดยไม่ได้รับอนุญาต 6.  หลักการด้านการเตรียมตัว  (Principle of Preparation) เตรียมตัวให้พร้อมในการแลกเปลี่ยนข้อมูล 7.  หลักการด้านการทำให้สำเร็จ  (Principle of Completion) ปฏิบัติตามข้อตกลงให้เสร็จในกำหนดเวลา 8.  หลักการด้านความเข้าใจและการปฏิบัติ  (Principle of Action) เอาใจเขามาใส่ใจเรา ติดต่อกับองค์กรที่เราเปรียบเทียบด้วยผ่านบุคคลที่กำหนดเท่านั้น Benchmarking  Library Service and Operation
คน สำคัญที่สุด  ยอมรับ  ปรับเปลี่ยน ร่วมมือ ไม่กร่าง ไม่ถ่อมตัวเกินเหตุ วัฒนธรรมองค์กร แลกเปลี่ยน เรียนรู้ รับ  BM  ไว้ในหัวใจ ฝังไว้ในแผนงาน Benchmarking  Library Service and Operation

Más contenido relacionado

Destacado

Library management system
Library management systemLibrary management system
Library management system
ABhay Panchal
 

Destacado (8)

Trend 2016
Trend 2016Trend 2016
Trend 2016
 
Technology Trends in Libraries for 2014
Technology Trends in Libraries for 2014Technology Trends in Libraries for 2014
Technology Trends in Libraries for 2014
 
Mobile technologies in libraries
Mobile technologies in librariesMobile technologies in libraries
Mobile technologies in libraries
 
S R Ranganathan Powerpoint
S R  Ranganathan PowerpointS R  Ranganathan Powerpoint
S R Ranganathan Powerpoint
 
Designing Intelligent Coversations: A Chatbot Workshop
Designing Intelligent Coversations: A Chatbot WorkshopDesigning Intelligent Coversations: A Chatbot Workshop
Designing Intelligent Coversations: A Chatbot Workshop
 
Library management system
Library management systemLibrary management system
Library management system
 
Tech trends for Libraries in 2016
Tech trends for Libraries in 2016Tech trends for Libraries in 2016
Tech trends for Libraries in 2016
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

Similar a Benchmarking Library Service and Operation

Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
vorravan
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
somjit003
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
0910797083
 
Operation manual
Operation manualOperation manual
Operation manual
rungtip_a
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
kullasab
 
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานการพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
Siriporn Tiwasing
 

Similar a Benchmarking Library Service and Operation (20)

เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชาเครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Inspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theoryInspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theory
 
Thailand SPIN: QA Excellence workshop 2014
Thailand SPIN: QA Excellence workshop 2014Thailand SPIN: QA Excellence workshop 2014
Thailand SPIN: QA Excellence workshop 2014
 
Design6
Design6Design6
Design6
 
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาการออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
Operation manual
Operation manualOperation manual
Operation manual
 
05
0505
05
 
Work3
Work3Work3
Work3
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง Baldrige awareness series 8 management by fact
การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง Baldrige awareness series 8   management by fact การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง Baldrige awareness series 8   management by fact
การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง Baldrige awareness series 8 management by fact
 
Handbook Development
Handbook DevelopmentHandbook Development
Handbook Development
 
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานการพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
 
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS) Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 

Más de Humanities Information Center

รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
Humanities Information Center
 
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
Humanities Information Center
 
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
Humanities Information Center
 

Más de Humanities Information Center (20)

โปสเตอร์นิทรรศการ "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช"
โปสเตอร์นิทรรศการ "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช"โปสเตอร์นิทรรศการ "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช"
โปสเตอร์นิทรรศการ "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช"
 
รายชื่อหนังสือใหม่ประจำเดือน ตุลาคม 2559
 รายชื่อหนังสือใหม่ประจำเดือน ตุลาคม 2559 รายชื่อหนังสือใหม่ประจำเดือน ตุลาคม 2559
รายชื่อหนังสือใหม่ประจำเดือน ตุลาคม 2559
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2559
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2559รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2559
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2559
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2559
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2559รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2559
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2559
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
 
การจัดการเอกสาร
การจัดการเอกสารการจัดการเอกสาร
การจัดการเอกสาร
 
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
 
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
 
สรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมินสรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
 
สรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมินสรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
 
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
 

Benchmarking Library Service and Operation

  • 1. Benchmarking Library Service and Operation ยุพิน จันทร์เจริญสิน ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 22 ตุลาคม 2552
  • 2. วัตถุประสงค์ของ workshop - Benchmarking คืออะไร - ทำไม Benchmarking จึงสำคัญกับห้องสมุด - จะ Benchmarking อะไรในห้องสมุด - มีจุดบอด / หลุมดำอะไร ตรงไหน ในงานบ้างไหม Benchmarking Library Service and Operation
  • 3. Benchmarking วิธีการพัฒนาที่ประหยัดทั้งเวลาและงบประมาณ ได้ผลเร็ว เพราะเป็นการศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดของที่อื่น แล้วนำมาปฏิบัติ Benchmarking Library Service and Operation
  • 4. วัตถุประสงค์ของ Benchmark วัดผลกระบวนงาน เพื่อปรับปรุงกระบวนงาน - เพื่อเพิ่มความพอใจของผู้รับบริการ - เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน - เพิ่มประสิทธิผล Benchmarking Library Service and Operation
  • 5. กระบวนการ Benchmarking วัดศักยภาพของสำนัก เปรียบชั้นเชิงกับต่างสำนัก จ้าวยุทธจักร คือ ใคร เอาวิทยายุทธของเขามาใช้ Benchmarking Library Service and Operation
  • 6. ประเภทของ Benchmarking Benchmarking ตามวัตถุประสงค์ Benchmarking ตามผู้ที่เราไปเปรียบเทียบ Benchmarking Library Service and Operation
  • 7. Benchmarking ตามวัตถุประสงค์ 1. Performance Benchmarking 2. Process Benchmarking 3. Product Benchmarking 4. Strategy Benchmarking Benchmarking Library Service and Operation
  • 8. Performance Benchmarking เปรียบเทียบเฉพาะผลของการปฏิบัติงานหรือตัวชี้วัดระหว่างเราและคู่เปรียบเทียบเพื่อดูความสามารถในการปฏิบัติงานหรือผลลัพธ์การทำงานของกระบวนการต่าง ๆ Benchmarking Library Service and Operation
  • 9. Process Benchmarking - เปรียบเทียบกระบวนการทำงานหรือวิธีการปฏิบัติงานระหว่างเราและคู่เปรียบเทียบ - เน้นการเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานที่ดีจากคู่เปรียบเทียบเพื่อนำมาปรับปรุงงานของเรา Benchmarking Library Service and Operation
  • 10. Product Benchmarking - เปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าว่าพอใจลักษณะใดของสินค้า แล้วนำผลมาเปรียบกับผลิตภัณฑ์ของเรา เพื่อปรับปรุง Benchmarking Library Service and Operation
  • 11. Strategy Benchmarking - เปรียบเทียบเชิงกลยุทธขององค์กรที่ประสบผลสำเร็จในด้านการวางกลยุทธ - เป็นการ Benchmarking ระดับสูง ต้องมีผู้เชี่ยวชาญมาช่วย - ส่งผลกระทบระยะยาวและมีผลต่อองค์กรอย่างรุนแรงในด้านการเปลี่ยนแปลง Benchmarking Library Service and Operation
  • 12. Benchmarking ตามผู้ที่เราไปเปรียบเทียบ 1. Internal Benchmarking 2. Competition Benchmarking 3. Industry Benchmarking 4. Generic Benchmarking Benchmarking Library Service and Operation
  • 13. Internal Benchmarking เปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรเดียวกัน ( แคบ ไม่ได้มีอะไรใหม่ ) Benchmarking Library Service and Operation
  • 14. Competition Benchmarking เปรียบเทียบระหว่างองค์กรที่ประกอบกิจกรรมประเภทเดียวกัน - คู่แข่งโดยตรง ( เก็บข้อมูลยาก คู่แข่งเก็บเป็นความลับ ) Benchmarking Library Service and Operation
  • 15. Industry Benchmarking เปรียบเทียบกับผู้นำในอุตสาหกรรมเดียวกัน แต่ไม่ใช่คู่แข่งกัน เช่น บริษัทให้เช่ารถ / บริษัท taxi Benchmarking Library Service and Operation
  • 16. Generic Benchmarking เปรียบเทียบระหว่างองค์กรที่ประกอบกิจการต่างประเภทกันแต่มีกระบวนการผลิตเหมือนกัน เพื่อหากระบวนการ ที่เป็นเลิศ มี Best Practice Benchmarking Library Service and Operation
  • 17. ความหมายและนิยาม 1. การวัดผ้าขายในร้านผ้า 2. การแข่งขันตกปลา จับปลาได้เอาขึ้นวัดบนโต๊ะ (bench) แล้วทำเครื่องหมาย (mark) ไว้ 3. เครื่องหมายที่ทำไว้บนกำแพงตึกหรือเสาเพื่อแสดงระดับน้ำทะเล และใช้ในการวัดความสูงและระยะทางในการสำรวจ อื่น ๆ อีกมากมาย Benchmarking Library Service and Operation
  • 18. มารู้จัก Benchmarking กันสักหน่อย เริ่มจากวงการธุรกิจ 1979 Xerox vs Fuji การผลิตเครื่องถ่ายเอกสาร 1985 Benchmark: the Search for Industry Best Practices that Lead to Superior Performance คัมภีร์ระบบงาน Xerox 1991 Malcolm Balbridge Quantity Awards Benchmarking Library Service and Operation
  • 19. Benchmarking ในวงการห้องสมุด 1985 เริ่มทำโดยไม่ได้คิดว่าใช่ - Metro Toronto 1993 Library Benchmark International – Holly Muir 1996 SLA - Competencies for Special Librarians in the 21st Century – 3/11 ระบุไว้เกี่ยวกับ Benchmarking Benchmarking Library Service and Operation
  • 20. ประโยชน์ของ Benchmarking ปรับปรุงการทำงาน ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ได้ตามกลยุทธ พิสูจน์คุณค่าของตนเอง เพิ่มความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมอาชีพ Benchmarking Library Service and Operation
  • 21. กลยุทธสู่ชัยชนะ วางแผน เลือกผู้ร่วมทีม ดำเนินการปรับปรุง หาแรงสนับสนุนจากผู้บริหาร เลือก model ของการทำ Benchmarking Benchmarking Library Service and Operation
  • 22. จะ Benchmarking อะไร กระบวนงานของห้องสมุด ขั้นตอนการทำงานหรือบริการใด ๆ ในห้องสมุดที่จะต้องมี input หรือดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วได้ออกมาเป็น output Benchmarking Library Service and Operation
  • 23. การยืมระหว่างห้องสมุด จำนวนหนังสือ ผลผลิต กระบวนการทำงาน จำนวนวารสาร Document & Delivery จำนวนการยืม - คืน หนังสือ Online Search จำนวนการจัดซื้อ การจัดหา จำนวนการยืมทรัพยากร บริการจ่าย - รับ จะ Benchmarking อะไร กระบวนงานของห้องสมุด Benchmarking Library Service and Operation
  • 24. กระบวนงานในห้องสมุด Reference Service Online Searching Service การยืมระหว่างห้องสมุด บริการหมุนเวียนวารสาร ขั้นตอนการจ่าย - รับ พัฒนาทรัพยากร การจัดชั้นหนังสือ Benchmarking Library Service and Operation
  • 25. การเลือกกระบวนงาน มีความสำคัญกับบุคลากร ผู้รับบริการ ผู้บริหาร เน้นกระบวนการที่ต้องอาศัยทักษะ ความชำนาญของบรรณารักษ์ กำลังถูกท้าทายจากภายนอก ต้องไม่ใช่งานที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลง ต้องเป็นกระบวนงานที่พอจะมีช่องว่างจะปรับปรุง Benchmarking Library Service and Operation
  • 26. การเลือกคู่เปรียบเทียบ จะรู้ได้อย่างไรว่าใครดีที่สุด ข้อมูลภายใน - QMR ห้องสมุดที่มีเจ้าสังกัดที่มีชื่อเสียง ห้องสมุดที่มีบุคลากรที่เก่ง ๆ tip: อย่าเร่งรีบ ควรสืบเสาะ สอบถามให้แน่ใจ อย่าจำกัดเฉพาะผู้ที่อยู่ในวงการเดียวกัน อย่าเลือกห้องสมุดที่เราคุ้นเคย เป็นเพื่อนกัน หรือเพราะสะดวก Benchmarking Library Service and Operation
  • 27. การรวบรวมข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลตัวเลขทั้งหลาย สัมภาษณ์ พิจารณาข้อแตกต่าง ทำแผนปฏิบัติ tip: วิธีการเก็บข้อมูล เตรียมบทสัมภาษณ์ - pretest เตรียมแบบบันทึก เตรียมการเก็บข้อมูลหลาย ๆ วิธี ( โทรศัพท์ สำรวจ ทำ site visit) Benchmarking Library Service and Operation
  • 28. ขั้นตอนการทำ site visit เลือกหน่วยงาน กำหนดหัวข้อ ขอบเขต ติดต่อ host เบื้องต้น เลือกสมาชิก และมอบหมายงาน ชี้แจงผู้ร่วมทีม BMK Site Visit, Code of Conduct ศึกษา วิเคราะห์ขบวนการ กำหนด critical issue และประเด็นคำถาม สรุปวัตถุประสงค์ ขอบเขต กำหนด site visit Benchmarking Library Service and Operation
  • 29. ขั้นตอนการทำ site visit ( ต่อ ) แจ้ง host ยืนยันกำหนดการ ส่งหัวข้อคำถาม ทดสอบประเด็นคำถาม แบ่งผู้ร่วมทีม ประสานงานเตรียมการศึกษา เตรียมทำบันทึกข้อมูล และภาพ ( ถ้าอนุญาต ) Benchmarking Library Service and Operation
  • 30. ดำเนินการ เปิดประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ดำเนินการสัมภาษณ์ ถาม - ตอบ - บันทึก ปิดประชุม แสดงความขอบคุณ Benchmarking Library Service and Operation
  • 31. สรุป ส่งคำขอบคุณอย่างเป็นทางการ สรุปข้อมูลจาก site visit และวิเคราะห์ gap ศึกษาแนวทางการปรับปรุงงาน จัดทำรายงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้อง จัดทำ action plan ดำเนินการตามตกลง เช่น แลกเปลี่ยนข้อมูล ให้ host มาทำ site visit Benchmarking Library Service and Operation
  • 32. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการทำ Benchmarking (Criteria Success Facts) - ประสานโครงการ Benchmarking เข้ากับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธของหน่วยงาน คือ ต้องรวมอยู่ในการประเมินคุณค่าและกลยุทธของหน่วยงานด้วย - ต้องมีการคิดกระบวนการอย่างจริงจัง ทั้งกระบวนการมิใช่เพียงผลลัพธ์ - เลือกคู่เปรียบเทียบที่ดีที่สุด Benchmarking Library Service and Operation
  • 33. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการทำ Benchmarking (Criteria Success Facts) ( ต่อ ) - ทุ่มเททำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง - ต้องเข้าใจหน่วยงานและวัฒนธรรมองค์กรเพื่อที่จะได้เลือกและปรับเอาวิธีการที่เหมาะสมที่สุด - ต้องเข้าใจข้อจำกัดของ Benchmarking Tip: เวลา ต้องให้ให้พอ ข้อมูล ต้องเลือกอย่างดี มีประโยชน์ ขอบเขต ต้องให้ครอบคลุม ประการสำคัญ อย่า หลงหรือมั่นใจตัวเองเกินไป - ต้องเข้าใจข้อจำกัดของ Benchmarking Benchmarking Library Service and Operation
  • 34. ปัญหาและข้อยุ่งยาก ข้อควรระวัง ร่วมมือ / แข่งขัน การเปรียบเทียบภายใน / ภายนอก ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย วิธีการเก็บข้อมูล ได้มาตรฐาน สม่ำเสมอ กำหนดขอบเขตให้ชัดเจน ความเชื่อถือ เชื่อ BM จนเกินเหตุ ไม่ก่อเกิดความคิดสร้างสรรค์ การวางแผน ต้องรอบคอบ ไม่ครอบคลุมวงกว้างเกินไป ทำภายใน 4 – 6 เดือน ทำต่อเนื่อง Benchmarking Library Service and Operation
  • 35. การทำ Benchmarking ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนสแลนด์ QUT / NS QUT ต้องการทำ Benchmarking หลังจากได้ทำ TQM มาแล้ว ปรับปรุงพัฒนางานบริการผู้อ่านในส่วนของการช่วยสนับสนุนการทำงานวิจัยของคณาจารย์ ใช้เวลาทำ 6 เดือน Benchmarking Library Service and Operation
  • 36. ขั้นตอนการทำ Benchmarking ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนสแลนด์ 1. สร้างความเข้าใจและทักษะในการทำ 2. เลือกกระบวนการ 3. รวบรวมเอกสาร 4. เลือกคู่เปรียบเทียบ 5. เตรียมการ 6. ดำเนินการ 7. วิเคราะห์เปรียบเทียบ 8. ปรับปรุง Benchmarking Library Service and Operation
  • 38. สร้างความเข้าใจ ว่า Benchmarking คืออะไร เข้าใจกระบวนงาน พัฒนาการวัดขั้นตอน Benchmarking Library Service and Operation
  • 39. take action กระบวนการที่เลือก การบริการสารสนเทศ - เพื่อส่งเสริมอำนวยความสะดวกในการทำวิจัย การเรียนการสอของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต กระบวนการบริการ เกี่ยวข้องกับบุคลากร 3 กลุ่ม ผู้บริหารระดับสูง ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ ( บุคลากรห้องสมุด ) Benchmarking Library Service and Operation
  • 40. การรวบรวมข้อมูล - ศึกษาเบื้องต้นจาก website - e-mail - ระบบห้องสมุด Q.A. SWOT - ระบบโครงสร้างบุคลากร - นโยบายพัฒนาทรัพยากร ฯลฯ - เยี่ยมชม Benchmarking Library Service and Operation
  • 41. เตรียมการ - ติดต่อ ดำเนินการ 3 มิ . ย . 47 19 ก . ค . 47 4 ต . ค . 47 วิเคราะห์ email ชี้แจง เยี่ยมชม สัมภาษณ์ สังเกตการณ์ เยี่ยมชม ใช้เกณฑ์เปรียบเทียบของ Queensland Technology University Benchmarking Library Service and Operation
  • 42. วิเคราะห์ข้อมูล ตามภาระหน้าที่ของ Reference Service 2 ประการ คือ 1. การสนับสนุนการสอนและการเรียนรู้ ( Contribution to Teaching and Learning) 2. การจัดการสนับสนุนเพื่องานวิจัย ( Provision of Support for Research) Benchmarking Library Service and Operation
  • 43. การศึกษาเปรียบเทียบ เกณฑ์การเปรียบเทียบ การสนับสนุนการเรียนการสอน งานวิจัย โครงการฝ่ายบริการตอบคำถาม บุคลากร การใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริการ การประกันคุณภาพ การวิเคราะห์จุดอ่อน - จุดแข็ง Benchmarking Library Service and Operation
  • 44. จรรยาบรรณของการทำ Benchmarking (Code of Conduct) 1. หลักการด้านกฎหมาย ( Principle of Legality) 2. หลักการด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูล (Principle of Exchange) ร่วมมือกันแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นจริง 3. หลักการด้านความลับ (Principle of Confidentiality) รักษาความลับ 4. หลักการด้านการใช้ข้อมูล (Principle of Lese) ปฏิบัติในกรอบของกฎหมาย ใช้ข้อมูลตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ Benchmarking Library Service and Operation
  • 45. จรรยาบรรณของการทำ Benchmarking (Code of Conduct) ( ต่อ ) 5. หลักการด้านการติดต่อ ( Principle of Contact) ไม่เปิดเผยชื่อของผู้ที่เราติดต่อโดยไม่ได้รับอนุญาต 6. หลักการด้านการเตรียมตัว (Principle of Preparation) เตรียมตัวให้พร้อมในการแลกเปลี่ยนข้อมูล 7. หลักการด้านการทำให้สำเร็จ (Principle of Completion) ปฏิบัติตามข้อตกลงให้เสร็จในกำหนดเวลา 8. หลักการด้านความเข้าใจและการปฏิบัติ (Principle of Action) เอาใจเขามาใส่ใจเรา ติดต่อกับองค์กรที่เราเปรียบเทียบด้วยผ่านบุคคลที่กำหนดเท่านั้น Benchmarking Library Service and Operation
  • 46. คน สำคัญที่สุด ยอมรับ ปรับเปลี่ยน ร่วมมือ ไม่กร่าง ไม่ถ่อมตัวเกินเหตุ วัฒนธรรมองค์กร แลกเปลี่ยน เรียนรู้ รับ BM ไว้ในหัวใจ ฝังไว้ในแผนงาน Benchmarking Library Service and Operation