SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
จัดทำโดย (Made by)
นำยนรำธิป กี้ฮั้ว (Naradhip Keehua) เลขที่ 5
นำยปกครอง พิทักษ์ชลทรัพย์ (Pokkrong Pitukchonlasub) เลขที่ 6
นำงสำวพิมพ์นรำ มำประกอบ(Pimnara Maprakob) เลขที่19
นำงสำวอิศริยำ อิทธิอำนวยพันธุ์ (Issariya Ittiamnuaypan) เลขที่ 21
นำงสำวอโรชำ หมอสินธุ์ (Arocha Morsin) เลขที่ 22
นำงสำวนวรัตน์ ชมเจริญ (Nawarat Chomcharoen) เลขที่ 30
ชั้น ม.4/1
UNIX is an operating system which was first
developed in the 1960s, and has been under constant
development ever since. By operating system, we mean the
suite of programs which make the computer work. It is a
stable, multi-user, multi-tasking system for servers, desktops
and laptops.
UNIX systems also have a graphical user interface
(GUI) similar to Microsoft Windows which provides an easy to
use environment. However, knowledge of UNIX is required
for operations which aren't covered by a graphical program,
or for when there is no windows interface available, for
example, in a telnet session.
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ คืออะไร?
ยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติกำรประเภทหนึ่ง ที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
(open system)ซี่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติด กับระบบใดระบบหนึ่ง
หรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจำกนี้ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมำเพื่อตอบสนองกำรใช้
งำนใน ลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลำยคน ในเวลำเดียวกัน เรียกว่ำ มัลติยูสเซอร์
(multiusers)และสำมำรถทำงำนได้หลำยๆงำนใน เวลำเดียว กันในลักษณะที่
เรียกว่ำมัลติทำสกิ้ง (multitasking)
There are many different versions of UNIX,
although they share common similarities. The most
popular varieties of UNIX are Sun Solaris, GNU/Linux,
and MacOS X.
Here in the School, we use Solaris on our servers and
workstations, and Fedora Linux on the servers and
desktop PCs.
The UNIX operating system is made up
of three parts; the kernel, the shell and the
programs.
The kernel of UNIX is the hub of the operating system: it
allocates time and memory to programs and handles the
filestore and communications in response to system calls.
As an illustration of the way that the shell and the kernel
work together, suppose a user types rm myfile (which has the
effect of removing the file myfile). The shell searches the
filestore for the file containing the program rm, and then
requests the kernel, through system calls, to execute the
program rm onmyfile. When the process rm myfile has finished
running, the shell then returns the UNIX prompt % to the user,
indicating that it is waiting for further commands.
The shell acts as an interface between the user and
the kernel. When a user logs in, the login program checks
the username and password, and then starts another
program called the shell. The shell is a command line
interpreter (CLI). It interprets the commands the user types
in and arranges for them to be carried out. The commands
are themselves programs: when they terminate, the shell
gives the user another prompt (% on our systems).
The adept user can customise his/her own shell, and users
can use different shells on the same machine. Staff and
students in the school have the tcsh shellby default.
Kernel เป็นศูนย์กลางของระบบปฏิบัติการ เป็นแกน (Core) โดยเป็น System ส่วนในระดับลึก
จัดการ การเข้าถึงอุปกณ์กับ โปรแกรมต่างๆหรือระบบปฏิบัติการ เพื่อตอบสนองคาสั่งของผู้ใช้
และ Interrupt Handler ซึ่งดูแลคาขอหรือประมวลผลการทางานของ I/O (input-Output) เพื่อ
จัดลาดับการทางานให้ Kernel เองและกับอุปกรณ์และโปรแกรม
Shell เป็นโปรแกรม โปรแกรมต่างๆหรือระบบปฏิบัติการ ชั้นนอกที่ช่วยทาการติดต่อ Kernel
กับอุปกรณ์ หรือผู้ใช้งาน หรือแม้กระทั่งโปรแกรมย่อยอื่นๆ
Kernel และ Shell ยังถูกใช้ใน UNIX และระบบปฏิบัติการบางระบบทั้งในเครื่องเมนเฟรมและ
PC
โดย Kernel จะทาการสนับสนุน System Calls เพื่อจัดลาดับหน่วยความจาและอุปกรณ์ ทั้งนี้คา
ของ Kernel นั้นต้องถูกโหลดมาเก็บไว้ในหน่วยความจาชั่วคราวที่สงวนไว้เพื่อ Kernel
โดยเฉพาะ
Files and processes
Everything in UNIX is either a file or a process.
A process is an executing program identified by a unique
PID (process identifier).
A file is a collection of data. They are created by users
using text editors, running compilers etc.
Examples of files:
• a document (report, essay etc.)
• the text of a program written in some high-level
programming language
• instructions comprehensible directly to the machine
and incomprehensible to a casual user, for example, a
collection of binary digits (an executable or binary file);
• a directory, containing information about its
contents, which may be a mixture of other directories
(subdirectories) and ordinary files.
The Directory Structure
All the files are grouped together in the directory structure. The
file-system is arranged in a hierarchical structure, like an
inverted tree. The top of the hierarchy is traditionally called root
(written as a slash / )
In the diagram above, we
see that the home
directory of the
undergraduate student
"ee51vn" contains two
sub-directories (docs and
pics) and a file
calledreport.doc.
The full path to the file
report.doc is
"/home/its/ug1/ee51vn/rep
ort.doc"
ไดเรกทอรีและไฟล์ในระบบยูนิกซ์
ไฟล์ (File) คือสิ่งที่ใช้แทนตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ในหน่วยควำมจำ โดยทั่วไปกำรตั้งชื่อ
ไฟล์นิยมใช้เครื่องหมำย . ในกำรแยกชื่อกับส่วนขยำยของไฟล์ (File Extension) เพื่อ
ระบุว่ำไฟล์นี้เป็นประเภทอะไร
ไดเรกทอรี (Directory) คือพื้นที่เสมือนในคอมพิวเตอร์ มีไว้สำหรับจัดเก็บไฟล์หรือ
ไดเรกทอรีอื่นๆ ให้อยู่ในพื้นที่เดียวกัน
โครงสร้างของไดเรกทอรีในระบบยูนิกซ์
ไดเรกทอรีในระบบยูนิกซ์จะอ้ำงอิงโครงสร้ำงข้อมูลแบบต้นไม้หัวกลับ จำกรำกของต้นไม้ที่แตก
รำกสำขำจำกด้ำนบนลงสู่ด้ำนล่ำง โดยมีส่วนที่อยู่ด้ำนบนสุดเรียกว่ำ root ซึ่งแทนด้วย
เครื่องหมำย / ดังรูป
ไดเรกทอรี หน้ำที่
/ root
/bin เก็บโปรแกรมที่เป็นคำสั่งของระบบ
/boot
เก็บ Kernel (โปรแกรมส่วนที่เป็นกำรทำงำนหลักของ
ระบบปฏิบัติกำร) และไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับกำรเริ่มต้นระบบ
/dev เก็บไฟล์ที่เป็นส่วนติดต่อของอุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น ดิสก์ เครื่องพิมพ์ ฯลฯ
/etc
เก็บไฟล์ที่ใช้สำหรับกำหนดค่ำกำรทำงำนและไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับกำร
เริ่มต้นระบบ
/home ไดเรกทอรี home ของผู้ใช้ ตั้งชื่อตำมชื่อบัญชีผู้ใช้
/lib เก็บไฟล์ไลบรำรีของระบบ
/media
mount point ของอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบถอดได้ (มีใน
ระบบปฏิบัติกำรสมัยใหม่)
จาก root จะประกอบด้วยไดเรกทอรีย่อยอยู่ภายใน แต่ละไดเรกทอรีจะใช้สาหรับจัดเก็บไฟล์ที่มี
การทางานคล้ายคลึงกัน โครงสร้างไดเรกทอรีหลักๆ ของระบบยูนิกซ์เป็นดังนี้
/mnt mount point ของอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบถอดได้
/opt เก็บโปรแกรมที่ผู้ใช้ติดตั้งเพิ่มเติมซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับระบบหลัก
/proc ไฟล์ข้อมูลของโปรเซสทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยควำมจำ
/root
ไดเรกทอรี home ของ root (บำงระบบปฏิบัติกำรจะอยู่ใน
/home)
/sbin เก็บโปรแกรมที่เป็นคำสั่งของระบบที่ต้องใช้สิทธิ์ของ root ในกำรรัน
/tmp
เก็บไฟล์ชั่วครำว (Tempolary file) จะถูกลบทิ้งเมื่อเปิดเครื่อง
ขึ้นมำใหม่
/usr เก็บข้อมูลคำสั่งอื่นๆเพิ่มเติม โครงสร้ำงภำยในคล้ำยโครงสร้ำงของ /
/var เก็บไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับกำรตั้งค่ำและกำรทำงำนของระบบ
Starting an UNIX terminal
To open an
UNIX terminal
window, click
on the
"Terminal" icon
from
Applications/Ac
cessories
menus.
An UNIX Terminal window will then appear with
a % prompt, waiting for you to start entering
commands.
การเข้าใช้งานยูนิกซ์
การที่ผู้ใช้จะขอใช้บริการบนระบบยูนิกซ์ได้นั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ดูแลระบบหรือที่
เรียกว่าซิสเตมแอดมินิสเตรเตอร์ (System Administrator) ก่อน หลังจากนั้นผู้ใช้จะได้รับ
รายชื่อผู้ใช้หรือล๊อกอินเนม (login name) และรหัสผ่าน (password) มา แต่บางระบบ จะมี
รายชื่ออิสระเพื่อให้ผู้ใช้ชั่วคราว โดยอาจมีล๊อกอินเนมเป็น guest,demo หรือ fieldซึ่งจะไม่
ต้องใช้รหัสผ่าน การเข้าใช้ระบบเราเรีนกว่า ล๊อกอิน (login) โดยทั่วไปเมื่อระบบพร้อมที่จะ
ให้บริการจะปรากฏข้อความว่า login:หรือข้อความใน ลักษณะที่คล้ายๆ กันรวมเรียกว่า พร
อมต์ล๊อกอิน (Prompt log in)เมื่อปรากฏหรอมต์แล้วก็ให้พิมพ์ล๊อกอินเนมของผู้ใช ตามด้วย
การกดปุ่มจากนั้นระบบจะสอบถามรหัสผ่าน ก็พิมพ์รหัสที่ถูกต้องลงไปตามด้วยปุ่มซึ่ง
รหัสผ่านที่พิมพ์ลงไปจะไม่ถูกแสดงผลออก ทางจอภาพเมื่อรหัสผ่านถูกต้องก็จะปรากฏ
เครื่องหมาย $ ซึ่งเป็นเครื่องหมายเตรียมพร้อมของระบบ
หมายเหตุ : ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จะถือความแตกต่างกันระหว่างตัวอักษรตัวเล็ก กับ
ตัวอักษรตัวใหญ่ด้วย เช่น FILE1, File1,file1 จะไม่เหมือนกัน ดังนั้นการใส่รหัสผ่าน จะต้อง
เช็คให้ดี ๆ

Más contenido relacionado

Similar a Unix Operation System

ระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux serverระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux server
ตอ ต้น
 
Ubuntu server book
Ubuntu server bookUbuntu server book
Ubuntu server book
Rose Banioki
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
wiratchadaporn
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
wipawanmmiiww
 

Similar a Unix Operation System (20)

โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
ระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux serverระบบปฏิบัติการ Linux server
ระบบปฏิบัติการ Linux server
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
333333333
333333333333333333
333333333
 
Ubuntu server book
Ubuntu server bookUbuntu server book
Ubuntu server book
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
Tu153 บทที่ 7 2/2560
Tu153 บทที่ 7 2/2560Tu153 บทที่ 7 2/2560
Tu153 บทที่ 7 2/2560
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Unix Operation System

  • 1.
  • 2. จัดทำโดย (Made by) นำยนรำธิป กี้ฮั้ว (Naradhip Keehua) เลขที่ 5 นำยปกครอง พิทักษ์ชลทรัพย์ (Pokkrong Pitukchonlasub) เลขที่ 6 นำงสำวพิมพ์นรำ มำประกอบ(Pimnara Maprakob) เลขที่19 นำงสำวอิศริยำ อิทธิอำนวยพันธุ์ (Issariya Ittiamnuaypan) เลขที่ 21 นำงสำวอโรชำ หมอสินธุ์ (Arocha Morsin) เลขที่ 22 นำงสำวนวรัตน์ ชมเจริญ (Nawarat Chomcharoen) เลขที่ 30 ชั้น ม.4/1
  • 3. UNIX is an operating system which was first developed in the 1960s, and has been under constant development ever since. By operating system, we mean the suite of programs which make the computer work. It is a stable, multi-user, multi-tasking system for servers, desktops and laptops. UNIX systems also have a graphical user interface (GUI) similar to Microsoft Windows which provides an easy to use environment. However, knowledge of UNIX is required for operations which aren't covered by a graphical program, or for when there is no windows interface available, for example, in a telnet session.
  • 4. ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ คืออะไร? ยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติกำรประเภทหนึ่ง ที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system)ซี่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติด กับระบบใดระบบหนึ่ง หรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจำกนี้ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมำเพื่อตอบสนองกำรใช้ งำนใน ลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลำยคน ในเวลำเดียวกัน เรียกว่ำ มัลติยูสเซอร์ (multiusers)และสำมำรถทำงำนได้หลำยๆงำนใน เวลำเดียว กันในลักษณะที่ เรียกว่ำมัลติทำสกิ้ง (multitasking)
  • 5.
  • 6. There are many different versions of UNIX, although they share common similarities. The most popular varieties of UNIX are Sun Solaris, GNU/Linux, and MacOS X. Here in the School, we use Solaris on our servers and workstations, and Fedora Linux on the servers and desktop PCs.
  • 7. The UNIX operating system is made up of three parts; the kernel, the shell and the programs.
  • 8. The kernel of UNIX is the hub of the operating system: it allocates time and memory to programs and handles the filestore and communications in response to system calls. As an illustration of the way that the shell and the kernel work together, suppose a user types rm myfile (which has the effect of removing the file myfile). The shell searches the filestore for the file containing the program rm, and then requests the kernel, through system calls, to execute the program rm onmyfile. When the process rm myfile has finished running, the shell then returns the UNIX prompt % to the user, indicating that it is waiting for further commands.
  • 9. The shell acts as an interface between the user and the kernel. When a user logs in, the login program checks the username and password, and then starts another program called the shell. The shell is a command line interpreter (CLI). It interprets the commands the user types in and arranges for them to be carried out. The commands are themselves programs: when they terminate, the shell gives the user another prompt (% on our systems). The adept user can customise his/her own shell, and users can use different shells on the same machine. Staff and students in the school have the tcsh shellby default.
  • 10. Kernel เป็นศูนย์กลางของระบบปฏิบัติการ เป็นแกน (Core) โดยเป็น System ส่วนในระดับลึก จัดการ การเข้าถึงอุปกณ์กับ โปรแกรมต่างๆหรือระบบปฏิบัติการ เพื่อตอบสนองคาสั่งของผู้ใช้ และ Interrupt Handler ซึ่งดูแลคาขอหรือประมวลผลการทางานของ I/O (input-Output) เพื่อ จัดลาดับการทางานให้ Kernel เองและกับอุปกรณ์และโปรแกรม Shell เป็นโปรแกรม โปรแกรมต่างๆหรือระบบปฏิบัติการ ชั้นนอกที่ช่วยทาการติดต่อ Kernel กับอุปกรณ์ หรือผู้ใช้งาน หรือแม้กระทั่งโปรแกรมย่อยอื่นๆ Kernel และ Shell ยังถูกใช้ใน UNIX และระบบปฏิบัติการบางระบบทั้งในเครื่องเมนเฟรมและ PC โดย Kernel จะทาการสนับสนุน System Calls เพื่อจัดลาดับหน่วยความจาและอุปกรณ์ ทั้งนี้คา ของ Kernel นั้นต้องถูกโหลดมาเก็บไว้ในหน่วยความจาชั่วคราวที่สงวนไว้เพื่อ Kernel โดยเฉพาะ
  • 11. Files and processes Everything in UNIX is either a file or a process. A process is an executing program identified by a unique PID (process identifier). A file is a collection of data. They are created by users using text editors, running compilers etc. Examples of files: • a document (report, essay etc.) • the text of a program written in some high-level programming language • instructions comprehensible directly to the machine and incomprehensible to a casual user, for example, a collection of binary digits (an executable or binary file); • a directory, containing information about its contents, which may be a mixture of other directories (subdirectories) and ordinary files.
  • 12. The Directory Structure All the files are grouped together in the directory structure. The file-system is arranged in a hierarchical structure, like an inverted tree. The top of the hierarchy is traditionally called root (written as a slash / ) In the diagram above, we see that the home directory of the undergraduate student "ee51vn" contains two sub-directories (docs and pics) and a file calledreport.doc. The full path to the file report.doc is "/home/its/ug1/ee51vn/rep ort.doc"
  • 13. ไดเรกทอรีและไฟล์ในระบบยูนิกซ์ ไฟล์ (File) คือสิ่งที่ใช้แทนตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ในหน่วยควำมจำ โดยทั่วไปกำรตั้งชื่อ ไฟล์นิยมใช้เครื่องหมำย . ในกำรแยกชื่อกับส่วนขยำยของไฟล์ (File Extension) เพื่อ ระบุว่ำไฟล์นี้เป็นประเภทอะไร ไดเรกทอรี (Directory) คือพื้นที่เสมือนในคอมพิวเตอร์ มีไว้สำหรับจัดเก็บไฟล์หรือ ไดเรกทอรีอื่นๆ ให้อยู่ในพื้นที่เดียวกัน โครงสร้างของไดเรกทอรีในระบบยูนิกซ์ ไดเรกทอรีในระบบยูนิกซ์จะอ้ำงอิงโครงสร้ำงข้อมูลแบบต้นไม้หัวกลับ จำกรำกของต้นไม้ที่แตก รำกสำขำจำกด้ำนบนลงสู่ด้ำนล่ำง โดยมีส่วนที่อยู่ด้ำนบนสุดเรียกว่ำ root ซึ่งแทนด้วย เครื่องหมำย / ดังรูป
  • 14.
  • 15. ไดเรกทอรี หน้ำที่ / root /bin เก็บโปรแกรมที่เป็นคำสั่งของระบบ /boot เก็บ Kernel (โปรแกรมส่วนที่เป็นกำรทำงำนหลักของ ระบบปฏิบัติกำร) และไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับกำรเริ่มต้นระบบ /dev เก็บไฟล์ที่เป็นส่วนติดต่อของอุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น ดิสก์ เครื่องพิมพ์ ฯลฯ /etc เก็บไฟล์ที่ใช้สำหรับกำหนดค่ำกำรทำงำนและไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับกำร เริ่มต้นระบบ /home ไดเรกทอรี home ของผู้ใช้ ตั้งชื่อตำมชื่อบัญชีผู้ใช้ /lib เก็บไฟล์ไลบรำรีของระบบ /media mount point ของอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบถอดได้ (มีใน ระบบปฏิบัติกำรสมัยใหม่) จาก root จะประกอบด้วยไดเรกทอรีย่อยอยู่ภายใน แต่ละไดเรกทอรีจะใช้สาหรับจัดเก็บไฟล์ที่มี การทางานคล้ายคลึงกัน โครงสร้างไดเรกทอรีหลักๆ ของระบบยูนิกซ์เป็นดังนี้
  • 16. /mnt mount point ของอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบถอดได้ /opt เก็บโปรแกรมที่ผู้ใช้ติดตั้งเพิ่มเติมซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับระบบหลัก /proc ไฟล์ข้อมูลของโปรเซสทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยควำมจำ /root ไดเรกทอรี home ของ root (บำงระบบปฏิบัติกำรจะอยู่ใน /home) /sbin เก็บโปรแกรมที่เป็นคำสั่งของระบบที่ต้องใช้สิทธิ์ของ root ในกำรรัน /tmp เก็บไฟล์ชั่วครำว (Tempolary file) จะถูกลบทิ้งเมื่อเปิดเครื่อง ขึ้นมำใหม่ /usr เก็บข้อมูลคำสั่งอื่นๆเพิ่มเติม โครงสร้ำงภำยในคล้ำยโครงสร้ำงของ / /var เก็บไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับกำรตั้งค่ำและกำรทำงำนของระบบ
  • 17. Starting an UNIX terminal To open an UNIX terminal window, click on the "Terminal" icon from Applications/Ac cessories menus.
  • 18. An UNIX Terminal window will then appear with a % prompt, waiting for you to start entering commands.
  • 19. การเข้าใช้งานยูนิกซ์ การที่ผู้ใช้จะขอใช้บริการบนระบบยูนิกซ์ได้นั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ดูแลระบบหรือที่ เรียกว่าซิสเตมแอดมินิสเตรเตอร์ (System Administrator) ก่อน หลังจากนั้นผู้ใช้จะได้รับ รายชื่อผู้ใช้หรือล๊อกอินเนม (login name) และรหัสผ่าน (password) มา แต่บางระบบ จะมี รายชื่ออิสระเพื่อให้ผู้ใช้ชั่วคราว โดยอาจมีล๊อกอินเนมเป็น guest,demo หรือ fieldซึ่งจะไม่ ต้องใช้รหัสผ่าน การเข้าใช้ระบบเราเรีนกว่า ล๊อกอิน (login) โดยทั่วไปเมื่อระบบพร้อมที่จะ ให้บริการจะปรากฏข้อความว่า login:หรือข้อความใน ลักษณะที่คล้ายๆ กันรวมเรียกว่า พร อมต์ล๊อกอิน (Prompt log in)เมื่อปรากฏหรอมต์แล้วก็ให้พิมพ์ล๊อกอินเนมของผู้ใช ตามด้วย การกดปุ่มจากนั้นระบบจะสอบถามรหัสผ่าน ก็พิมพ์รหัสที่ถูกต้องลงไปตามด้วยปุ่มซึ่ง รหัสผ่านที่พิมพ์ลงไปจะไม่ถูกแสดงผลออก ทางจอภาพเมื่อรหัสผ่านถูกต้องก็จะปรากฏ เครื่องหมาย $ ซึ่งเป็นเครื่องหมายเตรียมพร้อมของระบบ หมายเหตุ : ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จะถือความแตกต่างกันระหว่างตัวอักษรตัวเล็ก กับ ตัวอักษรตัวใหญ่ด้วย เช่น FILE1, File1,file1 จะไม่เหมือนกัน ดังนั้นการใส่รหัสผ่าน จะต้อง เช็คให้ดี ๆ