SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
What is “cell”?
What is “cell”?
• All organisms consist of cell so...
• Cell is the basic structure and basic unit
of every organisms
เซลล์(cell) เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุก
ชนิดตั้งแต่พืช สัตว์ สาหร่าย รา รวมทั้งจุลินทรีย์
ต่างๆ ยกเว้นไวรัส(ลัดดา,2547)
โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke)
• บุคคลแรกที่ได้ศึกษาเรื่องเซลล์
• นักวิทยาศาสตร์และนัก
ประดิษฐ์ชาวอังกฤษ
• ค.ศ.1663 ได้ใช้กล้อง
จุลทรรศน์ที่เขาประดิษฐ์เอง
ศึกษาโครงสร้างของแผ่นไม้
คอร์กบางๆ
• ฮุคได้ตั้งชื่อ สิ่งที่เขาเห็นว่า
“เซลล์”
คาว่า เซลล์ Cell มาจาก ภาษา
ละติน คือ เซลลูลี(Cellulae) ซึ่งมี
ความหมายว่า ห้องเล็กๆ ผู้ตั้งชื่อนี้คือ
โรเบิร์ต ฮุก (Robert Hooke) เมื่อเขา
เปรียบเทียบเซลล์ของไม้คอร์กเหมือนกับ
ห้องเล็กๆ ซึ่งเป็นที่อยู่ของพระ
เซลล์ส่วนใหญ่ จะมีขนาดเล็กมาก
มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องอาศัย
กล้องจุลทรรศน์ช่วยจึงจะมองเห็นได้
เปิดโลกของเซลล์
เซลล์ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่
เห็น
จนกระทั่งปี ค.ศ.1590 กล้องจุลทรรศน์เครื่องแรก
ของโลกได้ถูกสร้างขึ้น
โลกของเซลล์และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มองด้วยตา
เปล่าไม่เห็นจึงได้เริ่มต้นขึ้น
เซลล์ต้นหอม
เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
เซลล์ใบว่านกาบหอย
กล้องจุลทรรศน์ (microscope)
• เป็นเครื่องมือที่ช่วยขยายภาพของสิ่งต่างๆให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
• กล้องจุลทรรศน์มีหลายแบบตั้งแต่แบบง่ายๆ ไม่มีกลไกอะไร
ซับซ้อนจนถึงแบบที่มีกลไกซับซ้อน ขนาดใหญ่และมีราคาแพงมาก
• กล้องจุลทรรศน์ที่ประกอบด้วยเลนส์เพียงอันเดียว เรียกว่า กล้อง
จุลทรรศน์แบบง่ายธรรมดา ตัวอย่างเช่น แว่นขยาย
• กล้องจุลทรรศน์ที่ประกอบด้วยเลนส์มากกว่าหนึ่งเลนส์ เรียกว่า
กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบ (compound light
microscope)
กล้องจุลทรรศน์
อันโตนี วาน เลเวนฮุค (Antoni van leeuwenhoek)
• ในเวลาเดียวกันกับที่
โรเบิร์ต ฮุค ค้นพบเซลล์
• เลเวนฮุคใช้กล้องจุลทรรศน์
ศึกษาน้าที่นามาจากสระ
• เขาพบสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
• เขาได้ศึกษาขี้ฟันของตัวเอง
• เป็นคนแรกของโลกที่ได้เห็น
แบคทีเรีย(เป็นผู้ค้นพบจุลินทรีย์เป็นคนแรก)
ทฤษฎีเซลล์ (cell theory)
• ค.ศ. 1838 Matthias Schleiden นักพฤกษศาสตร์
ชาวเยอรมัน ค้นพบว่าพืชทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์
• ในปีถัดมา Theodor schwann นักสัตววิทยาชาว
เยอรมัน ได้ประกาศว่าสัตว์ทั้งหลายต่างก็มีเซลล์เป็น
องค์ประกอบ
• นักวิทยาศาสตร์ทั้ง 2 ท่านจึงได้ร่วมกันตั้ง
ทฤษฎีเซลล์(cell theory)
ทฤษฎีเซลล์ (cell theory)
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบขึ้นด้วยเซลล์
All living things consist of cell.
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของโครงสร้างและหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต
Cell is life’s fundamental unit of structure and
function.
เซลล์ทุกชนิดกาเนิดมาจากเซลล์ด้วยกัน
 All cell comes from other cells.
Rudolf Virchaw
???คาถามแทงจาย???
•ทราบไหมว่าทั้งตัวนักเรียนมีเซลล์กี่เซลล์?
ตอบ ร่างกายของมนุษย์แต่ละคนจะมี
เซลล์ประมาณ
อยู่ประมาณ 100 ล้านล้าน หรือ 1014
• Some organisms have one cell
we call “unicellular” or “สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว”
• Some organisms have many cell
we call “multicellular” or “สิ่งมีชีวิตหลาย
เซลล์”
How many cell of other organisms?
Unicellular
Bacteria Amoeba
Euglena Paramecium
Red blood cell Muscle cell
Nerve cell
Multicellular
ขนาดของเซลล์
เซลล์มักมีขนาดเล็ก ทาให้ต้องใช้อุปกรณ์คือกล้องจุลทรรศน์ในการศึกษา
ขนาดของเซลล์แตกต่างกัน ตั้งแต่เซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุดคือเซลล์ไมโครพลาสมา
(ขนาด 0.15 ไมครอน )ไปจนถึงเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ
(ขนาด 100 มม.) ซึ่งมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
เซลล์ภายในใบพืช เซลล์เม็ดเลือดแดงของคน เซลล์ประสาทของคน
เซลล์โดยทั่วไปไม่ว่าจะมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันอย่างไรก็
ตาม แต่จะมีลักษณะโครงสร้างพื้นฐานส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน เซลล์
ของสิ่งมีชีวิต มีส่วนประกอบที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานอยู่ 3 ส่วน
ใหญ่ๆ คือ
1. นิวเคลียส (nucleus)
2. ไซโทพลาสซึม
3. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ เยื้อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
และ ผนังเซลล์ (cell wall)
1.นิวเคลียส (Nucleus)
• เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของเซลล์เกี่ยวข้องกับการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพราะเป็นที่บรรจุสาร
พันธุกรรม และควบคุมการทางานของเซลล์
• พบในเซลล์โดยทั่วไปเซลล์จะมี 1 นิวเคลียส ยกเว้น
พารามีเซียม มี 2 นิวเคลียส
• เซลล์พวกยูแคริโอตจะมีเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบ
มีลักษณะเหมือนเยื่อหุ้มเซลล์ บนเยื่อมีรูเล็ก ๆ
มากมาย เรียกว่า นิวเคลียร์พอร์ ( nuclear pore)
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 

La actualidad más candente (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 

Similar a หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Similar a หน่วยของสิ่งมีชีวิต (11)

01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
01 1
01 101 1
01 1
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
Cell
CellCell
Cell
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

Más de เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 

Más de เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (10)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 

หน่วยของสิ่งมีชีวิต