SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
รูป แบบการเรีย นการสอนโดยยึด ผู้เ รีย นเป็น
ศูน ย์ก ลาง : (CIPPA Model)
ทฤษฎี/หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบ
       ทิศนา แขมมณี (2543) รองศาสตราจารย์ ประจำาคณะ
ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้พัฒนารูปแบบนี้ขึ้นจากประสบการณ์ที่ได้ใช้แนวคิดทางการศึกษา
ต่างๆ ในการสอนมาเป็นเวลา
ประมาณ 30 ปี และพบว่าแนวคิดจำานวนหนึ่งสามารถใช้ได้ผลดี
ตลอดมา แนวคิดเหล่านั้นเมื่อนำามา
ประสานกัน ทำาให้เกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าว ได้แก่ (1)
แนวคิดการสร้างความรู้(2)แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่มและการ
เรียนรู้แบบร่วมมือ (3) แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้(4)
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ และ (5) แนวคิดเกี่ยวกับการ
ถ่ายโอนการเรียนรู้ แนวคิดทั้ง 5 เป็นที่มาของแนวคิด "CIPPA" ใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้สูงสุด โดยการให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง (C =
Construction of knowledge) และ
มีการปฏิสัมพันธ์ ( I = Interaction) กับเพื่อนบุคคลอื่นๆ และสิ่ง
แวดล้อมรอบตัวหลายด้านโดยใช้
ทักษะกระบวนการ (P = Process skills) ต่างๆ จำานวนมากในการ
สร้างความรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้
พัฒนาทักษะกระบวนการและเรียนรู้สาระในแง่มุมที่ กว้างขึ้น ซึ่งจะ
เกิดขึ้นได้หากผู้เรียนอยู่ใน
สภาพความพร้อมในการรับรู้และการเรียนรู้ มีประสาทการรับรู้ที่ตื่น
ตัว ไม่เฉื่อยชา และสิ่งที่
สามารถทำาให้ผู้เรียนอยู่ในสภาพดังกล่าวได้ก็คือ การให้ผู้เรียนมี
การเคลื่อนไหวทางกาย (P = Physic
participation) อย่างเหมาะสม กิจกรรมที่หลากหลาย ทำาให้ผู้เรียน
ตื่นตัวอยู่เสมอ จึงสามารถทำาให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้แต่เรียนรู้นั้นจะมีความหมายต่อ ตนเองและ
ความเข้าใจ จะมีความลึกซึ้งและ
คงทนอยู่มากเพียงใดนั้นต้อง อาศัยการถ่ายโอนการเรียนรู้ หากผู้
เรียนมีการนำาความรู้นั้นไป
ประยุกต์ใช้ (A = Application ) ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
ความรู้นั้นก็จะเป็นประโยชน์และมี
ความหมายมากขึ้น ด้วยแนวคิดดังกล่าว จึงเกิดแบบแผน "CIPPA"
ขึน ซึ่งผู้สอนสามารถนำา
  ้
แนวคิดทั้ง 5 ดังกล่าวไปใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน
โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้มี
คุณภาพได้

วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ
       รูปแบบนี้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่
เรียนอย่างแท้จริง โดยการให้
ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยความร่วมมือจากกลุ่ม
นอกจากนั้นยังช่วยพัฒนาทักษะ
กระบวนการต่าง ๆ จำานวนมาก อาทิ กระบวนการคิด กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการปฏิสัมพันธ์
ทางสังคม และกระบวนการแสวงหาความรู้ เป็นต้น

หลัก การของรูป แบบของโมเดลซิป ปา
       จากแนวคิดสำาหรับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญ ทิศนา แขมมณี (2542)
ได้สรุปซึ่งเป็นที่มาของชื่อ “CIPPA” ดังนี้
       C มาจากคำา ว่า Construct ซึ่งหมายถึง การสร้างความรู้
ตามแนวคิดของ Constructivism
กล่าวคือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมี
โอกาสสร้างความรู้ด้วยตนเอง
ซึ่งจะทำาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อ
ตนเอง การที่ผู้เรียนมีโอกาสได้
สร้างความรู้ด้วยตนเองนี้ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทาง
สติปัญญา
       I มาจากคำา ว่า Interaction ซึ่งหมายถึง การปฏิสัมพันธ์กับ
ผูอื่นหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว
   ้
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์
ทางสังคมกับบุคคล และแหล่ง
ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสังคม
       P มาจากคำา ว่า Physical Participation ซึ่งหมายถึง ให้
ผู้เรียนมีโอกาสได้เคลื่อนไหว
ร่างกาย โดยทำากิจกรรมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมทางกาย
P มาจากคำา ว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้
กระบวนการต่าง ๆ ซึ่งเป็นทักษะ
ที่จำาเป็นต่อการดำารงชีวิต เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการพัฒนาตนเอง เป็นต้น การเรียนรู้
กระบวนการเป็นสิ่งที่สำาคัญ
เช่นเดียวกับการเรียนรู้ เนื้อหาสาระต่างๆ การเรียนรู้เกี่ยวกับ
กระบวนการเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมทางด้านสติปัญญาอีกทางหนึ่ง
       A มาจากคำา ว่า Application หมายถึง การนำาความรู้ที่ได้
เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ซึ่งจะช่วย
ให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียน และช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ

การจัด กิจ กรรมการเรีย นการสอนที่ส อดคล้อ งกับ รูป
แบบของซิป ปา
      ขันตอน กระบวนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญตามหลักการ
        ้
ของซิปปา ประกอบด้วย
ขันต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ (ทิศนา แขมณี , 2542)
  ้
      1. ขั้น นำา สร้างหรือกระตุ้นความสนใจ
      2. ขั้น สอน จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ โดย
กิจกรรมที่จัดควรมีคุณสมบัติดังนี้
            1) ช่วยให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง
            2) ช่วยให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ ช่วยการเรียนรู้
            3) ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการสร้าง
ความรู้ด้วยตนอง
            4) ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการควบคู่ไปกับผล
งาน
            5) ช่วยให้ผู้เรียนได้นำาความรู้ที่ได้ไปใช้
      3. ขั้น วิเ คราะห์แ ละอภิป รายผลจากกิจ กรรม
            1) วิเคราะห์ อภิปราย ผลงาน / ข้อความรู้ที่สรุปได้จาก
กิจกรรม
            2) วิเคราะห์ อภิปรายกระบวนการเรียนรู้
      4. ขั้น สรุป และประเมิน ผลการเรีย นรู้ต ามวัต ถุป ระสงค์

     จากขั้นตอนการเรียนรู้ทั้ง 4 สามารถเขียนเป็นขั้นตอนให้
ชัดเจนยิ่งขึ้นในการออก
แบบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ดังนี้ (ทิศนา แขมณี , 2542)
             1) ขั้น การทบทวนความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นการดึงดูด
ความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่เรียน
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความ
รู้เดิมของตนเอง
             2) ขั้น แสวงหาความรู้ใ หม่ ขันนี้เป็นการแสวงหา
                                                ้
ข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่
มีจากแหล่งข้อมูลหรหรือแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งครูอาจเตรียมมาให้ผู้
เรียนหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับ
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้
             3) ขั้น การศึก ษาและทำา ความเข้า ใจข้อ มูล / ความ
รู้ใ หม่แ ละเชื่อ มโยงความรู้ใ หม่ก ับ
ความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นเป็นขั้นที่ผู้เรียนจะต้องศึกษา และทำาความ
เข้าใจกับข้อมูล/ความรู้ที่หามาได้
ผู้เรียนต้องสร้างความหมายของข้อมูล/ประสบการณ์ใหม่ ๆ โดยใช้
กระบวนการต่าง ๆ ด้วยตนเอง
เช่น ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุป
ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น
ซึ่งอาจจำาเป็นต้องอาศัยเชื่อมโยงกับความรู้เดิม
             4 ) ขั้น การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม
ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ
ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเอง รวมทั้งเป็นการขยาย
ความรู้ความเข้าใจของตนเอง
ให้ กว้างขึ้น ซึ่งอาจจะช่วยให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจ
ของตนแก่ผู้อื่น และได้รับ
ประโยชน์จากความรู้ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อม ๆ กัน
             5 ) ขั้น การสรุป และการจัด ระเบีย บความรู้ เป็นการ
สรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด
จาก การทำากิจกรรม ทั้งความรู้เดิม และความรู้ใหม่ ควรจัดสิ่งที่เรียน
รู้ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อ
ช่วยให้นักเรียนจดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
             6) ขั้น การแสดงผลงาน ขันนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียน
                                             ้
ได้มีโอกาสแสดผลงาน
แสดงความรู้ของตนให้กับผู้อื่นได้รับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนตอกยำ้า
หรือตรวจสอบความเข้าใจของ
ตน และยังช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
7) ขั้น การประยุก ต์ใ ช้ค วามรู้ เป็นขั้นตอนการส่ง
เสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนำาความรู้ความเข้าใจของตนไปใช้ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความชำานาญ ความเข้าใจความสามารถ
ในการแก้ปัญหา และความจำาในเรื่องนั้น ๆ

บทบาทของครูแ ละผู้เ รีย นในการจัด การเรีย นการ
สอนตามโมเดลซิป ปา (อัมพา บุ่ยศิริรักษ์
(2542)
    1. การเตรีย มการสอน
       1.1 ศึกษาและวิเคราะห์เรื่องที่จะสอนให้เข้าใจ
       1.2 ศึกษาแหล่งความรู้ที่หลากหลาย
       1.3 วางแผนการสอน
           1.3.1 กำาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
           1.3.2 วิเคราะห์เนื้อหาและความคิดรวบยอด และ
       กำาหนดรายละเอียดให้ชัดเจน
           1.3.3 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็น
           ศูนย์กลางตามหลักซิปปาหรืออื่นๆ
           1.3.4 กำาหนดวิธีการประเมินผลการเรียนรู้
       1.4 จัดเตรียม
           1.4.1 สื่อ วัสดุ การเรียนการสอน ให้เพียงพอสำาหรับผู้
       เรียน
           1.4.2 เอกสาร หนังสือ หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่จำาเป็น
       สำาหรับผู้เรียน
           1.4.3 ติดต่อแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นบุคคล
           สถานที่ หรือโสตทัศน์วัสดุต่าง ๆ และศึกษาหาความรู้
           เพิ่มเติม
           1.4.4 เครื่องมือการประเมินผลการเรียนรู้
           1.4.5 ห้องเรียนหรือสถานที่เพื่อการจัดกิจกรรมการ
       เรียนรู้ เช่น อาจจำาเป็นต้อง
           จัดโต๊ะ เก้าอี้ ในลักษณะใหม่
    2. การสอน
       2.1 สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดี
       2.2 กระตุ้นผู้เรียนให้สนใจในการร่วมกิจกรรม
       2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนที่ได้เตรียมไว้ โดยอาจ
       มีการปรับแผนให้เหมาะกับผู้เรียนและสถานการณ์ที่เป็นจริง
           2.3.1 ดูแลให้ผู้เรียนดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ แก้ปัญหาที่
           อาจเกิดขึ้น
2.3.2 อำานวยความสะดวกแก่ผู้เรียนในการดำาเนิน
           กิจกรรมการเรียนรู้
           2.3.3 กระตุ้นผู้เรียนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างเต็ม
           ที่
           2.3.4 สังเกต และบันทึกพฤติกรรม และกระบวนการ
           เรียนรู้ของผู้เรียนรวมทั้ง
           เหตุการณ์ที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้น
           ขณะทำากิจกรรม
           2.3.5 ให้คำาแนะนำา และข้อมูลต่าง ๆ แก่ผู้เรียนตาม
           ความจำาเป็น
           2.3.6 บันทึกปัญหา และข้อขัดข้องต่าง ๆ ในการ
           ดำาเนินกิจกรรมเพื่อการปรับปรุงกิจกรรมให้ดีขึ้น
           2.3.7 ให้การเสริมแรงผู้เรียนตามความเหมาะสม
           2.3.8 ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานการเรียนรู้ของผู้
           เรียน และอาจให้ข้อมูล
           เนื้อหาความรู้เพิ่มเติมแก่ผู้เรียนตามความเหมาะสม
           2.3.9 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเกี่ยวกับพฤติกรรม
           และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนและให้ข้อเสนอแนะ
           ตามความเหมาะสม



ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบซิป ปา
โมเดล
       ผู้เรียนจะเกิดความเข้าใจในสิ่งที่เรียน สามารถอธิบาย ชี้แจง
ตอบคำาถามได้ดี นอกจากนั้น
ยังได้พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทำางาน
เป็นกลุ่ม การสื่อสาร รวมทั้ง
เกิดความ ใฝ่รู้ด้วยจะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนตามรูปแบบโมเดล
ซิปปานั้นนอกจากจะเป็น
รูปแบบการจัด การเรียนการสอนที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาได้อย่าง
เต็มตามศักยภาพแล้วยังสามารถ
นำาไปใช้เป็นตัวชี้วัด หรือเป็นเครื่องตรวจสอบการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนได้ว่ากิจกรรมนั้น
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางหรือไม่ โดยนำาเอากิจกรรมในแผนการสอน
มาตรวจสอบตามหลักการของ
CIPPAด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ
ซิปปาโมเดลนี้ในการวิจัย
เชิงปฏิบัติการครั้งนี้ โดยในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้รูป
แบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา
โมเดลในด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งผู้วิจัย
พัฒนาขึ้นโดยยึดหลักการของซิป
ปา และพัฒนาให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ และบริบท
ของนักเรียนให้มากที่สุด ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นนี้
ประกอบไปด้วย 7 ขันตอน ดังนี้
                       ้
1. ขั้นการตรวจสอบความรู้เดิม 2. ขันการสร้างความรู้ใหม่จาก
                                         ้
ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม
3. ขั้นการแสดงผลงาน            4. ขั้นการแลกเปลี่ยนและตรวจสอบ
ความรู้     5. ขันการสรุปและจัดระเบียบความรู้
                 ้                                      6. ขั้นการ
ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง 7. ขั้นการฝึกทักษะ
ในขั้นตอนทั้ง 7 นี้ ก็จะสอดคล้องตามหลักการของซิปปา (CIPPA)
ดังนี้
        C (Construct) สอดคล้องกับขั้นการสร้างความรู้ใหม่จาก
ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม
ขันการแสดงผลงาน ขั้นการแลกเปลี่ยนและตรวจสอบความรู้ ขัน
   ้                                                            ้
การสรุปและจัดระเบียบความรู้
ขันการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงและขั้นการฝึกทักษะ
     ้
        I (Interaction) สอดคล้องกับทุกขั้นตอนเพราะนักเรียนได้มี
ส่วนร่วมในกิจกรรมที่
ก่อให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันทั้งระหว่างผู้เรียนเองและผู้
เรียนต่อครูผู้สอน
        P (Physical Participation) สอดคล้องกับขั้นการสร้าง
ความรู้ใหม่จากประสบการณ์ที่เป็น
รูปธรรม ขันการแสดงผลงาน ขั้นการแลกเปลี่ยนและตรวจสอบความ
             ้
รู้ ขั้นการสรุปและจัดระเบียบ
ความรู้ ขั้นการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงและขั้นการฝึกทักษะ
        P (Process Learning) สอดคล้องกับทุกขั้นตอน เพราะใน
ทุกขั้นตอนมีกิจกรรมที่ส่งเสริม
ให้นักเรียนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ เช่น กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดและกระบวนการ
แก้ปัญหา
A (Application) สอดคล้องกับขั้นการประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์จริงและขั้นการฝึกทักษะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ JigsawKrutanapron Nontasaen
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาSurapong Khamjai
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนPornpichit55
 
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยMeAw N'Fah
 

La actualidad más candente (18)

ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
M4
M4M4
M4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน
 
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
 

Similar a รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้onnichabee
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 
นำเสนองานสื่อกิจกรรม
นำเสนองานสื่อกิจกรรมนำเสนองานสื่อกิจกรรม
นำเสนองานสื่อกิจกรรมnutchakaka
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3Mashmallow Korn
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรPateemoh254
 

Similar a รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (20)

นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
นำเสนองานสื่อกิจกรรม
นำเสนองานสื่อกิจกรรมนำเสนองานสื่อกิจกรรม
นำเสนองานสื่อกิจกรรม
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  • 1. รูป แบบการเรีย นการสอนโดยยึด ผู้เ รีย นเป็น ศูน ย์ก ลาง : (CIPPA Model) ทฤษฎี/หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบ ทิศนา แขมมณี (2543) รองศาสตราจารย์ ประจำาคณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนารูปแบบนี้ขึ้นจากประสบการณ์ที่ได้ใช้แนวคิดทางการศึกษา ต่างๆ ในการสอนมาเป็นเวลา ประมาณ 30 ปี และพบว่าแนวคิดจำานวนหนึ่งสามารถใช้ได้ผลดี ตลอดมา แนวคิดเหล่านั้นเมื่อนำามา ประสานกัน ทำาให้เกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าว ได้แก่ (1) แนวคิดการสร้างความรู้(2)แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่มและการ เรียนรู้แบบร่วมมือ (3) แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้(4) แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ และ (5) แนวคิดเกี่ยวกับการ ถ่ายโอนการเรียนรู้ แนวคิดทั้ง 5 เป็นที่มาของแนวคิด "CIPPA" ใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้สูงสุด โดยการให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง (C = Construction of knowledge) และ มีการปฏิสัมพันธ์ ( I = Interaction) กับเพื่อนบุคคลอื่นๆ และสิ่ง แวดล้อมรอบตัวหลายด้านโดยใช้ ทักษะกระบวนการ (P = Process skills) ต่างๆ จำานวนมากในการ สร้างความรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ พัฒนาทักษะกระบวนการและเรียนรู้สาระในแง่มุมที่ กว้างขึ้น ซึ่งจะ เกิดขึ้นได้หากผู้เรียนอยู่ใน สภาพความพร้อมในการรับรู้และการเรียนรู้ มีประสาทการรับรู้ที่ตื่น ตัว ไม่เฉื่อยชา และสิ่งที่ สามารถทำาให้ผู้เรียนอยู่ในสภาพดังกล่าวได้ก็คือ การให้ผู้เรียนมี การเคลื่อนไหวทางกาย (P = Physic participation) อย่างเหมาะสม กิจกรรมที่หลากหลาย ทำาให้ผู้เรียน ตื่นตัวอยู่เสมอ จึงสามารถทำาให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้แต่เรียนรู้นั้นจะมีความหมายต่อ ตนเองและ ความเข้าใจ จะมีความลึกซึ้งและ คงทนอยู่มากเพียงใดนั้นต้อง อาศัยการถ่ายโอนการเรียนรู้ หากผู้ เรียนมีการนำาความรู้นั้นไป ประยุกต์ใช้ (A = Application ) ในสถานการณ์ที่หลากหลาย ความรู้นั้นก็จะเป็นประโยชน์และมี
  • 2. ความหมายมากขึ้น ด้วยแนวคิดดังกล่าว จึงเกิดแบบแผน "CIPPA" ขึน ซึ่งผู้สอนสามารถนำา ้ แนวคิดทั้ง 5 ดังกล่าวไปใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้มี คุณภาพได้ วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ รูปแบบนี้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ เรียนอย่างแท้จริง โดยการให้ ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยความร่วมมือจากกลุ่ม นอกจากนั้นยังช่วยพัฒนาทักษะ กระบวนการต่าง ๆ จำานวนมาก อาทิ กระบวนการคิด กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม และกระบวนการแสวงหาความรู้ เป็นต้น หลัก การของรูป แบบของโมเดลซิป ปา จากแนวคิดสำาหรับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ ทิศนา แขมมณี (2542) ได้สรุปซึ่งเป็นที่มาของชื่อ “CIPPA” ดังนี้ C มาจากคำา ว่า Construct ซึ่งหมายถึง การสร้างความรู้ ตามแนวคิดของ Constructivism กล่าวคือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมี โอกาสสร้างความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งจะทำาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อ ตนเอง การที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ สร้างความรู้ด้วยตนเองนี้ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทาง สติปัญญา I มาจากคำา ว่า Interaction ซึ่งหมายถึง การปฏิสัมพันธ์กับ ผูอื่นหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว ้ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ ทางสังคมกับบุคคล และแหล่ง ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสังคม P มาจากคำา ว่า Physical Participation ซึ่งหมายถึง ให้ ผู้เรียนมีโอกาสได้เคลื่อนไหว ร่างกาย โดยทำากิจกรรมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมทางกาย
  • 3. P มาจากคำา ว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้ กระบวนการต่าง ๆ ซึ่งเป็นทักษะ ที่จำาเป็นต่อการดำารงชีวิต เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการพัฒนาตนเอง เป็นต้น การเรียนรู้ กระบวนการเป็นสิ่งที่สำาคัญ เช่นเดียวกับการเรียนรู้ เนื้อหาสาระต่างๆ การเรียนรู้เกี่ยวกับ กระบวนการเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมทางด้านสติปัญญาอีกทางหนึ่ง A มาจากคำา ว่า Application หมายถึง การนำาความรู้ที่ได้ เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ซึ่งจะช่วย ให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียน และช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ การจัด กิจ กรรมการเรีย นการสอนที่ส อดคล้อ งกับ รูป แบบของซิป ปา ขันตอน กระบวนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญตามหลักการ ้ ของซิปปา ประกอบด้วย ขันต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ (ทิศนา แขมณี , 2542) ้ 1. ขั้น นำา สร้างหรือกระตุ้นความสนใจ 2. ขั้น สอน จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ โดย กิจกรรมที่จัดควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1) ช่วยให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง 2) ช่วยให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ ช่วยการเรียนรู้ 3) ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการสร้าง ความรู้ด้วยตนอง 4) ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการควบคู่ไปกับผล งาน 5) ช่วยให้ผู้เรียนได้นำาความรู้ที่ได้ไปใช้ 3. ขั้น วิเ คราะห์แ ละอภิป รายผลจากกิจ กรรม 1) วิเคราะห์ อภิปราย ผลงาน / ข้อความรู้ที่สรุปได้จาก กิจกรรม 2) วิเคราะห์ อภิปรายกระบวนการเรียนรู้ 4. ขั้น สรุป และประเมิน ผลการเรีย นรู้ต ามวัต ถุป ระสงค์ จากขั้นตอนการเรียนรู้ทั้ง 4 สามารถเขียนเป็นขั้นตอนให้ ชัดเจนยิ่งขึ้นในการออก
  • 4. แบบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ดังนี้ (ทิศนา แขมณี , 2542) 1) ขั้น การทบทวนความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นการดึงดูด ความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความ รู้เดิมของตนเอง 2) ขั้น แสวงหาความรู้ใ หม่ ขันนี้เป็นการแสวงหา ้ ข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่ มีจากแหล่งข้อมูลหรหรือแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งครูอาจเตรียมมาให้ผู้ เรียนหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับ แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ 3) ขั้น การศึก ษาและทำา ความเข้า ใจข้อ มูล / ความ รู้ใ หม่แ ละเชื่อ มโยงความรู้ใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นเป็นขั้นที่ผู้เรียนจะต้องศึกษา และทำาความ เข้าใจกับข้อมูล/ความรู้ที่หามาได้ ผู้เรียนต้องสร้างความหมายของข้อมูล/ประสบการณ์ใหม่ ๆ โดยใช้ กระบวนการต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุป ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจำาเป็นต้องอาศัยเชื่อมโยงกับความรู้เดิม 4 ) ขั้น การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเอง รวมทั้งเป็นการขยาย ความรู้ความเข้าใจของตนเอง ให้ กว้างขึ้น ซึ่งอาจจะช่วยให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจ ของตนแก่ผู้อื่น และได้รับ ประโยชน์จากความรู้ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อม ๆ กัน 5 ) ขั้น การสรุป และการจัด ระเบีย บความรู้ เป็นการ สรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด จาก การทำากิจกรรม ทั้งความรู้เดิม และความรู้ใหม่ ควรจัดสิ่งที่เรียน รู้ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อ ช่วยให้นักเรียนจดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่ายขึ้น 6) ขั้น การแสดงผลงาน ขันนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียน ้ ได้มีโอกาสแสดผลงาน แสดงความรู้ของตนให้กับผู้อื่นได้รับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนตอกยำ้า หรือตรวจสอบความเข้าใจของ ตน และยังช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 5. 7) ขั้น การประยุก ต์ใ ช้ค วามรู้ เป็นขั้นตอนการส่ง เสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนำาความรู้ความเข้าใจของตนไปใช้ใน สถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความชำานาญ ความเข้าใจความสามารถ ในการแก้ปัญหา และความจำาในเรื่องนั้น ๆ บทบาทของครูแ ละผู้เ รีย นในการจัด การเรีย นการ สอนตามโมเดลซิป ปา (อัมพา บุ่ยศิริรักษ์ (2542) 1. การเตรีย มการสอน 1.1 ศึกษาและวิเคราะห์เรื่องที่จะสอนให้เข้าใจ 1.2 ศึกษาแหล่งความรู้ที่หลากหลาย 1.3 วางแผนการสอน 1.3.1 กำาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน 1.3.2 วิเคราะห์เนื้อหาและความคิดรวบยอด และ กำาหนดรายละเอียดให้ชัดเจน 1.3.3 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางตามหลักซิปปาหรืออื่นๆ 1.3.4 กำาหนดวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 1.4 จัดเตรียม 1.4.1 สื่อ วัสดุ การเรียนการสอน ให้เพียงพอสำาหรับผู้ เรียน 1.4.2 เอกสาร หนังสือ หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่จำาเป็น สำาหรับผู้เรียน 1.4.3 ติดต่อแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นบุคคล สถานที่ หรือโสตทัศน์วัสดุต่าง ๆ และศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม 1.4.4 เครื่องมือการประเมินผลการเรียนรู้ 1.4.5 ห้องเรียนหรือสถานที่เพื่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ เช่น อาจจำาเป็นต้อง จัดโต๊ะ เก้าอี้ ในลักษณะใหม่ 2. การสอน 2.1 สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดี 2.2 กระตุ้นผู้เรียนให้สนใจในการร่วมกิจกรรม 2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนที่ได้เตรียมไว้ โดยอาจ มีการปรับแผนให้เหมาะกับผู้เรียนและสถานการณ์ที่เป็นจริง 2.3.1 ดูแลให้ผู้เรียนดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ แก้ปัญหาที่ อาจเกิดขึ้น
  • 6. 2.3.2 อำานวยความสะดวกแก่ผู้เรียนในการดำาเนิน กิจกรรมการเรียนรู้ 2.3.3 กระตุ้นผู้เรียนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างเต็ม ที่ 2.3.4 สังเกต และบันทึกพฤติกรรม และกระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียนรวมทั้ง เหตุการณ์ที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้น ขณะทำากิจกรรม 2.3.5 ให้คำาแนะนำา และข้อมูลต่าง ๆ แก่ผู้เรียนตาม ความจำาเป็น 2.3.6 บันทึกปัญหา และข้อขัดข้องต่าง ๆ ในการ ดำาเนินกิจกรรมเพื่อการปรับปรุงกิจกรรมให้ดีขึ้น 2.3.7 ให้การเสริมแรงผู้เรียนตามความเหมาะสม 2.3.8 ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานการเรียนรู้ของผู้ เรียน และอาจให้ข้อมูล เนื้อหาความรู้เพิ่มเติมแก่ผู้เรียนตามความเหมาะสม 2.3.9 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเกี่ยวกับพฤติกรรม และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนและให้ข้อเสนอแนะ ตามความเหมาะสม ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบซิป ปา โมเดล ผู้เรียนจะเกิดความเข้าใจในสิ่งที่เรียน สามารถอธิบาย ชี้แจง ตอบคำาถามได้ดี นอกจากนั้น ยังได้พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทำางาน เป็นกลุ่ม การสื่อสาร รวมทั้ง เกิดความ ใฝ่รู้ด้วยจะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนตามรูปแบบโมเดล ซิปปานั้นนอกจากจะเป็น รูปแบบการจัด การเรียนการสอนที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาได้อย่าง เต็มตามศักยภาพแล้วยังสามารถ นำาไปใช้เป็นตัวชี้วัด หรือเป็นเครื่องตรวจสอบการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนได้ว่ากิจกรรมนั้น เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางหรือไม่ โดยนำาเอากิจกรรมในแผนการสอน มาตรวจสอบตามหลักการของ
  • 7. CIPPAด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ซิปปาโมเดลนี้ในการวิจัย เชิงปฏิบัติการครั้งนี้ โดยในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้รูป แบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา โมเดลในด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งผู้วิจัย พัฒนาขึ้นโดยยึดหลักการของซิป ปา และพัฒนาให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ และบริบท ของนักเรียนให้มากที่สุด ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นนี้ ประกอบไปด้วย 7 ขันตอน ดังนี้ ้ 1. ขั้นการตรวจสอบความรู้เดิม 2. ขันการสร้างความรู้ใหม่จาก ้ ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม 3. ขั้นการแสดงผลงาน 4. ขั้นการแลกเปลี่ยนและตรวจสอบ ความรู้ 5. ขันการสรุปและจัดระเบียบความรู้ ้ 6. ขั้นการ ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง 7. ขั้นการฝึกทักษะ ในขั้นตอนทั้ง 7 นี้ ก็จะสอดคล้องตามหลักการของซิปปา (CIPPA) ดังนี้ C (Construct) สอดคล้องกับขั้นการสร้างความรู้ใหม่จาก ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม ขันการแสดงผลงาน ขั้นการแลกเปลี่ยนและตรวจสอบความรู้ ขัน ้ ้ การสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขันการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงและขั้นการฝึกทักษะ ้ I (Interaction) สอดคล้องกับทุกขั้นตอนเพราะนักเรียนได้มี ส่วนร่วมในกิจกรรมที่ ก่อให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันทั้งระหว่างผู้เรียนเองและผู้ เรียนต่อครูผู้สอน P (Physical Participation) สอดคล้องกับขั้นการสร้าง ความรู้ใหม่จากประสบการณ์ที่เป็น รูปธรรม ขันการแสดงผลงาน ขั้นการแลกเปลี่ยนและตรวจสอบความ ้ รู้ ขั้นการสรุปและจัดระเบียบ ความรู้ ขั้นการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงและขั้นการฝึกทักษะ P (Process Learning) สอดคล้องกับทุกขั้นตอน เพราะใน ทุกขั้นตอนมีกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้นักเรียนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ เช่น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดและกระบวนการ แก้ปัญหา