SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
กิจกรรมที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อ
ภาพยนตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายหลักการตัดต่อภาพยนตร์
2. มีความรู้ความเข้าใจในงานตัดต่อภาพยนตร์
ภาพยนตร์คืออะไร
• ภาพนิ่ง หลาย ๆ ภาพเรียงติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง ใช้หลักการที่เรียกว่า
การเห็นภาพติดตา และเมื่อนาเอาภาพนิ่งเหล่านั้นมาฉายดูทีละภาพด้วย
อัตราความเร็วในการฉายต่อภาพเท่าๆ กัน
• ภาพที่แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องในลักษณะของการเคลื่อนไหว
เมื่อนามาเรียงต่อกันในระยะเวลากระชั้นชิด ภาพนิ่งเหล่านั้นจะกลายเป็ น
ภาพเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องกันเป็ นธรรมชาติ ปัจจุบัน ความเร็วที่ใช้ในการ
ถ่ายทาคือ 24 เฟรม ต่อ 1 วินาที
ประเภทของภาพยนตร์
• ภาพยนตร์แอคชั่น (Action movie)
• ภาพยนตร์พจญภัย (Adventure)
• ภาพยนตร์การ์ตูน (Animation)
• ภาพยนตร์ตลก (Comedy)
• ภาพยนตร์อาชญากรรม (Crime)
• ภาพยนตร์สารคดี (Documentaries)
• ภาพยนตร์ครอบครัว (Family)
• ภาพยนตร์เพลง (Musicals Movies)
• ภาพยนตร์โรแมนติก (Romance)
กระบวนการผลิตภาพยนตร์
ขั้นตอนการผลิตรายการออกเป็ น 4 ขั้นตอนใหญ่ ดังนี้
1. ขั้นตอนก่อนการผลิต (Pre Production)
2. ขั้นตอนการผลิต (Production)
3. ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production)
4. และขั้นการเผยแพร่ (Distribution)
1. ขั้นก่อนการผลิต (Pre Production)
• ก่อนเริ่มทาการผลิตรายการ ได้แก่ การเตรียมข้อมูล การกาหนดหรือ
เค้าโครงเรื่อง การประสานงาน กองถ่ายกับสถานที่ถ่ายทา ประชุม
วางแผนการผลิต การเขียนสคริปต์ การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การ
ถ่ายทา อุปกรณ์การบันทึกเสียง ห้องบันทึกเสียง ห้องตัดต่อ สตูดิโอ
ถ่ายทา อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์แสง การเตรียมตัวผู้ดาเนิน
รายการ ผู้ร่วมรายการ ทีมงาน ทุกฝ่ าย การเดินทาง อาหาร ที่พัก
ฯลฯ
กระบวนการผลิตภาพยนตร์
1. ขั้นก่อนการผลิต (Pre Production)
1. บทภาพยนตร์ (Screenplay)
2. บทถ่ายทา (Shooting Script)
3. ภาพบรรยายบท (Storyboard)
2. ขั้นตอนการผลิต (Production)
• ขั้นตอนการดาเนินการถ่ายทาตามท้องเรื่องหรือตามสคริปต์ทีมงาน
ผู้ผลิต ตามที่กาหนดไว้ในสคริปต์ อาจมีการเดินทางไปถ่ายทายัง
สถานที่ต่างๆ ทั้งในร่มและกลางแจ้ง มีการสัมภาษณ์ จัดฉากจัด
สถานที่ภายนอกหรือในสตูดิโอ ขั้นตอนนี้อาจมีการถ่ายทาแก้ไข
หลายครั้งจนเป็ นที่พอใจ (take) นอกจากนี้อาจจาเป็ นต้องเก็บภาพ/
เสียงบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการขยาย
ความ (insert) เพื่อให้ผู้ชมได้เห็นและเข้าใจ
3. ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production)
• ขั้นตอนการตัดต่อเรียบเรียงภาพและเสียงเข้าไว้ด้วยกันตามสคริปต์
หรือเนื้อหาของเรื่อง ขั้นตอนนี้จะมีการใส่กราฟิกทาเทคนิคพิเศษภาพ
การเชื่อมต่อภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้องบันทึกเสียง
เพิ่มเติม อีกก็ได้ อาจมีการนาดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่ม
อรรธรสในการรับชมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่จะดาเนินการอยู่ใน
ห้องตัดต่อ มีเฉพาะช่างเทคนิคที่เกี่ยวข้องและผู้กากับเท่านั้น
4. ขั้นการเผยแพร่รายการ (Distribution)
• เผยแพร่วีดิทัศน์ต่อผู้ชมรายการเป้ าหมายนั้น ยังต้องมีการ
ประเมินผลรายการเพื่อให้ตรงกับ วัตถุประสงค์ การปรับปรุงแก้ไข
ข้อบกพร่องเล็กๆน้อยๆ ทั้งภาพและเสียงให้มีความสมบูรณ์ ในการ
เผยแพร่รายการวีดิทัศน์ให้กับผู้ชมรายการกลุ่มเป้ าหมายนั้น เรา
สามารถเผยแพร่ได้หลากหลายวิธี
คาศัพท์ในโปรแกรม
• โปรเจ็ก(Project) หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างขึ้นหรือกาลังตัดอยู่
เรียกไฟล์งานนั้นว่าโปรเจ็ก วึ่งจะครอบคลุมชิ้นงานของเรา
• คลิป(Clip) หมายถึง ไฟล์วิดีโอ ภาพ เสียงต่างๆ ที่เราทาการ import
เข้ามาใช้ในโปรเจ็ก โดยแต่ละไฟล์เรียกว่าคลิป
• แทร็ก (Track) หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline ซึ่งแต่ละเลเยอร์เรา
เรียกว่า แทร็ก เช่น เลเยอร์ ของ Video 1 เราเรียกว่า แทร็กของ
Video 1
คาศัพท์ในโปรแกรม
• เฟรม (Frame) หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่บนหน้าต่าง
Timelineซึ่งแต่ละช่องนี้แสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ในคลิป โดยจะเรียง
ต่อกันไฟเรื่อยๆเหมือนกับฟิล์มถ่ายหนัง
• ซีเควนส์ (Sequence) หมายถึง ลาดับหรือฉากๆหนึ่งของภาพยนตร์ที่
เรียงต่อกับเป็ นเรื่อง
ระบบวีดีโอในปัจจุบัน
• ระบบ PAL เป็ นระบบที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวไม่ค่อย
ราบรื่น โดยมีอัตราการแสดงภาพ (Frame Rate) 25 เฟรมต่อวินาที
นิยมใช้ในหลายประเทศ โดยประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้
• ระบบ NTSC เป็ นระบบที่มีความคมชัดสู้ ระบบ PAL ไม่ได้ แต่การ
เคลื่อนไหวของภาพจะราบรื่นกว่าระบบ PAL เพราะมีอัตราการแสดง
ภาพ( Frame Rate ) 29.79 เฟรมต่อวินาที นิยมใช้ที่ประเทศญี่ปุ่ น
และอเมริกา
ระบบวีดีโอในปัจจุบัน (ต่อ)
• ระบบ SECAM เป็ นระบบที่มีความคมชัดสูง การเคลื่อนไหวของภาพมี
ความราบรื่น มีอัตราการแสดงผล ( Frame Rate ) 25 เฟรมต่อวินาที
นิยมใช้ในแถบแอฟริกา
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว
• MPEG (Motion Picture Experts Group) ไฟล์วีดีโอยอดฮิตที่ได้รับ
ความนิยมมากที่สุด เนื่องจากมีการบีบอัดที่สูง ทาให้ไฟล์ที่ได้มีขนาด
เล็ก แต่ยังคงความความชัดอยู่
• XVID คือไฟล์ที่ได้มาจากการพัฒนารูปแบบการบีบอัดบนพื้นฐานของ
MP4
• DixV ไฟล์วีดีโดรูปแบบใหม่ที่นิยมใช้งานกันมาก เนื่องจากมี
คุณภาพสูงในขณะที่ไฟล์มีขนาดเล็กลง เรียกว่าคุณภาพระดับ DVD
เลย เป็ นไฟล์ประเภทเดียวกับ MPEG-4
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว
• AVI เป็ นไฟล์วีดีโอเช่นเดียวกัน โดยฟอร์แมตนี้จะถูกใช้งานบนเครื่อง
พีซี เช่นเมื่อโหลดภาพจากกล้องวีดีโอเข้ามาที่เครื่องคอมก็จะต้องทา
เป็ นฟอร์แมต AVI ข้อเสียของมันก็คือขนาดใหญ่มากไฟล์วีดีโอแค่ 1
นาที อาจจะต้องใช้พื้นที่เก็บประมาณ 5 – 10 MB
• MOV (QuickTime) เป็ นไฟล์วีดีโอมาตราฐานของเครื่อง MAC แต่ก็
ใช้ดูในวินโดวส์ได้ ผ่านทาง Quicktime
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว
• RM,RPM เป็ นรูปแบบหนึ่งของไฟล์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นโดย
RealNetwork Inc. จะมีรูปแบบเฉพาะตัวในการเล่นไฟล์มัลติมีเดีย
ภาพและเสียงอย่างต่อเนื่องที่เรียกว่า Streaming
• DAT ไฟล์ใน Video-CD: VCD จะมีไฟล์รูปแบบหนึ่งที่มีนามสกุล
*.dat ซึ่งจะเป็ นเป้ าหมายหนึ่งของการแปลงไฟล์ภาพยนตร์รูปแบบ
อื่นๆ ไปเป็ นรูปแบบของ VCD
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว
• Gif Animation (Graphics Interchange Format) รูปแบบหนึ่งของ
ภาพเคลื่อนไหว ที่นิยมใช้งานบนอินเตอร์เน็ตโดยการสร้าง
ภาพเคลื่อนไหว 1 ภาพ จากการรวมหลายๆภาพเข้าด้วยกัน
• Shockwave Flash เทคโนโลยีที่นาทั้งภาพและเสียงและยังจะโต้ตอบ
กับผู้ใช้งานได้ด้วย เช่นการกดปุ่ ม การเปลี่ยนภาพเมื่อคลิกที่ Flash
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว
• WMV (Windows Media Video) แค่ชื่อก็บอกแล้วว่าเป็ นของ
Microsoft เป็ นไฟล์มาตราฐานสาหรับการใช้งานร่วมกับ
ระบบปฏิบัติการ Windows ทุกเวอร์ชั่น
• 3GP เป็ นไฟล์วิดีโอที่สามารถเปิ ดดูได้จากโทรศัพท์มือถือทั่วไป ซึ่ง
ไฟล์ประเภทนี้เป็ นไฟล์วิดีโอที่มีขนาดเล็กกว่าไฟล์วิดีโอทั่วไป
• MKV ไฟล์ประเภท MKV มีรูปแบบคล้ายๆ กับ MP4 หรือ AVI ที่
สามารถบรรจุภาพ และเสียง พร้อม subtitle ให้อยู่ในไฟล์เดียวได้
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์เสียง
• MIDI (Musical Intrumental Digital Interface :31.25 Kbs data
rate) รูปแบบของเสียงเพลงดิจิตัลที่สามารถสร้างได้จากโปรแกรม
บนคอมพิวเตอร์หรือจากเครื่องดนตรีต่างๆ
• Wave ไฟล์ Wave (เวฟ) ที่มีนามสกุล .wav เป็ นไฟล์ข้อมูลคลื่นเสียง
ที่บันทึกจากเสียงอนาล็อกเป็ นรูปแบบดิจิตอล
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์เสียง
• CD Audio เป็ นแทร็กเสียงดิจิตอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล์ Wave
บรรจุไว้ในแผ่นซีดีเพลงด้วยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถ้าใส่แผ่นซีดีเพลง
เข้าไปในไดรฟ์ ซีดีรอมsubtitle ให้อยู่ในไฟล์เดียวได้
• MP3 (นามสกุล .mp3) เป็ นไฟล์เสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล์ Wave แต่
มีขนาดเล็กกว่าประมาณ 8-10 เท่า ข้อมูลในไฟล์ถูกบับอัดให้เล็กลง
แต่ยังคงคุณภาพไว้ใกล้เคียงต้นฉบับ ไฟล์ MP3 ได้รับความนิยมมาก
สาหรับการบันทึกเพลง ไฟล์ประเภทนี้ความยาว 4 นาที
นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ
ภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์เสียง
• WMA (Windows Media Audio) เป็ นไฟล์เสียงดิจิตอลรูปแบบใหม่
กว่า MP3 มีการบีบอัดดีกว่า ทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่า MP3
คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3
• RA (Real Audio) เป็ นไฟล์เสียงสาหรับใช้กับโปรแกรม Real Player
โดยเฉพาะ มีพื้นฐานมาจากไฟล์ Wave แต่ถูกบีบอัดให้เล็กลงด้วย
เทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใช้ในการรับส่งข้อมูลเสียงทางอินเทอร์เน็ตเป็ น
หลัก
Mr.Nuttapon Buapan(Krunut)
Teacher Computer, Sompoipittayakhom School, Sisaket Thailland
• Telephone :: 089-4280492 (ห้ามโทรมาดึกๆ)
• e-mail :: admin@sompoy.ac.th (สาหรับส่งงาน)
• Weblog :: http://ictspk.wordpress.com
• Id’Line :: knut9789
• Facebook :: http://www.facebook.com/ictspk
• Website :: http://www.krunut.net

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้Chay Kung
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน StoryboardYaowaluck Promdee
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]Pakornkrits
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวยSamorn Tara
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 

La actualidad más candente (20)

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 

Más de ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

Más de ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์

  • 1. กิจกรรมที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อ ภาพยนตร์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายหลักการตัดต่อภาพยนตร์ 2. มีความรู้ความเข้าใจในงานตัดต่อภาพยนตร์
  • 2. ภาพยนตร์คืออะไร • ภาพนิ่ง หลาย ๆ ภาพเรียงติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง ใช้หลักการที่เรียกว่า การเห็นภาพติดตา และเมื่อนาเอาภาพนิ่งเหล่านั้นมาฉายดูทีละภาพด้วย อัตราความเร็วในการฉายต่อภาพเท่าๆ กัน • ภาพที่แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องในลักษณะของการเคลื่อนไหว เมื่อนามาเรียงต่อกันในระยะเวลากระชั้นชิด ภาพนิ่งเหล่านั้นจะกลายเป็ น ภาพเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องกันเป็ นธรรมชาติ ปัจจุบัน ความเร็วที่ใช้ในการ ถ่ายทาคือ 24 เฟรม ต่อ 1 วินาที
  • 3. ประเภทของภาพยนตร์ • ภาพยนตร์แอคชั่น (Action movie) • ภาพยนตร์พจญภัย (Adventure) • ภาพยนตร์การ์ตูน (Animation) • ภาพยนตร์ตลก (Comedy) • ภาพยนตร์อาชญากรรม (Crime) • ภาพยนตร์สารคดี (Documentaries) • ภาพยนตร์ครอบครัว (Family) • ภาพยนตร์เพลง (Musicals Movies) • ภาพยนตร์โรแมนติก (Romance)
  • 4. กระบวนการผลิตภาพยนตร์ ขั้นตอนการผลิตรายการออกเป็ น 4 ขั้นตอนใหญ่ ดังนี้ 1. ขั้นตอนก่อนการผลิต (Pre Production) 2. ขั้นตอนการผลิต (Production) 3. ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) 4. และขั้นการเผยแพร่ (Distribution)
  • 5. 1. ขั้นก่อนการผลิต (Pre Production) • ก่อนเริ่มทาการผลิตรายการ ได้แก่ การเตรียมข้อมูล การกาหนดหรือ เค้าโครงเรื่อง การประสานงาน กองถ่ายกับสถานที่ถ่ายทา ประชุม วางแผนการผลิต การเขียนสคริปต์ การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การ ถ่ายทา อุปกรณ์การบันทึกเสียง ห้องบันทึกเสียง ห้องตัดต่อ สตูดิโอ ถ่ายทา อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์แสง การเตรียมตัวผู้ดาเนิน รายการ ผู้ร่วมรายการ ทีมงาน ทุกฝ่ าย การเดินทาง อาหาร ที่พัก ฯลฯ
  • 6. กระบวนการผลิตภาพยนตร์ 1. ขั้นก่อนการผลิต (Pre Production) 1. บทภาพยนตร์ (Screenplay) 2. บทถ่ายทา (Shooting Script) 3. ภาพบรรยายบท (Storyboard)
  • 7. 2. ขั้นตอนการผลิต (Production) • ขั้นตอนการดาเนินการถ่ายทาตามท้องเรื่องหรือตามสคริปต์ทีมงาน ผู้ผลิต ตามที่กาหนดไว้ในสคริปต์ อาจมีการเดินทางไปถ่ายทายัง สถานที่ต่างๆ ทั้งในร่มและกลางแจ้ง มีการสัมภาษณ์ จัดฉากจัด สถานที่ภายนอกหรือในสตูดิโอ ขั้นตอนนี้อาจมีการถ่ายทาแก้ไข หลายครั้งจนเป็ นที่พอใจ (take) นอกจากนี้อาจจาเป็ นต้องเก็บภาพ/ เสียงบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการขยาย ความ (insert) เพื่อให้ผู้ชมได้เห็นและเข้าใจ
  • 8. 3. ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) • ขั้นตอนการตัดต่อเรียบเรียงภาพและเสียงเข้าไว้ด้วยกันตามสคริปต์ หรือเนื้อหาของเรื่อง ขั้นตอนนี้จะมีการใส่กราฟิกทาเทคนิคพิเศษภาพ การเชื่อมต่อภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้องบันทึกเสียง เพิ่มเติม อีกก็ได้ อาจมีการนาดนตรีมาประกอบ เรื่องราวเพื่อเพิ่ม อรรธรสในการรับชมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่จะดาเนินการอยู่ใน ห้องตัดต่อ มีเฉพาะช่างเทคนิคที่เกี่ยวข้องและผู้กากับเท่านั้น
  • 9. 4. ขั้นการเผยแพร่รายการ (Distribution) • เผยแพร่วีดิทัศน์ต่อผู้ชมรายการเป้ าหมายนั้น ยังต้องมีการ ประเมินผลรายการเพื่อให้ตรงกับ วัตถุประสงค์ การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องเล็กๆน้อยๆ ทั้งภาพและเสียงให้มีความสมบูรณ์ ในการ เผยแพร่รายการวีดิทัศน์ให้กับผู้ชมรายการกลุ่มเป้ าหมายนั้น เรา สามารถเผยแพร่ได้หลากหลายวิธี
  • 10. คาศัพท์ในโปรแกรม • โปรเจ็ก(Project) หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างขึ้นหรือกาลังตัดอยู่ เรียกไฟล์งานนั้นว่าโปรเจ็ก วึ่งจะครอบคลุมชิ้นงานของเรา • คลิป(Clip) หมายถึง ไฟล์วิดีโอ ภาพ เสียงต่างๆ ที่เราทาการ import เข้ามาใช้ในโปรเจ็ก โดยแต่ละไฟล์เรียกว่าคลิป • แทร็ก (Track) หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline ซึ่งแต่ละเลเยอร์เรา เรียกว่า แทร็ก เช่น เลเยอร์ ของ Video 1 เราเรียกว่า แทร็กของ Video 1
  • 11. คาศัพท์ในโปรแกรม • เฟรม (Frame) หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่บนหน้าต่าง Timelineซึ่งแต่ละช่องนี้แสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ในคลิป โดยจะเรียง ต่อกันไฟเรื่อยๆเหมือนกับฟิล์มถ่ายหนัง • ซีเควนส์ (Sequence) หมายถึง ลาดับหรือฉากๆหนึ่งของภาพยนตร์ที่ เรียงต่อกับเป็ นเรื่อง
  • 12. ระบบวีดีโอในปัจจุบัน • ระบบ PAL เป็ นระบบที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวไม่ค่อย ราบรื่น โดยมีอัตราการแสดงภาพ (Frame Rate) 25 เฟรมต่อวินาที นิยมใช้ในหลายประเทศ โดยประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้ • ระบบ NTSC เป็ นระบบที่มีความคมชัดสู้ ระบบ PAL ไม่ได้ แต่การ เคลื่อนไหวของภาพจะราบรื่นกว่าระบบ PAL เพราะมีอัตราการแสดง ภาพ( Frame Rate ) 29.79 เฟรมต่อวินาที นิยมใช้ที่ประเทศญี่ปุ่ น และอเมริกา
  • 13. ระบบวีดีโอในปัจจุบัน (ต่อ) • ระบบ SECAM เป็ นระบบที่มีความคมชัดสูง การเคลื่อนไหวของภาพมี ความราบรื่น มีอัตราการแสดงผล ( Frame Rate ) 25 เฟรมต่อวินาที นิยมใช้ในแถบแอฟริกา
  • 14. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว • MPEG (Motion Picture Experts Group) ไฟล์วีดีโอยอดฮิตที่ได้รับ ความนิยมมากที่สุด เนื่องจากมีการบีบอัดที่สูง ทาให้ไฟล์ที่ได้มีขนาด เล็ก แต่ยังคงความความชัดอยู่ • XVID คือไฟล์ที่ได้มาจากการพัฒนารูปแบบการบีบอัดบนพื้นฐานของ MP4 • DixV ไฟล์วีดีโดรูปแบบใหม่ที่นิยมใช้งานกันมาก เนื่องจากมี คุณภาพสูงในขณะที่ไฟล์มีขนาดเล็กลง เรียกว่าคุณภาพระดับ DVD เลย เป็ นไฟล์ประเภทเดียวกับ MPEG-4
  • 15. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว • AVI เป็ นไฟล์วีดีโอเช่นเดียวกัน โดยฟอร์แมตนี้จะถูกใช้งานบนเครื่อง พีซี เช่นเมื่อโหลดภาพจากกล้องวีดีโอเข้ามาที่เครื่องคอมก็จะต้องทา เป็ นฟอร์แมต AVI ข้อเสียของมันก็คือขนาดใหญ่มากไฟล์วีดีโอแค่ 1 นาที อาจจะต้องใช้พื้นที่เก็บประมาณ 5 – 10 MB • MOV (QuickTime) เป็ นไฟล์วีดีโอมาตราฐานของเครื่อง MAC แต่ก็ ใช้ดูในวินโดวส์ได้ ผ่านทาง Quicktime
  • 16. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว • RM,RPM เป็ นรูปแบบหนึ่งของไฟล์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นโดย RealNetwork Inc. จะมีรูปแบบเฉพาะตัวในการเล่นไฟล์มัลติมีเดีย ภาพและเสียงอย่างต่อเนื่องที่เรียกว่า Streaming • DAT ไฟล์ใน Video-CD: VCD จะมีไฟล์รูปแบบหนึ่งที่มีนามสกุล *.dat ซึ่งจะเป็ นเป้ าหมายหนึ่งของการแปลงไฟล์ภาพยนตร์รูปแบบ อื่นๆ ไปเป็ นรูปแบบของ VCD
  • 17. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว • Gif Animation (Graphics Interchange Format) รูปแบบหนึ่งของ ภาพเคลื่อนไหว ที่นิยมใช้งานบนอินเตอร์เน็ตโดยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว 1 ภาพ จากการรวมหลายๆภาพเข้าด้วยกัน • Shockwave Flash เทคโนโลยีที่นาทั้งภาพและเสียงและยังจะโต้ตอบ กับผู้ใช้งานได้ด้วย เช่นการกดปุ่ ม การเปลี่ยนภาพเมื่อคลิกที่ Flash
  • 18. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภาพเคลื่อนไหว • WMV (Windows Media Video) แค่ชื่อก็บอกแล้วว่าเป็ นของ Microsoft เป็ นไฟล์มาตราฐานสาหรับการใช้งานร่วมกับ ระบบปฏิบัติการ Windows ทุกเวอร์ชั่น • 3GP เป็ นไฟล์วิดีโอที่สามารถเปิ ดดูได้จากโทรศัพท์มือถือทั่วไป ซึ่ง ไฟล์ประเภทนี้เป็ นไฟล์วิดีโอที่มีขนาดเล็กกว่าไฟล์วิดีโอทั่วไป • MKV ไฟล์ประเภท MKV มีรูปแบบคล้ายๆ กับ MP4 หรือ AVI ที่ สามารถบรรจุภาพ และเสียง พร้อม subtitle ให้อยู่ในไฟล์เดียวได้
  • 19. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์เสียง • MIDI (Musical Intrumental Digital Interface :31.25 Kbs data rate) รูปแบบของเสียงเพลงดิจิตัลที่สามารถสร้างได้จากโปรแกรม บนคอมพิวเตอร์หรือจากเครื่องดนตรีต่างๆ • Wave ไฟล์ Wave (เวฟ) ที่มีนามสกุล .wav เป็ นไฟล์ข้อมูลคลื่นเสียง ที่บันทึกจากเสียงอนาล็อกเป็ นรูปแบบดิจิตอล
  • 20. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์เสียง • CD Audio เป็ นแทร็กเสียงดิจิตอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล์ Wave บรรจุไว้ในแผ่นซีดีเพลงด้วยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถ้าใส่แผ่นซีดีเพลง เข้าไปในไดรฟ์ ซีดีรอมsubtitle ให้อยู่ในไฟล์เดียวได้ • MP3 (นามสกุล .mp3) เป็ นไฟล์เสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล์ Wave แต่ มีขนาดเล็กกว่าประมาณ 8-10 เท่า ข้อมูลในไฟล์ถูกบับอัดให้เล็กลง แต่ยังคงคุณภาพไว้ใกล้เคียงต้นฉบับ ไฟล์ MP3 ได้รับความนิยมมาก สาหรับการบันทึกเพลง ไฟล์ประเภทนี้ความยาว 4 นาที
  • 21. นามสกุลของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อ ภาพยนตร์ รูปแบบของไฟล์เสียง • WMA (Windows Media Audio) เป็ นไฟล์เสียงดิจิตอลรูปแบบใหม่ กว่า MP3 มีการบีบอัดดีกว่า ทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่า MP3 คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3 • RA (Real Audio) เป็ นไฟล์เสียงสาหรับใช้กับโปรแกรม Real Player โดยเฉพาะ มีพื้นฐานมาจากไฟล์ Wave แต่ถูกบีบอัดให้เล็กลงด้วย เทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใช้ในการรับส่งข้อมูลเสียงทางอินเทอร์เน็ตเป็ น หลัก
  • 22. Mr.Nuttapon Buapan(Krunut) Teacher Computer, Sompoipittayakhom School, Sisaket Thailland • Telephone :: 089-4280492 (ห้ามโทรมาดึกๆ) • e-mail :: admin@sompoy.ac.th (สาหรับส่งงาน) • Weblog :: http://ictspk.wordpress.com • Id’Line :: knut9789 • Facebook :: http://www.facebook.com/ictspk • Website :: http://www.krunut.net