SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 45
Descargar para leer sin conexión
Digital
Transformation
THANACHART
Digital Transformation Copyright © by thanachart. All Rights Reserved.
Contents
1. การพัฒนา Digital strategy เพ่ือการทำา Digital
Transformation ขององค์กร
1
2. ความยากของ Digital Transformation อยู่ท่ีการทำา
Culture disruption
7
3. กลยุทธ์ห้าด้านสำาหรับการทำา Digital
Transformation
11
4. Digital Transformation คือการพัฒนา Platform
มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 1)
15
5. Digital Transformation คือการพัฒนา Platform
มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 2)
21
6. Platform Business Model Map เคร่ืองมือสำาหรับ
การวิเคราะห์ Business Platform
25
7. ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยังไม่สามารถทำา
Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 1)
29
8. ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยังไม่สามารถทำา
Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 2)
33
CHAPTER 1
การพัฒนา Digital strategy เพ่ือ
การทำา Digital Transformation
ขององค์กร
ผู้คนส่วนใหญ่เร่ิมเห็นผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมาเปล่ียนแปลง
ธุรกิจต่างๆท้ังด้านการค้าปลีก ด้านส่ือส่ิงพิมพ์ ด้านการเงินการธนาคาร
และอุตสาหกรรมต่างๆ แล้วก็เร่ิมพูดถึงการทำา Digital Transformation
ในองค์กร ผมเองมีโอกาสได้ดู Webinar ของ MIT ซีรีย์
Innovation@work ในหัวข้อ Digital disruption: transforming your
company for the digital economy ได้พูดเร่ืองน้ีไว้น่าสนใจดังน้ี
เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีกำาลังทำาให้เกิด Business disruption ท่ีสำาคัญคือ
SMACIT ซ่ึงได้แก่ Social, Mobile, Analytics, Cloud และ Internet
of Things ซ่ึงฝ่ายไอทีหลายๆองค์กรต่างก็ไปทำากลยุทธ์ไอทีในเร่ืองเหล่าน้ี
เช่นการทำา Social media strategy, Mobile strategy, Big data &
analytics strategy, Cloud strategy หรือ BYOD strategy ดังแสดงใน
รูปท่ี 1
รูปท่ี 1 กลยุทธไอทีขององค์กร
แต่ส่ิงสำาคัญท่ีธุรกิจควรเข้าใจคือความหมายของ Digital disruption
ท่ีมันกำาลังเกิดการเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดล้อมในธุรกิจท่ีเกิดจากการ
นำาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ทำาให้เกิดคู่แข่งรายใหม่ท่ีสามารถสร้างผลิตภัณฑ์
หรือบริการใหม่ๆ หรือสามารถมีช่องทางในการตลาดได้ดีกว่าเดิม ดังน้ัน
องค์กรจึงจำาเป็นต้องมี Digital strategy มากกว่าการพัฒนา IT strategy
และต้องเห็นว่าแผนกไอทีคือแกนหลักของธุรกิจไม่ใช่แผนกสนับสนุนอีกต่อ
ไป
Digital strategy คือการทำา Business strategy ท่ีนำาเทคโนโลยีดิจิทัล
SMACIT เข้ามาประยุกต์ใช้ในองค์กรเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้านการ
ตลาด ผลิตภัณฑ์ และบริการ โดยมีกลยุทธ์ท่ีสำาคัญอยู่สองด้านคือ การ
เข้าถึงลูกค้า (customer engagement) และการทำา Digitized solutions
Digital strategy จะมุ่งเป้าไปท่ีกลยุทธ์ด้านใดด้านหน่ึงในสองด้านน้ี ถ้า
ต้องการจะเน้นถึงการเปล่ียนแปลงช่องทางการตลาดก็จะเป็นการมุ่งเป้าไป
ท่ีการทำากลยุทธ์ Customer engagement โดยยกตัวอย่างของห้าง
สรรพสินค้าอย่าง Nordstrom ท่ีปรับช่องทางตลาดจากห้าง ไปสู่ Online
channel, Multi-channel จนเป็น Seamless experience ท่ีทำาให้ลูกค้า
2 THANACHART
สามารถใช้บริการและสร้างความประทับใจได้หลากหลายช่องทางดังรูปท่ี
2 แต่ถ้ากลยุทธ์เน้นท่ีการเปล่ียนแปลงโมเดลเชิงธุรกิจก็อาจมุ่งเป้าไปท่ีการ
ทำากลยุทธ์ Digitized solutionsโดยยกตัวอย่างของบริษัท Schindler ท่ี
ขายสินค้าอย่างลิฟท์และนำาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเก็บข้อมูลต่างๆของลิฟท์ใน
การบำารุงรักษา เพ่ือท่ีจะเปล่ียนธุรกิจมาสู่ด้านบริการให้สามารถท่ีจะเข้า
บำารุงรักษาได้อย่างรวดเร็วก่อนท่ีผู้ใช้จะเรียกใช้บริการเม่ือประสบปัญหา
ต่างๆดังรูปท่ี 3
รูปท่ี 2 กลยุทธ์ Customer engagement ของ Nordstrom
การพัฒนา DIGITAL STRATEGY เพ่ือการทำา DIGITAL
TRANSFORMATION ขององค์กร
3
รูปท่ี 3 กลยุทธ์ Digitized solutions ของ Schindler
แต่ท้ังน้ีการทำา Digital transformation ได้โดยใช้กลยุทธ์ด้านใดด้าน
หน่ึงในสองด้านน้ัน องค์กรจะต้องมี Opeartional backbone กล่าวคือมี
ระบบ ERP, CRM หรือ HR ท่ีดีและมีประสิทธิภาพ เข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา
และทุกอุปกรณ์ หากขาดส่วนน้ีไปก็จะทำาการเปล่ียนแปลงสู่ดิจิทัลลำาบาก
และเม่ือต้องการทำา Digital transformation แล้วจะต้องเพ่ิม Backbone
รูปแบบใหม่ท่ีเรียกว่า Digital business backbone ดังรูปท่ี 4
รูปท่ี 4 Digital strategy
Operational backbone คือรูปแบบท่ีต้องมีก่อนจะทำา Digital
transformation ซ่ึงจะเป็นการเน้นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทำางาน
ขององค์กร แต่ Digital business backbone จะเน้นในการทำา Digital
business strategy ทำาระบบดิจิทัลให้เกิดความคล่องตัว (Agile) และสร้าง
ความร่วมมือ (collaboration) และเช่ือมต่อกับคู่ค้าหรือหน่วยงานต่างๆท่ี
เก่ียวข้องให้ได้ ท้ังน้ีหัวใจสำาคัญของ Digital business backbone คือการ
ทำาการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data analytics) ท่ีจะต้องมีข้อมูล
ในการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ต้องมี Micro-services ท่ีจะทำาให้คู่ค้า
เข้าถึงระบบและสร้างความร่วมมือได้อย่างรวดเร็วและเกิดความคล่องตัว
สุดท้ายก็ต้องสามารถเช่ือมต่อ (Connectivity) กับคู่ค้าและหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องได้
4 THANACHART
จากท่ีกล่าวมาการทำาความเข้าใจนิยามของ Digital strategy อาจไม่ใช่
เร่ืองยากเกินไป แต่การท่ีจะทำากลยุทธ์ให้เกิดข้ึนได้จึงเป็นความท้าทาย โดย
เฉพาะกับองค์กรจำานวนมากในบ้านเราท่ีแม้แต่ Operational backbone
ยังไม่มีความพร้อมอยู่เลย
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
มกราคม 2561
การพัฒนา DIGITAL STRATEGY เพ่ือการทำา DIGITAL
TRANSFORMATION ขององค์กร
5
CHAPTER 2
ความยากของ Digital
Transformation อยู่ท่ีการทำา
Culture disruption
เม่ือวานน้ีผมเดินไปท่ี Supermarket แห่งหน่ึง เห็นธนาคารหน่ึงพยายาม
เอาเคร่ือง self checkout มาให้คนจ่ายเงินเองผ่านระบบ QR code หรือ
บัตรเครดิต แต่ผู้คนส่วนใหญ่ปฏิเสธท่ีจะใช้แม้จะมีส่วนลดก็ตาม วัน
เดียวกันเพ่ือนไปเดินตลาดก็มาบอกว่าเห็นการใช้ QR payment น้อยมาก
เหมือนท่ีผมบอกว่าแทบไม่เห็นการใช้งานในโรงอาหารศูนย์ราชการ
เรากำาลังนำาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ ด้วยความคิดว่าจะมาทำา
Business disruption แต่ส่ิงท่ียากกว่าคือการทำา Culture disruption
นักเทคโนโลยีจะเก่งแค่ไหนก็ตามแต่ถ้าขาดความเข้าใจวัฒนธรรมและ
สังคม แทบไม่เคยออกต่างจังหวัดไม่เข้าใจสภาพสังคมท่ีแท้จริงก็ยากท่ีจะ
มาทำา Digital Transformation โดยเพียงแค่คิดว่าเทคโนโลยีจะมาสร้าง
ระบบออโตเมช่ันเข้ามาทำางานแทนคน
ประเทศเรามีบัตรประชาชนแบบ smartcard มาสิบกว่าปี แต่ทุกวันน้ีเรา
ยังต้องสำาเนาบัตร ข้อมูลดิจิทัลท่ีจะอยู่ในบัตรมีน้อยมาก การจะขอใช้ก็ยาก
ต้องทำาความร่วมมือกับกรมการปกครอง แม้เทคโนโลยีไม่ใช่ปัญหาแต่ส่ิง
สำาคัญคืออำานาจ เพราะการปล่อยให้ใครก็ตามมาทำาธุรกรรมโดยผ่านบัตร
ได้ง่าย หน่วยงานเดิมจะสูญเสียอำานาจ การมีอำานาจการลงนามในหนังสือ
คือวัฒนธรรมในสังคมไทย
แม้ระบบเอกสารดิจิทัลจะมีมานานแล้ว แต่ทุกวันน้ีเรายังเน้นการใช้
กระดาษการส่งเอกสาร เพราะมันเป็นวัฒนธรรมแบบไทยๆท่ีเราต้องการลง
นามในเอกสาร วัฒนธรรมท่ีเห็นเอกสารมีความสำาคัญต้องจับต้องได้ ดังน้ัน
การลดใช้เอกสาร การให้ใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์จึงเกิดข้ึนยากเพราะเป็น
วัฒนธรรมของการทำางานของผู้ใหญ่ท่ีต้องการมีอำานาจ
เราคุยกันเร่ือง Big Data และ ArtiJcial Intelligence แต่เราแทบจะไม่เห็น
ข้อมูลท่ีเป็น Transactional ท่ีถูกแชร์ออกไป หรือให้หน่วยงานอ่ืนๆใช้ เรา
จะเห็นว่าคนไทยจะบอกว่าข้อมูลเป็นความลับ เพราะวัฒนธรรมของเราคือ
การหวงข้อมูล เราคิดว่าการเก็บข้อมูลไว้กับตัวมากท่ีสุดคือการสร้างความ
สำาคัญกับตัวเองและข้อมูลคืออำานาจ
การทำางานแบบ Collobaration มีมานานแล้ว แต่ทุกวันน้ีเราก็ยังเห็น
หน่วยงานต่างๆน่ังประชุมกัน เน้นการประชุมแบบเห็นหน้า ไม่มีการทำา
conference call การทำาเอกสารก็แบบส่งไปส่งมา ไม่มีการใช้
collaboration tool ใดๆ ยังเรียกคนมาประชุมมาในท่ีต่างๆ และมีการ
เดินทางอย่างไร้ประสิทธิภาพ เพราะการประชุมคือวัฒนธรรมของบ้านเรา
เราคิดว่าการน่ังประชุมร่วมกันและการส่งเอกสารคือการทำางาน
แม้เราจะมี Digital payment หรือ Mobile Banking มากมาย แต่ผู้
จำานวนมากก็ยังยินดีท่ีใช้เงินสดยังอยากไปท่ีสาขา เพราะการถือเงินสด
จำานวนมากคือวัฒนธรรมในการแสดงฐานะและหน้าตาของสังคมไทย การ
ได้ทำาธุรกรรมต่อหน้าต่อตาคือความเช่ือถือในสังคมไทยมากกว่าการทำา
ออนไลน์
เราอยากท่ีจะนำาดิจิทัลเข้าใช้ในองค์กร แต่การจะนำามาใช้ได้น้ันเราจะ
ต้องมีวัฒนาธรรมดิจิทัล (Digital culture) ท่ีต้องเน้นเร่ือง ความโปร่งใส,
การทำางานร่วมกัน, การใช้ข้อมูล, ความคล่องตัว ส่ิงต่างๆเหล่าน้ีอาจขัดกับ
8 THANACHART
วัฒนธรรมของสังคมไทย โดยเฉพาะเร่ืองความโปร่งใสท่ีเรายังไม่อยากให้มี
การเปิดเผยข้อมูลกันมากนัก
น่ียังไม่พูดถึงเร่ือง Digital literacy ท่ีคนบ้านเรายังต้องฝึกอีกมากมาย
ยังไม่กล่าวถึงช่องว่างทางดิจิทัลระหว่างคนในเมืองกับคนชนบท ผมยังมอง
ไม่ออกว่า เราจะก้าวสู่ Digital Economy ได้โดยเร็วได้อย่างไร ยากสุดคือ
การทำา Culture disruption และหน่วยงานท่ีมีปัญหาาในเร่ืองวัฒนธรรม
มากท่ีสุดท่ีเป็นอุปสรรคของการเปล่ียนแปลงก็คือภาคราชการน้ันเอง
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
มกราคม 2561
ดูบทความเพ่ิมเติม
1. องค์กรต้องมี Digital Culture ก่อนเราถึงจะเป็น Thailand 4.0 ได้
สำาเร็จ
2. Digital Skill ท่ีคนไทยควรมีถ้าจะต้องก้าวไปสู่ Thailand 4.0
ความยากของ DIGITAL TRANSFORMATION อยู่ท่ีการทำา CULTURE
DISRUPTION
9
CHAPTER 3
กลยุทธ์ห้าด้านสำาหรับการทำา
Digital Transformation
หลายๆภาคส่วนเร่ิมพูดกันถึงเร่ืองของ Digital Transformation กัน
เยอะมาก บางคร้ังก็เอาเทคโนโลยีเป็นตัวนำาโดยเฉพาะเร่ือง Emerging
Digital Technologies อย่าง Internet of things, AI (ArtiJcial
Intelligence), Big Data, Social Media หรือ Cloud Computing และ
พยายามท่ีจะให้ทีมงานด้านไอที หรือผู้เช่ียวชาญด้านไอทีเป็นคนขับเคล่ือน
เร่ืองน้ี
แต่โดยแท้จริงแล้ว “Digital Transformation ไม่ใช่เร่ืองของ
เทคโนโลยี แต่มันเป็นเร่ืองของกลยุทธ์ ภาวะการเป็นผู้นำา และแนวทางใน
การคิดส่ิงใหม่ๆ” ผมเองได้อ่านหนังสือเร่ือง The Digital Transformation
Playbook: Rethink Your Business for the Digital Age ของ Divid L.
Rogers และได้ดู YouTube ท่ีผู้เขียนบรรยายในหัวข้อ Digital
Transformation: Driving Change in Your Organization เขาได้นำา
เสนอโดเมน 5 ด้านท่ีเป็นหลักสำาคัญของ Digital Transformation คือ
Customers, Competition, Data, Innovation และ Value ท่ีกำาลังเกิด
การเปล่ียนแปลงต่างๆดังน้ี
• ลูกค้า (Customer) กำาลังกลายเป็นเครือข่ายแบบพลวัต (Dynamic
network) มีการส่ือสารแบบสองทาง ซ่ึงมีพลังในการชักจูงและตัดสินใจ
กันเองมากกว่าการตลาดวิธีการเดิมๆ
• การแข่งขัน (Competition) ท่ีคู่แข่งอาจมาจากต่างอุตสาหกรรม และ
เส้นแบ่งระหว่างความเป็นคู่แข่งกับคู่ค้าเร่ิมไม่ชัดเจน จึงต้องสร้างความ
ร่วมมือกับคู่แข่งมากข้ึน
• ข้อมูล (Data) จะถูกสร้างสร้างข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง และกลายเป็น
สินทรัพย์ท่ีสำาคัญขององค์กร จึงจำาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลให้เกิดคุณค่า
• นวัตกรรม (Innovation) เป็นความท้าทายท่ีองค์กรต้องมี และต้อง
เรียนรู้ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ได้อย่างรวดเร็วด้วยต้นทุนต่ำา
• คุณค่า (Value) ท่ีส่งมอบให้ลูกค้าจะถูกกำาหนดด้วยความต้องการของ
ลูกค้ามากกว่ากำาหนดโดยกลไกของอุตสาหกรรมในอดีต จึงจำาเป็นจะ
ต้องพัฒนาสินค้าและบริการอยู่ตลอดเวลา
ซ่ึงในหนังสือผู้เขียนได้พูดถึงกลยุทธ์จะทำา Digital Transformation จาก
5 ด้านน้ีคือ
12 THANACHART
• Customer: ใช้พลังจากเครือข่ายลูกค้า
• Competition: สร้าง Platform ไม่ใช่สร้าง Product
• Data: เปล่ียนข้อมูลเป็นทรัพย์สิน
• Innovation: สร้างนวัตกรรมด้วยการทดลองอย่างรวดเร็ว
• Value: ปรับเปล่ียนคุณค่าท่ีส่งมอบให้ลูกค้า
ผู้สนใจสามารถเข้าไปดู YouTube ตามท่ีผมแนะนำาหรืออาจหาหนังสือมา
อ่านเพ่ิมเติม ซ่ึงในหนังสือก็จะมีเคร่ืองมือต่างๆท่ีช่วยทำาให้เราพัฒนา
กลยุทธ์ใน 5 ด้านน้ีได้ดีข้ึน
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
มกราคม 2561
กลยุทธ์ห้าด้านสำาหรับการทำา DIGITAL TRANSFORMATION 13
CHAPTER 4
Digital Transformation คือการ
พัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง
Product หรือ Service (ตอนท่ี 1)
เรามักจะได้ยินคำาว่า Platform และคำากล่าวท่ีว่าในยุคปัจจุบันธุรกิจจะ
ต้องปรับตัวเองมาสร้าง Platform ไม่ใช่ Product หรือ Service และมัก
ยกตัวอย่างของ Alibaba, Uber, Google, Facebook หรือ AirBnb บาง
ท่านก็เข้าใจความหมายของคำาว่า Platform แต่บางท่านก็อาจเข้าใจไปว่า
การสร้าง Platform คือการนำาสินค้าหรือบริการของเราเข้าสู่ระบบดิจิทัล
ไปทำา Online marketing บ้าง, พัฒนา Digital Product บ้างเช่นการทำา
Online courseware หรือบ้างก็ไปพัฒนา e-Commerce website ด้วย
ความเข้าใจว่าน้ันคือการปรับธุรกิจเข้าสู่ Platform
อะไรคือความหมายของคำาว่า Platform?
ผมได้อ่านหนังสือเร่ือง The Digital Transformation Playbook ของ
David L. Rogers แล้วสรุปความหมายของคำาว่า Business Platform ไว้
อย่างน่าสนใจว่า “A platform is a business that create value by
facilitating direct interaction between two or more distinct type of
customers.” จะเห็นได้ว่าการท่ีธุรกิจจะเป็น Platform น้ันจะมีนัยสำาคัญอยู่
สามอย่างคือ
• Distinct types of customers คือจะต้องมีประเภทของลูกค้ามาก
กว่าหน่ึงประเภทเช่น AirBnb อาจมีเจ้าของห้องพักท่ีเป็นลูกค้าของ
Plaform และก็มีผู้ท่ีต้องการหาท่ีพักซ่ึงก็เป็นลูกค้าของ Platform อีก
ประเภทหน่ึง
• Direct interaction คือจะต้องให้ลูกค้าเหล่าน้ีสามารถติดต่อส่ือสาร
หรือทำาธุรกรรมได้โดยตรง
• Facilitating เจ้าของ Platform จะเป็นผู้ทำาหน้าท่ีอำานวยความสะดวก
ให้กับลูกค้าท่ีมาใช้บริการ Platform โดยไม่ได้เข้าจัดการเร่ืองต่างๆโดย
มากเกินไป
จากความหมายท่ีระบุมาจะเห็นว่า Business Platform ไม่ใช่เร่ืองใหม่
อย่างเช่นเราอาจเห็นห้างสรรพสินค้าอย่าง มาบุญครอง ก็เป็น Platform
ด้านค้าปลีกก่อนยุคดิจิทัลเสียอีก เพราะห้างสรรพสินค้าเหล่าน้ันก็เป็น
Platform ท่ีทำาให้ผู้เช่ามาต้ังร้านขายสินค้าโดยตรงให้กับผู้เข้ามาเดินห้าง
ได้ ตัวอย่างของห้างสรรพสินค้าเราก็อาจจะเห็นลูกค้าของ Platform มี
หลายประเภทอาทิเช่น
• ร้านค้า คือผู้ท่ีจ่ายรายได้โดยตรงให้กับห้างสรรพสินค้า
• คนเดินห้าง คือลูกค้าท่ีไม่ได้จ่ายรายได้ตรงให้กับห้างสรรพสินค้า แต่
เป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำาคัญสุด เพราะถ้ามีลูกค้าเยอะ ร้านค้าก็จะโต
• ผู้โฆษณาหรือส่ือต่างๆ ก็อาจเป็นลูกค้าของห้างสรรพสินค้าอีกประเภท ท่ี
สามารถจ่ายเงินให้กับห้างสรรพสินค้าโดยการติดป้ายโฆษณา
หรือถ้ายกตัวอย่างของ Business Platform ในยุคดิจิทัล เราอาจนึกถึง
Amazon Marketplace ท่ีจะมีลูกค้าคล้ายๆกับห้างสรรพสินค้า คือ ผู้ขาย,
ผู้ซ้ือ และ ผู้โฆษณา โดยทาง Amazon ก็เป็นผู้ช่วยสร้าง Platform และหา
เคร่ืองมือต่างๆให้กับลูกค้าประเภทต่างๆท่ีมาใช้ Platform เช่น ระบบการ
ชำาระเงิน, การแนะนำาสินค้า (Recommendation engine) หรือเคร่ืองมือ
ในการโฆษณาสินค้าให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย
16 THANACHART
ในยุคดิจิทัลเราจะเห็นตัวอย่าง Platform หลายๆประเภทท่ีเพ่ิมมามากข้ึน
เพราะสามารถพัฒนา Business Platformได้ง่ายข้ึน อาทิเช่น
• ค้าปลีก: eBay, Alibaba, Amazon marketplace
• ส่ือ: YouTube, Forbes.com
• การเงิน: PayPal, Kickstarter, Alipay
• Mobile computing: iOs, Android
• ซอฟต์แวร์: Salesforce
• การท่องเท่ียว: Airbnb, Tripadvisor
• บริการรถสาธารณะ: Uber, Grab
• การศึกษา: Coursera, Udemy
ดังน้ันถ้าเราพิจารณาจากคำานิยามของ Business Platform จะเห็นได้ว่า
การทำา e-commerce website ขายของออนไลน์โดยตรงก็ไม่ใช่
Business Platform เพราะเราเป็นเจ้าของ Platform ท่ีมีลูกค้าประเภท
เดียวแล้วเราขายตรงไปยังลูกค้า แม้แต่ธุรกิจอย่าง NetKix ก็อาจไม่ใช่
Business Platform เพราะมีลูกค้าประเภทเดียวคือผู้ชม และ NetKix เป็น
ผู้กำาหนดราคาและติดต่อกับลูกค้าเอง แต่ NetKix หรือ e-commerce
webiste อาจเป็นตังอย่างของ Digital Platform
DIGITAL TRANSFORMATION คือการพัฒนา PLATFORM มิใช่แค่การ
สร้าง PRODUCT หรือ SERVICE (ตอนท่ี 1)
17
ประเภทของ Business Platform
เราอาจแบ่ง Platform ได้เป็น 4 ประเภทดังน้ี
• Exchange Platform
◦ Pre-digital: Real estate brokers, shopping mall
◦ Digital: Product marketplaces (eBay, Alibaba), Service
marketplaces (Airbnb, Uber)
• Transaction system
◦ Pre-digital: Credit card, Debit card
◦ Digital: Digital payment systems (PayPal), Digital currencies
(Bitcoin)
• Ad-support media
◦ Pre-digital: Newspaper, TV
◦ Digital: Website with ads, social media with ads
• Hardware/Software standard
◦ Pre-digital: Color TVs (RCA vs CBS), Motor fuels
◦ Digital: Videogame consoles (Xbox, Playstation), Mobile OS
(iOS, Android)
ทำาไม Business Platform ในยุคดิจิทัลถึงมีความน่าสนใจ?
Business Platform จะมีความสำาคัญและมีประโยชน์มากๆถ้ามีผู้ใช้เป็น
จำานวนมาก (Network eLect) เช่นถ้าห้างมีคนเข้ามาเดินจำานวนมากก็จะ
ให้รายได้ของร้านค้าในห้างโตตาม หรือถ้าบัตรเครดิตมีร้านค้าท่ีรับบัตร
จำานวนมากก็จะมีผู้ถือบัตรมากข้ึน มีธนาคารเข้ามาร่วมเป็นพันธมิตรมาก
ข้ึน
ในยุคก่อนดิจิทัล Platform จะถูกจำากัดการเจริญเติบโตด้วยปัจจัยหลาย
อย่างอาทิเช่น ขนาดของพ้ืนท่ี การเข้าถึงของลูกค้าท่ีอาจจะต้องเดินทางมา
ท่ีห้าง การโฆษณาท่ีจำากัดเพียงบางช่องทาง แต่ Business Platform ใน
18 THANACHART
ยุคดิจิทัลจะสามารถสร้าง Network ELect ได้ดีกว่าท้ังน้ีจากหลายๆปัจจัย
อาทิเช่น
• ลูกค้าสามารถเข้ามาใช้ Platform ได้โดยง่ายผ่าน Web APIs หรือ
เคร่ืองมือ SDK ในการเช่ือมต่อกับ Platform เช่น Amazon
Marketplace ได้สร้าง APIs ให้ร้านค้าสามารถนำาสินค้ามาขายได้โดย
ง่าย
• ระบบสามารถขยายได้อย่างมหาศาลรองรับผู้ใช้จำานวนมาก โดยใช้
โครงสร้างพ้ืนฐานบน Cloud Computing
• ลูกค้าสามารถเข้าถึง Platform ได้ผ่านอุปกรณ์ท่ีหลากหลาย จากทุกท่ี
ทุกเวลา เช่นการใช้บริการผ่านมือถือ
• โลกดิจิทัลได้สร้างระบบตรวจสอบตัวตน ผ่านระบบ VeriJcation ต่างๆ
หลายวิธีท้ังในอีเมล หรือ Social media
จากท่ีกล่าวมาท้ังหมดน้ี จะเห็นได้ว่า Business Platform มีความน่าสนใจ
และเจ้าของ Platform สามารถสร้างรายได้จำานวนมากได้ ถ้า Platform
น้ันมีผู้ใช้จำานวนมาก มีเคร่ืองมือในการอำานวยสะดวกให้กับลูกค้า มี
มาตรฐานท่ีลูกค้าทุกคนเข้าถึงได้ ซ่ึงเทคโนโลยีดิจิทัลทำาให้เกิดส่ิงต่างๆ
เหล่าน้ัน เจ้าของ Platform จึงทำาหน้าท่ีเป็นคนกลางไม่ต้องลงทุนสินทรัพย์
จำานวนมาก และสามารถโตได้อย่างรวดเร็ว
ขอจบตอนท่ีหน่ึงไว้เท่าน้ี คร้ังหน้าจะมาเขียนเร่ือง การทำา The Platform
Business Model Map ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือเพ่ือวิเคราะห์ Platform ต่างๆ
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
มีนาคม 2561
DIGITAL TRANSFORMATION คือการพัฒนา PLATFORM มิใช่แค่การ
สร้าง PRODUCT หรือ SERVICE (ตอนท่ี 1)
19
CHAPTER 5
Digital Transformation คือการ
พัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง
Product หรือ Service (ตอนท่ี 2)
คราวก่อนผมเขียนบทความเร่ือง “Digital Transformation คือการ
พัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 1)” แล้ว
ช้ีให้เห็นว่าอะไรคือ Business Platform และทำาไมแพลตฟอร์มในโลกยุค
ดิจิทัลถึงมีสำาคัญ ซ่ึงผมก็ได้ยกตัวอย่างของแพลตฟอร์มต่างๆ ซ่ึงเราอาจ
เห็นกันแล้วว่าการสร้าง E-commerce ก็อาจไม่ใช่ Business Platform
แต่อาจเป็นเพียงช่องทางการขายผ่านดิจิทัลอีกช่องทางหน่ึงเท่าน้ัน
Business Platform นอกจากจะมาเปล่ียนแปลงธุรกิจแบบเดิมๆแล้ว
บางคร้ังแพลตฟอร์มต่างๆก็แข่งกันเอง การแข่งขันของแพลตฟอร์มแล้ว
ประสบความสำาเร็จจะอยู่ท่ีหลายๆประเด็นดังน้ี
• คุณค่าท่ีได้จากเครือข่าย (Network-added value): คือการท่ีมีผู้ร่วมใช้
แพลตฟอร์ม (ลูกค้า) มากกว่ากัน (Network eLects), มีคุณภาพของ
สินค้าหรือบริการท่ีดีจากลูกค้า หรือ มีข้อมูลท่ีแชร์จากลูกค้ามากกว่า
• คุณค่าท่ีได้จากแพลตฟอร์ม (Platform-added value): คือการท่ี
แพลตฟอร์มมี Feature ท่ีโดดเด่นและมีประโยชน์มากกว่า หรืออาจมี
เน้ือหาท่ีให้ฟรี
• มาตรฐานเปิด (Open standard): คือการท่ีแพลตฟอร์มมีระบบ API ท่ี
เปิด มีชุดพัฒนาซอฟต์แวร์ (SDK) ท่ีให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ง่าย
• เคร่ืองมือโต้ตอบ (Interactive tools) : แพลตฟอร์มมีเคร่ืองมือในการ
หากลุ่มลูกค้า การจับคู่ หรือการทำาให้เกิดธุรกรรม เช่น Facebook มือ
เคร่ืองมือแนะนำาเพ่ือน หรือมีเคร่ืองมือให้ผู้โฆษณาสินค้าได้ลูกค้าตรง
กลุ่มเป้าหมาย
• ระบบสร้างความเช่ือม่ัน (Trust enablers): แพลตฟอร์มอาจมีระบบ
ระบุตัวตน มีระบบการสร้างความน่าเช่ือถือ (Reputation system) หรือ
ระบบป้องกันการเงิน (Financial Safeguards) เช่นการคืนเงินเม่ือไม่ได้
รับสินค้า
แม้โลกดิจิทัลจะทำาให้เราสร้าง Business Platform ได้ง่าย แต่
แพลตฟอร์มจำานวนมากก็อาจไม่ประสบความสำาเร็จ โดยทาง Harvard
Business Review ได้ให้เหตุผล 6 ประการในบทความเร่ือง “6 Reasons
Platforms Fail” ซ่ึงอาจสรุปได้ส้ันๆดังน้ี
• แพลตฟอร์มมีการเปิดกว้าง (openness) ไม่ดีพอ : แพลตฟอร์มอาจไม่
ได้เปิดกว้างให้ลูกค้าเช่นผู้ซ้ือ ผู้ขาย ผู้ใช้ แพลตฟอร์มสามารถเข้ามาได้
อย่างเต็มท่ีทำาให้ไม่สามารถสร้าง Network eLect ได้ แต่บางคร้ังการ
เปิดแพลตฟอร์มมากไปก็อาจทำาให้เราไม่สามารถควบคุมลูกค้าท่ีเข้ามา
ใช้แพลตฟอร์มได้ ก็อาจทำาให้ได้คุณภาพของสินค้าหรือบริการท่ีไม่ดีจาก
ลูกค้า เช่นการสร้างเน้ือหาไม่เหมาะสมหรือมีลูกค้าท่ีมาขายของไม่มี
คุณภาพได้ง่ายโดยไม่มีการกล่ันกรองสินค้าหรือบริการท่ีดี
• ไม่สามารถชักจูงนักพัฒนาโปรแกรมเข้ามาสู่แพลตฟอร์มได้:
แพลตฟอร์มจะเกิด Network eLect ได้ต้องมีนักพัฒนาซอฟต์แวร์มา
ช่วยกันขยายแพลตฟอร์มผ่าน APIs โดยใช้เคร่ืองมือพัฒนาแพลตฟอร์ม
(SDK) แพลตฟอร์มท่ีประสบความสำาเร็จอย่าง Facebook, Amazon,
eBay ต่างก็มี APIs และคู่มือท่ีให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์พัฒนาโปรแกรม
เช่ือมต่อและเข้าถึงแพลตฟอร์มได้โดยง่าย
• ไม่สามารถแบ่งปันกำาไรหรือคุณค่าท่ีได้จากแพลตฟอร์มได้ดีพอ: ลูกค้า
ของแพลตฟอร์มเช่นผู้ซ้ือ ผู้ขาย หรือผู้ใช้ ต้องเห็นคุณค่าหรือกำาไรท่ีจะได้
จากแพลตฟอร์มท่ีเหมาะสม หากผู้บริหารแพลตฟอร์มไม่ได้แบ่งปันให้ดี
22 THANACHART
พอลูกค้าก็จะไม่เห็นคุณค่าของแพลตฟอร์มและไปเลือกแพลตฟอร์มท่ีให้
ประโยชน์ดีกว่า
• โปรโมทหรือขยายลูกค้าของแพลตฟอร์มผิดข้าง: อย่างท่ีกล่าวไว้ว่า
Business Platform จะมีลูกค้ามากกว่าหน่ึงประเภทเข้ามาใช้
แพลตฟอร์ม ดังน้ันผู้บริหารแพลตฟอร์มจำาเป็นต้องเข้าใจและเลือกขยาย
ลูกค้าของแพลตฟอร์มให้ถูกกลุ่มและถูกเวลา อาทิเช่นแพลตฟอร์มรถ
บริการสาธารณะมีแต่ผู้โดยสารมากไปไม่มีรถให้บริการก็ไม่สามารถจะ
เกิด Network eLect ท่ีดีได้ ช่วงแรกๆอาจเป็นการโปรโมทให้มีผู้ขับรถ
จำานวนมากหลังจากน้ันค่อยเน้นกลุ่มผู้โดยสาร
• ไม่สามารถจะเน้นส่ิงท่ีมีความสำาคัญย่ิงยวดได้อย่างถูกต้อง: การท่ีลูกค้า
จะเข้ามาใช้แพลตฟอร์มอาจมีส่ิงท่ีมีความสำาคัญย่ิงยวดท่ีแตกต่างกัน
แพลตฟอร์มในการชำาระเงินส่ิงท่ีเป็นความสำาคัญย่ิงยวดอาจเป็น การ
ป้องกันการฉ้อโกง หรือการใช้งานง่าย ข้ึนอยู่กับบริบทของลูกค้าท่ีผู้
บริหารแพลตฟอร์มต้องเน้นให้ถูกต้อง
• ไม่สามารถสร้างจินตนาการได้ดีพอ: การทำา Business Platform
ใหม่ๆอาจต้องฉีกแนวคิดในการทำาธุรกิจหรืออุตสาหกรรมแบบเดิมๆ
ดังน้ันจึงต้องมีแนวคิดท่ีดีและเหมาะสมในการสร้างแพลตฟอร์มใหม่ๆ
อย่าง eBay, AirBnB, Uber หรือ Facebook
DIGITAL TRANSFORMATION คือการพัฒนา PLATFORM มิใช่แค่การ
สร้าง PRODUCT หรือ SERVICE (ตอนท่ี 2)
23
ตอนแรกผมต้ังใจจะเขียนเร่ืองการทำา The Platform Business Model
Map ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือเพ่ือวิเคราะห์ Platform ต่างๆ ในตอนน้ี แต่เน่ืองจาก
บทความน้ีน่าจะจบลงท่ีเร่ืองของปัจจัยท่ีสร้างความสำาเร็จและความ
ล้มเหลวของแพลตฟอร์ม จึงขอต่อในตอนท่ี 3 แต่ขอแสดงตัวอย่างรูปของ
Model Map มาให้ดูก่อน และผู้สนใจอาจเข้าไปดู Slide การบรรยายของ
ผมเร่ืองน้ีได้ท่ี https://tinyurl.com/platformmap
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
เมษายน 2561
24 THANACHART
CHAPTER 6
Platform Business Model Map
เคร่ืองมือสำาหรับการวิเคราะห์
Business Platform
ผมเขียนเร่ืองของ Business Platform มาสองตอน (Digital
Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product
หรือ Service) คราวน้ีเลยอยากนำา Platform Business Model Map ซ่ึง
เป็นเคร่ืองมือหน่ึงในการวิเคราะห์ Business Platform ท่ีทาง David L.
Roger นำาเสนอไว่ในหนังสือ The digital transformation playbook มา
อธิบายให้เข้าใจ
Model map น้ีจะประกอบไปด้วยสัญลักษณ์ต่างๆดังน้ี
• วงกลม คือ Business Platform
• รูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน คือ ลูกค้าท่ีนำารายได้มาให้กับ Platform
(เรียกว่า payer) ท้ังน้ีลูกค้าประเภทท่ีเป็นผู้สร้างรายได้หลัก (เรียก
ว่า primary payer) จะกำาหนดไว้ทางขวามือของ Platform
• รูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า คือ ลูกค้าท่ีอาจไม่ได้นำารายได้มาให้กับ Platform แต่
เป็นกลุ่มท่ีช่วยดึงดูดให้ลูกค้ากลุ่มอ่ืนเข้ามาใช้ Platform (เรียก
ว่า sweetener)
• จำานวน Spike คือ จำานวนประเภทลูกค้าท่ีลูกค้ากลุ่มน้ีอาจโต้ตอบด้วย
(ตัวอย่างในรูปลูกค้าประเภท Users มี 4 Spike เพราะต้องเก่ียวข้องกับ
Advertiser, Publisher, App developer และ ตัว User ด้วยกันเอง)
• เส้นขอบสองเส้น คือ ลูกค้าท่ีมีความสำาคัญท่ีสุดใน Platform (เรียกว่า
Linchpin) ท่ีจะสร้างให้เกิด Network eLect โดยพิจารณาจากประเภท
ลูกค้าท่ีมีจำานวน Spike มากสุด
• ลูกศรในแต่ละทิศทาง จะระบุถึงคุณค่าท่ีลูกค้าได้รับหรือให้กับ Platform
26 THANACHART
◦ ข้อความท่ีเป็นตัวเข้มคือคุณค่าท่ีเป็นเงิน
◦ ข้อความท่ีอยู่ในวงเล็บหมายความว่าเป็นคุณค่ามีได้รับหรือให้กับ
Platform โดยตรง
◦ ข้อความท่ีไม่ได้อยู่ในวงเล็บหมายความว่าคุณค่าน้ีได้รับหรือให้กับ
ลูกค้าประเภทอ่ืน โดยใช้ Platform เป็นตัวผ่าน
การจะสร้าง Platform Business Model Map น้ีได้ ควรเร่ิมต้นจากการ
สร้างตารางดังรูปข้างล่างน้ี
โดยเราควรตอบคำาตอบต่างๆเหล่าน้ี
1. ลูกค้าของ Platform มีประเภทใดบ้าง
2. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้รับประโยชน์หรือคุณค่าจากลูกค้าประเภท
อ่ืนอย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน)
3. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้รับประโยชน์หรือคุณค่าจาก Platform โดย
ตรงอย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน)
4. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้ให้ประโยชน์หรือคุณค่าจากลูกค้าประเภทอ่ืน
อย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน)
5. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้ให้ประโยชน์หรือคุณค่าจาก Platform โดย
ตรงอย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน)
6. ลูกค้าในแต่ละประเภทเก่ียวพันและติดต่อกับประเภทอ่ืนรายใดบ้าง
7. ระบุ ProJle ของลูกค้าในแต่ละประเภทในส่ีชนิดน้ี linchpin,
payer, primary payer หรือ sweetener
ดังตัวอย่างของ Facebook ท่ีได้คำาตอบดังแสดงในรูปข้างล่างน้ี
PLATFORM BUSINESS MODEL MAP เคร่ืองมือสำาหรับการวิเคราะห์
BUSINESS PLATFORM
27
เม่ือได้ข้อสรุปจากตารางแล้ว เราก็สามารถนำาส่ิงท่ีได้จากตารางมาวาดใส่
Model Map ต่อไป
การสร้าง Business model map จะช่วยทำาให้เราวิเคราะห์ Business
platform ได้ดีข้ึน แล้วช่วยตอบคำาถามในเชิงกลยุทธฺหลายๆด้านได้อาทิ
เช่น
• ลูกค้าประเภทใดท่ีเราควรดึงเข้าร่วมใน Platform เพ่ือทำาให้เกิด
Network eLect?
• เราสามารถจะสร้างรายได้ให้กับ Platform อย่างไร?
• ลูกค้าประเภทใดมีความสำาคัญต่อ Platform มากท่ีสุด (primary
payer และ linchpin)?
• รูปแบบธุรกิจของ Business platform น้ีมีความเหมาะสมหรือไม่ ลูกค้า
ทุกประเภทได้รับประโยชน์หรือคณค่าจาก Platform ด้วยความ
เหมาะสมหรือไม่?
จากท่ีกล่างท้ังหมด ก็หวังว่าเคร่ืองมือจะทำาให้เราวิเคราะห์ Business
Platform ต่างๆได้ดีข้ึน หลังจากท่ีได้อ่านบทความสองตอนก่อนหน้าน้ีของ
ผม
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
เมษายน 2561
28 THANACHART
CHAPTER 7
ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยัง
ไม่สามารถทำา Digital
Transformation ได้ (ตอนท่ี 1)
ผู้บริหารธุรกิจหลายๆคนอาจสับสนกับการเร่ืองของการทำา Digitization
คือการเปล่ียนข้อมูลต่างๆของธุรกิจจากอนาล็อกให้เป็นดิจิทัล กับ
ความหมายของคำาว่า Digital Transformation
• ผู้บริหารมอบหมายให้ฝ่ายไอทีไปทำาระบบ CRM หรือ ERP
• ผู้บริหารมอบหมายให้ฝ่ายการตลาดไปทำา Digital Marketing
• ผู้บริหารมอบหมายให้ฝ่ายขายไปทำา e-Commerce
แต่สุดท้ายธุรกิจก็ยังไม่ดีข้ึน บ้างก็ยังเห็นยอดขายลดลงอย่างต่อเน่ือง บ้าง
ก็ยังต้องปิดกิจการแล้วไปต่อไม่ได้ ผมเคยต้ังคำาถามกับผู้บริหารหลายๆคน
ว่า ส่ือส่ิงพิมพ์ต่างๆทำา Digitzation ไหม เขามีระบบไอทีท่ีดีไหม เขาทำาเว็บ
ไซต์ไหม เขาขายออนไลน์ไหม หรือถามว่าธุรกิจค้าปลีกหลายใหญ่หลายๆ
รายมีระบบ CRM, ERP ไหม มีระบบ online E-commerce ซ่ึงทุกท่าน
ก็จะตอบว่ามี แล้วทำาไมยังอยู่รอดไม่ได้ คำาตอบส่วนหน่ึงก็คือว่าการทำา
Digitization ไม่ใช่เป็นการทำา Digital Transformation ปัญหาของ
ธุรกิจหลายๆแห่งท่ีประสบอยู่ในปัจจุบันอาจเกิดจากการท่ี Business
Model ของเราต้องเปล่ียน อุตสาหกรรมอาจเปล่ียน คู่แข่งอาจเปล่ียนไป
และลูกค้าอาจเปล่ียนไป ดังน้ันการทำาไอทีในองค์กรหรือการทำา
Digitzation อาจไม่ได้ช่วยทำาให้ธุรกิจอยู่รอดได้ แต่ส่ิงท่ีควรทำากลับเป็น
• ทบทวนรูปแบบ Business Model ของธุรกิจเรา
• ทบทวน Value chain ของธุรกิจเรา
• การกำาหนดกลยุทธ์เช่ือมโยงกับลูกค้าแบบใหม่ในโลกดิจิทัล
• การสร้างทักษะของบุคลากรและปรับองค์กรใหม่
การทบทวนรูปแบบ Business Model
บางคร้ังเราอาจจะต้องมาปรับแนวคิดของธุรกิจเรา คำาถามว่าธุรกิจใน
ปัจจุบันเราอยู่ในสถานะใดจำาเป็นต้องเปล่ียนรูปแบบหรือไม่ เราจะเห็นได้ว่า
บางคร้ังธุรกิจท่ีประสบความสำาเร็จ อาจจะเร่ิมต้นจากจุดหน่ึงแลัวก็ต้องปรับ
เปล่ียนไปเร่ือยๆ ซ่ึงการปรับธุรกิจเปล่ียนต้องคำานึงถึงลูกค้ารอบตัวเราแต่
ไม่ใช่คำานึงถึงสินค้าหรือคู่แข่งของเรา (De7ne your business
around your customers, not your products or
competotitos) ตัวอย่างของ Amazon ท่ีเร่ิมจากการขายหนังสือ
ออนไลน์ และเปล่ียนตัวเองเป็นร้านค้าปลีกออนไลน์ หลังจากน้ันก็ปรับ
ตัวเองเป็น Platform ท่ีจะให้ผู้ค้ารายอ่ืนๆเอาสินค้ามาขายให้ลูกค้าผ่าน
Amazon.com ได้ จากน้ันก็ปรับไปทำาขายเพลง ภาพยนตร์ หรือขาย
Hardware อย่าง Fire TV หรือทำา Amazon Echo แข่งกับ Google รวม
ไปถึงการเป็นผู้ให้บริการ Cloud แข่งกับบริษัทไอทีเดิมอย่าง IBM,
Microsoft จะเห็นได้ว่า Amazon เป็นตัวอย่างท่ีปรับตัวเองตลอด
30 THANACHART
รูปที 1 รูปแบบการแข่งขันแบบใหม่ [จากหนังสือ Driving digital strategy:
a guide to reimagining your business]
แนวทางการแข่งขันในรูปแบบใหม่ อาจพิจารณาได้จากรูปท่ี 1 ท่ีช้ีให้เห็น
โมเดลการทำาธุรกิจหลากหลายรูปแบบ
• แนวคิดแบบเดิมคือการทำาให้ Product ท่ีนำาเสนอลูกค้ามีราคาถูกลง
หรือคุณภาพดีข้ึนเพ่ือแข่งขันได้
• แนวคิดถัดมาเราอาจปรับกลยุทธ์เป็น Razor-Blade เหมือนท่ีบริษัทขาย
เคร่ืองพิมพ์ราคาแต่เน้นขายหมึกพิมพ์จำานวนมากข้ึน หรือเหมือน
Kindle ท่ีเน้นขาย eBooks
• รูปแบบการทำาธุรกิจใหม่อาจเป็นการสร้าง Business Platform แล้ว
หวังให้มีลูกค้าจำานวนมากข้ึนเพ่ือสร้าง Network eLect เพราะการได้
ฐานลูกค้าจำานวนมาก่อนน่าจะเป็นผู้ชนะ (ดูบทความเร่ือง Digital
Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product
หรือ Service)
• สุดท้ายเราอาจผสมผสานท้ังการสร้าง Platform และ การมี Product/
Services ท่ีหลากหลายอย่าง Amazon และ WeChat
ทำาไมธุรกิจทำา DIGITIZATION แล้วยังไม่สามารถทำา DIGITAL
TRANSFORMATION ได้ (ตอนท่ี 1)
31
การทบทวน Value chain
เทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ๆอย่าง Social Media, Smartphone หรือ IoT
ทำาให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้าน Value chain ของธุรกิจบางอย่าง ซ่ึงบาง
คร้ังเราอาจต้องทบทวน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมเพลง ท่ีเดิมอาจมีนักแต่ง
เพลง เซ็นสัญญากับค่ายเพลงแล้วจัดจำาหน่ายในรูปแบบของ CD หรือ DVD
กับผู้บริโภค ผ่านช่องทางของร้านค้าปลีก CD/DVD ท่ัวๆไป แต่เม่ือธุรกิจ
ดิจิทัลเข้ามาก็จะเห็นกลุ่มท่ีเป็น Intermediation เข้ามาแทรกใหม่เช่น
iTune หรือแม้แต่ YouTube ทำาให้ธุรกิจค้าปลีกแบบเดิมเร่ิมถดถอย เพราะ
ลูกค้าสามารถซ้ือผ่านช่องทางออนไลน์ได้ และบางคร้ังก็จะพบว่า
อุตสาหกรรมเกิด Disintermediation เช่นนักแต่งเพลงอาจจะข้าม Value
chain เดิมๆแทนท่ีจะมาสังกัดค่ายเพลง แต่พวกเขาอาจแต่งเพลงขาย
ออนไลน์ให้กับผู้บริโภคโดยตรง
ดังน้ันจึงจำาเป็นท่ีธุรกิจจะต้องกลับมาทบทวนตัวเองว่า เราอยู่ตรงไหน
ของ Value chain ซ่ึงโดยมากธุรกิจท่ีจะแข่งกับคนอ่ืนๆได้ จะตรงอยู่ในจุด
ของ Value chain ท่ีมีความแตกต่างและคู่แข่งอ่ืนไม่สามารถเข้ามาง่าย
หรือไม่ก็ต้องเป็นจุดต้นทางและปลายทางของ Value chain ซ่ึงหากธุรกิจ
กำาลังอยู่ในช่วงการเปล่ียนแปลงของ Value chain แม้ว่าเราจะทำา
Digitization ในธุรกิจมากแค่ไหนก็ตาม การหลีกเล่ียง Digital
disruption ก็ยังเป็นเร่ืองยาก
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
32 THANACHART
CHAPTER 8
ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยัง
ไม่สามารถทำา Digital
Transformation ได้ (ตอนท่ี 2)
ในตอนท่ีแล้วผมได้เขียนถึงเร่ือง Digital Transformation แล้วระบุว่าส่ิง
ท่ีธุรกิจควรจะทำามีอยู่ส่ีประเด็นคือ
• ทบทวนรูปแบบ Business Model ของธุรกิจเรา
• ทบทวน Value chain ของธุรกิจเรา
• การกำาหนดกลยุทธ์เช่ือมโยงกับลูกค้าแบบใหม่ในโลกดิจิทัล
• การสร้างทักษะของบุคลากรและปรับองค์กรใหม่
รูปท่ี 1 Framework for reinventing business [จากหนังสือ Driving
digital strategy: a guide to reimagine your business,, Sunal Gupta]
และได้กล่าวถึงสองประเด็นแรกไปแล้ว (ดูบทความ ทำาไมธุรกิจทำา
Digitization แล้วยังไม่สามารถทำา Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี
1)) วันน้ีขอมาต่อในอีกสองประเด็นท่ีเหลือ
การกำาหนดกลยุทธ์เช่ือมโยงกับลูกค้าแบบใหม่ในโลกดิจิทัล
การเข้ามาของเทคโนโลยีดิจิทัลเช่น Social media หรือ Mobile Phone
ทำาให้พฤติกรรมของลูกค้าเปล่ียนไป ลูกค้ามีเครือข่ายมากข้ึนในการเช่ือม
โยงถึงกัน มีการรับข้อมูลข่าวสารท่ีสะดวกรวดเร็วข้ึน Marketing Funnel
ของลูกค้าก็เปล่ียนไป โดยลูกค้ามีช่องทางการ”รับรู้” (awareness) ท่ี
หลากหลายจากเดิมไม่เพียงแต่มาจากการโฆษณาแต่ยังอาจผ่านจากการ
Search การอ่านบล็อก ซ่ึงเม่ือลูกค้ารับรู้ก็จะเข้าสู่ข้ันตอนเพ่ือ “พิจารณา”
(consideration) ซ่ึงก็อาจจะมาจากข้อมูลจากหลายๆแหล่งท้ังการค้น
ข้อมูลออนไลน์ การอ่าน User Review หรือการได้รับอีเมลจากผู้ขาย ซ่ึง
34 THANACHART
พอลูกค้ามีความ “ปรารถนา” (perference) ก็อาจเร่ิมท่ีจะมาการ
เปรียบเทียบสินค้า มีการทดสอบสินค้า มีการใช้ Social network มาพูด
คุยกับลูกค้าอ่ืน แล้วจึงถึงข้ันตอนท่ีลูกค้า “กระทำา” (Action) กล่าวคือซ้ือ
สินค้าอาจจากในร้าน หรือผ่านออนไลน์ และเม่ือลูกค้าซ้ือแล้วเราจะมี
ข้ันตอนอย่างไรให้ลูกค้า “จงรักภักดี” (loyalty) ต่อสินค้าของเรา มีช่อง
ทางอย่างไรให้ลูกค้าติดต่อเราได้สะดวก ติดตามข่าวสารของเราผ่าน
Facebook, Instagram หรือ อีเมล และทำาอย่างไรให้สามารถขายสินค้า
อย่างอ่ืนได้เพ่ิม สุดท้ายเป็นข้ันตอนท่ีทำาให้ลูกค้า “บอกต่อ” (advocacy)
มีความประทับใจในสินค้าของเรา และทำาการ Review สินค้าของเราในแง่ดี
ทาง Social media หรือช่องทางอ่ืนๆ
รูปท่ี 2 Marketing Funnel [จากหนังสือ The Digital Transformation
Playbook: Rethink Your Business for the Digital Age, David L.
Rogers ]
ด้วยพฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปของลูกค้า เราจึงจำาเป็นท่ีจะปรับกลยุทธ์ในการ
เช่ือมโยงกับลูกค้าในด้านต่างๆดังน้ี
• Access จะต้องเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ทุกท่ี ทุกเวลา ทุกอุปกรณ์
เช่นการใช้ช่องทางท่ีหลากหลายท้ัง Smartphone, Social Media
ทำาไมธุรกิจทำา DIGITIZATION แล้วยังไม่สามารถทำา DIGITAL
TRANSFORMATION ได้ (ตอนท่ี 2)
35
• Engage ต้องทำาให้เราเป็นแหล่งเน้ือหา (content) ท่ีเก่ียวข้องกับสินค้า
และบริการเราท่ีมีประโยชน์กับลูกค้า
• Customize ต้องทำาให้ส่ิงท่ีเรานำาเสนอต่อลูกค้าแต่ละรายสามารถปรับ
เปล่ียนได้ตามความเหมาะสม
• Connect ต้องสร้างกลยุทธ์ให้ลูกค้าได้เช่ือมโยงกับลูกค้ารายอ่ืนๆ หรือ
กับเราเองได้
• Collaboration ต้องทำาให้ลูกค้าสามารถร่วมมือเป็นส่วนหน่ึงใน
โครงการหรือองค์กรของเรา
การสร้างทักษะของบุคลากรและปรับองค์กรใหม่
ความยากท่ีสุดเร่ืองหน่ึงขององค์กรในการทำา Digital
Transformation คือตัวบุคลากรหรือแม้แต่ทัศนะของผู้บริหารเอง ท่ีบาง
คร้ังอาจบอกว่ายังขาด Digital Mindset ทำาอย่างไรท่ีเราจะพัฒนา
บุคลากรให้เข้าใจการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเกิดจากผลกระทบของ
เทคโนโลยีดิจิทัล ทำาให้เข้าถึงรูปแบบธุรกิจท่ีจะเปล่ียน ทำาให้องค์กรมี
วัฒนธรรมดิจิทัล (Digital culture) มีการทำาทำางานแบบ Collaboration
เป็นองค์กรท่ีใช้ข้อมูลในการทำางาน
เราจะพบว่าในปัจจุบันบริษัทท่ีกำาลังข้ึนมาสู่ระดับต้นๆของโลกอย่าง
Google, Uber, Facebook, Amazon, NetFlix จะมีองค์ประกอบหลายๆ
อย่างท่ีคล้ายกันอาทิเช่น
• จะเป็นบริษัทท่ีมีข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data)
• จะเป็นบริษัทท่ีมีความเข้าใจพฤติกรรมลูกค้าเป็นอย่างดี มีวัฒนธรรมของ
การใช้ข้อมูลในการทำาความเข้าใจกับลูกค้า
• จะเป็นบริษัทท่ีมีจำานวนพนักงานไม่มากนักเม่ือเทียบกับรายได้ของบริษัท
• จะเป็นบริษัทท่ีมีความคล่องตัวและอาจปรับเปล่ียน Business model
ของตัวเองอยู่บ่อยๆ
• จะเป็นบริษัทท่ีทำานวัตกรรมใหม่ในการนำาเสนอสินค้าและบริการด้วย
ความว่องไว หากพบว่าล้มเหลวก็จะทำาอย่างอ่ืนต่อ
• จะเป็นบริษัทท่ีดึงดูดคนเก่งๆเข้ามาทำางานได้
36 THANACHART
ดังน้ันหากธุรกิจเราต้องการจะทำา Digital Transformation บางคร้ังการ
ปรับองค์กรให้มีคล่องตัว และการปรับแนวคิดของบุคลากรและผู้บริหารก็
จะมีความจำาเป็นอย่างย่ิง
ธนชาติ นุ่มนนท์
IMC Institute
ทำาไมธุรกิจทำา DIGITIZATION แล้วยังไม่สามารถทำา DIGITAL
TRANSFORMATION ได้ (ตอนท่ี 2)
37
TRAINING | IT TRENDS 35
COURSE SCHEDULE 2018
DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL
BIG DATA CERTIFICATION COURSE
INSTRUCTOR:
ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA
ASST. PROF. DR. PUTCHONG UTHAYOPAS
MR. DANAIRAT THANABODITHAMMACHARI
MR. TEERACHAI LAOTHONG
MR. AEKANUN THONGTAE
MR. KOMES CHANDAVIMOL
BIG DATA IN ACTION FOR SENIOR MANAGEMENT
INSTRUCTOR:
ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM"
BIG DATA ARCHITECTURE AND ANALYTICS PLATFORM
INSTRUCTOR:
MR. AEKANUN THONGTAE AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA"
BIG DATA ANALYTICS AS A SERVICE FOR DEVELOPER
INSTRUCTOR:
MR. AEKANUN THONGTAE AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA"
BIG DATA MODELING WITH NOSQL
INSTRUCTOR:
MR. AEKANUN THONGTAE AND MR. TEERACHAI LAOTHONG"
INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP
INSTRUCTOR:
MR. AEKANUN THONGTAE
MACHINE LEARNING FOR DATA SCIENCE
INSTRUCTOR:
MR. AEKANUN THONGTAE
DATA VISUALISATION WORKSHOP
INSTRUCTOR:
MR. KOMES CHANDAVIMOL
BUSINESS INTELLIGENCE DESIGN AND PROCESS
IMC INSTITUTE INSTRUCTOR
DIGITAL TRANSFORMATION STRATEGY
INSTRUCTOR:
ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND MR. PRINYA HOM-ANEK
FINTECH FOR SENIOR MANAGEMENT
INSTRUCTOR:
ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM
BLOCKCHAIN FOR MANAGEMENT AND EXECUTIVES
INSTRUCTOR:
MR. TITITORN SEMANGERN
BLOCKCHAIN TECHNOLOGY FOR DEVELOPER
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG
PRACTICAL CLOUD COMPUTING FOR SENIOR MANAGEMENT
INSTRUCTOR:
ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM
PRACTICAL AZURE WORKSHOP
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG
ARCHITECTING WITH GOOGLE CLOUD PLATFORM
INSTRUCTOR:
ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM
AZURE IOT, MACHINE LEARNING AND ADVANCED ANALYTICS
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG
BUSINESS TRIP TO CHINA INFORMATION TECHNOLOGY EXPO (CITE)
BUSINESS TRIP CLOUD EXPO ASIA 2018
BUSINESS TRIP TO CHINA HI-TECH FAIR
59,000 BAHT
BRING YOUR OWN COMPUTER
10,900
(EARLY BIRD 9,900)
8,900
(8,500 WITH YOUR NOTEBOOK)
10,900
(8,500 WITH YOUR NOTEBOOK)
12,900
(10,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
10,900
(8,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
12,900
(10,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
9,900 (EARLY BIRD 9,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
15,900
(12,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
56,000
(COURSE ONLY 36,900 BAHT)
(BUSINESS TRIP ONLY 25,000 BAHT)
CLOUD EXPO ASIA 2018
10,900
(EARLY BIRD 9,900)
8,900 (EARLY BIRD 8,500)
PLEASE BRING YOUR NOTEBOOK
8,900 (EARLY BIRD 8,500)
PLEASE BRING YOUR NOTEBOOK
`
59,000 EARLY BIRD 55,000
(COURSE ONLY 11,900 BAHT)
(BUSINESS TRIP ONLY 45,000 BAHT)
CLOUD EXPO ASIA 2017
10,900
(8,500 WITH YOUR NOTEBOOK)
10,900
(8,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
10,900
(8,500 WITH YOUR NOTEBOOK)
25,000 BAHT
45,000 BAHT
25,000 BAHT
INTERMEDIATE
BASIC
INTERMEDIATE
BASIC
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
ADVANCE
INTERMEDIATE
ADVANCE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
ADVANCE
ADVANCE
TRAINING
(120 HR.)
2
3
3
3
3
3
3
4
"TRAINING
(35 HRS.)"
2
2
2
3
3
3
3
4
3
3
-
16 - 17
AUG
-
-
-
-
-
-
14-17
AUG
-
-
-
9 - 10
AUG
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
5 - 7
SEP
-
-
-
-
-
25 - 26
OCT
-
-
TRAINING
3-5
BUSINESS
TRIP
9 - 11
OCT
-
29 - 31
OCT
-
-
9-11 OCT
-
-
13-14
NOV
-
-
-
-
-
-
-
TBD
-
-
-
18 - 20
JUL
-
3 - 5
JUL
-
-
-
-
-
-
16 - 17
JUL
-
-
-
-
23 - 24
JUL
-
-
-
-
-
-
3 - 4
DEC
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
2-4
OCT
-
-
17-19
OCT
9 - 11
OCT
-
-
-
-
6 - 8
NOV
27 - 29
NOV
-
-
-
-
19 - 21
DEC
-
-
-
-
-
-
เริ่มเรียน 13 กันยายน 2018 (120 HR.)
เรียนทุกวันพฤหัสบดี
ตอนเย็น 18.00 -21.00 น.
และวันเสาร์ 9.00 - 17.00 น.
รุ่นที่ 2 เริ่มเรียน
18 กันยายน 2018
(35 HRS.)
เรียนทุกวันอังคาร
9.00 - 17.00. น.
BIG DATA TRACK
DIGITAL TRANSFORMATION TRACK
BLOCKCHAIN TRACK
CLOUD COMPUTING TRACK
BUSINESS TRIPS TRACK
IT TRENDS | TRAINING36
DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL
ENTERPRISE ARCHITECTURE IN CLOUD ERA
INSTRUCTOR:
MR. DANAIRAT THANABODITHAMMACHARI
AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA
SOA/SOA GOVERNANCE FOR EXECUTIVES
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA
IT ARCHITECTURE FOR THE FUTURE
INSTRUCTOR:
MR. SUTUM CHAIYAWAT
SOA DESIGN PATTERNS
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG"
IT TRENDS: SEMINAR 2019
INSTRUCTOR:
20 INSTRUCTOR FROM IT INDUSTRY
SMINGFRAMEWORK IOT DEVICE (ESP8266) (C++)
INSTRUCTOR:
MR. SITTIPONG JANSORN"
RASPBERRY PY WIN10 IOT CORE (C#)
INSTRUCTOR:
MR. SITTIPONG JANSORN
RASPBERRY PI PYTHON PROGRAMMING (PYTHON)
INSTRUCTOR:
MR. SITTIPONG JANSORN
ARDUINO PROGRAMMING IOT STARTING POINT
INSTRUCTOR:
MR. SITTIPONG JANSORN
INTERNET OF THINGS DEVELOPMENT WITH ANDROID
INSTRUCTOR:
MR. SITTIPONG JANSORN
IPHONE DEVELOPMENT USING SWIFT
INSTRUCTOR:
MR. THONGROP RODSAVAS
ADVANCED IPHONE DEVELOPMENT USING SWIFT
INSTRUCTOR:
MR. THONGROP RODSAVAS
AUTOMATE TESTING FOR IOS APPLICATION ON SWIFT
INSTRUCTOR:
MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN AND MR. THAWATCHAI JONGSUWANPISAN
AUTOMATE TESTING FOR ANDROID APPLICATION
INSTRUCTOR:
MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN AND MR. THAWATCHAI JONGSUWANPISAN
DESIGNING CROSS-PLATFORM MOBILE APPLICATION WITH CLOUD ARCHITECTURE
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG
PROJECT MANAGEMENT ESSENTIALS
INSTRUCTOR:
MR. PIYA CHIEWCHARAT
AGILE PROJECT MANAGEMENT
INSTRUCTOR:
SIAM CHAMNANKIT
LEAN IT OVERVIEW
INSTRUCTOR:
MR. PIYA CHIEWCHARAT
IT SERVICE MANAGEMENT OVERVIEW ITIL & ISO 20000 (V2011)
INSTRUCTOR:
MR. PIYA CHIEWCHARAT
SOURCE CODE MANAGEMENT WITH GIT
INSTRUCTOR:
MR. PRATHAN DANSAKULCHAROENKIT AND MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN
TEST-DRIVEN DEVELOPMENT ON JAVA
INSTRUCTOR:
MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN AND MR. THAWATCHAI JONGSUWANPISAN
8,900 (EARLY BIRD 7,900)
REGISTRATION 3 PERSONS
PAY ONLY 2
10,900 (EARLY BIRD 9,500)
REGISTRATION 3 PERSONS
PAY ONLY 2
59,000 EARLY BIRD 55,000
(COURSE ONLY 11,900 BAHT)
(BUSINESS TRIP ONLY 45,000 BAHT)
DATA CENTER WORLD 2017
10,900
(9,500 WITH YOUR NOTEBOOK)
TBD
9,900
(EARLY BIRD 9,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
8,900
(EARLY BIRD 8,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
9,900
(EARLY BIRD 9,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
5,900
(EARLY BIRD 5,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
10,900
(EARLY BIRD 10,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
12,900
(EARLY BIRD 11,900)
BRING YOUR OWN COMPUTER
12,900
(EARLY BIRD 11,900)
BRING YOUR OWN COMPUTER
11,900
(EARLY BIRD 10,900)
BRING YOUR OWN MACBOOK
11,900
(EARLY BIRD 10,900)
BRING YOUR OWN COMPUTER
13,900
(11,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
17,900
(EARLY BIRD 15,900)
11,900
(EARLY BIRD 10,900)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
17,900
(EARLY BIRD 15,900)"
"8,900
(EARLY BIRD 8,900)
BRING YOUR OWN COMPUTER"
"8,900
(EARLY BIRD 8,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER"
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
2
2
2
2
2
3
2
3
1
4
5
4
2
2
5
3
2
1
3
2
2
-
2 - 3
AUG
-
-
-
-
20 - 21
AUG
-
-
-
-
7 - 10
AUG
-
-
-
-
28 - 29
AUG
20 AUG
-
-
-
9 - 10
JUL
-
-
-
-
-
-
-
11-JUL
-
2 - 6
JUL
-
-
-
-
23 - 24
JUL
-
-
-
-
-
-
-
13 - 14
SEP
17 - 18
SEP
-
-
-
19 - 21
SEP
-
-
`
-
-
10 - 11
SEP
-
-`
-
-
-
26 - 28
SEP
24 - 25
SEP
-
-
-
BUSI-
NESS
TRIP
9 -11
-
-
-
-
-
-
8-11
OCT
`
-
-
-
-
-`
-
-
-
-
-
-
22 - 24
NOV
-
-
-
-
-
-
-
-
-`
5 - 9
NOV
-
-
15-16
NOV
26 - 30
NOV
28 - 30
NOV
-
-
-
-
-
-
6 - 7
DEC
-
-
13 - 14
DEC
-
-
-
-
-`
-
-
-
-
-`
-
-
-
-
-
17 - 18
DEC
IT ARCHITECTURE/STRATEGY TRACK
IT TRENDS TRACK
INTERNET OF THINGS (IOT) TRACK
MOBILE DEVELOPMENT TRACK
PROJECT/SERVICE MANAGEMENT TRACK
SOFTWARE DEVELOPMENT TRACK
TRAINING | IT TRENDS 37
INTRODUCTION TO DOCKER
INSTRUCTOR:
MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN
DESIGNING AND IMPLEMENTING HYBRID CLOUD APPLICATION
INSTRUCTOR:
MR. TEERACHAI LAOTHONG
DESIGN PATTERNS & CODE ARCHITECTURE
INSTRUCTOR:
MR. PASSAPONG THAITHATGOON
MICROSERVICE ON JAVA PLATFORM
INSTRUCTOR:
MR. PASSAPONG THAITHATGOON
MICROSERVICES WITH SPRING BOOT
INSTRUCTOR:
MR. SOMMAI KRANGPANICH
AGILE WORKSHOP: AN ALTERNATIVE SOFTWARE DEVELOPMENT
INSTRUCTOR:
SIAM CHAMNANKIT
BASIC SOFTWARE TESTING
INSTRUCTOR:
MS. CHERAPA WANNASUK
AGILE TESTING IN PRACTICE
INSTRUCTOR:
SIAM CHAMNANKIT
SECURE SOFTWARE LIFE CYCLE
INSTRUCTOR:
MS. CHERAPA WANNASUK
REQUIREMENT ANALYSIS, DESIGN AND MANAGEMENT
INSTRUCTOR:
MS. CHERAPA WANNASUK
ISTQB- CERTIFIED TESTER FOUNDATION LEVEL (CTFL) TRAINING
INSTRUCTOR:
MR. NARUPAT KUMNURTRATH"
8,900 (EARLY BIRD 8,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
10,900
(8,900 WITH YOUR NOTEBOOK)
8,900 (EARLY BIRD 8,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
8,900 (EARLY BIRD 8,500)
BRING YOUR OWN COMPUTER
11,900 BAHT (EARLY BIRD 10,900)
BRING YOUR OWN NOTEBOOK
8,900 (EARLY BIRD 8,500)
PLEASE BRING YOUR NOTEBOOK
ON DAY 2 - 3
11,900 (EARLY BIRD 10,900)
REGISTRATION 3 PERSONS PAY
ONLY 2
11,900 (EARLY BIRD 10,900)
BRING YOUR OWN COMPUTER
12,900
(EARLY BIRD 11,900)
12,900
(EARLY BIRD 11,900)
14,900
(EARLY BIRD 13,900)"
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
10,900
(EARLY BIRD 9,900)
10,900
(EARLY BIRD 9,900)
6,500
(EARLY BIRD 5,900)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
5,900
(EARLY BIRD 5,500)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
INTERMEDIATE
ADVANCE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
BASIC
INTERMEDIATE
ADVANCE
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
2
3
2
2
3
2
3
2
2
3
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
16 - 17
JUL
4-6
JUL
-
-
9 - 11
JUL
16 - 17
JUL
4-6
JUL
-
-
9 - 11
JUL
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
17 - 18
OCT
28 - 29
OCT
24 - 26
OCT
-
-
17 - 18
OCT
28 - 29
OCT
24 - 26
OCT
13 - 14
NOV
-
-
-
-
13 - 14
NOV
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ONREQUEST
ONREQUEST
ONREQUEST
SOFTSKILL TRACK
SOFTSKILL: MANAGEMENT TRAINING
SOFTSKILL: SALES TRAINING
SOFTSKILL: IT LEADERSHIP
IT LEADER AS A COACH
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI
PRACTICAL TIME MANAGEMENT
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI
MANAGEMENT TRAINING FOR THE DIGITAL ERA
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
SALES TRAINING CONDENSED COURSE
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
EFFECTIVE NEGOTIATION SKILLS
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
HOW TO CREATE VALUE ADDED TO IT SOLUTION
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
CONSTRUCTIVE FEEDBACK SIMULATION WORKSHOP
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI
SHARPEN YOUR CREATIVITY SKILLS
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
PROMOTING IT SERVICE EXCELLENCE
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
BUILDING HIGH PERFORMANCE TEAM
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
COMMUNICATION 3.0
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM
DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL
SOFTWARE DEVELOPMENT TRACK
SOFTWARE ENGINEERING TRACK
IT TRENDS | TRAINING38
สถาบันไอเอ็มซีให้บริการหลักสูตร IN-HOUSE TRAINING โดยออกแบบเนื้อหาให้เหมาะ
กับความต้องการของแต่ละองค์กร ไม่ว่าจะเป็นความต้องการในระดับพื้นฐาน ระดับปฏิบัติ
หรือระดับสูง ซึ่งสามารถเรียนรู้เฉพาะเจาะจงได้ตามเป้าหมายหลัก สถาบันมีหลักสูตรอบรม
เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถน�าไปใช้เพิ่มประสิทธิภาพการท�างาน
คุณภาพของผลงาน อันน�าไปสู่การเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขันในตลาดได้อย่างต่อเนื่อง
โดยมีทีมวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ร่วมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์
หลักสูตรที่เปิดให้บริการ และออกแบบเนื้อหาการเรียนการสอนให้กับองค์กร
ได้แก่ IT TRENDS, BIG DATA, CLOUD COMPUTING, ENTERPRISE
ARCHITECTURE, DIGITAL TRANSFORMATION, SOFTWARE
DEVELOPMENT, AGILE WORKSHOP, BLOCKCHAIN, MOBILE
DEVELOPMENT, PROJECT MANAGEMENT เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีหลักสูตรทางด้านพัฒนาทักษะต่างๆ (SOFT SKILL) เช่น
SALES TECHNIQUE, IT LEADER AS A COACH, TIME
MANAGEMENT, EFFECTIVE NEGOTIATION SKILLS, PROMOTING
IT SERVICE EXCELLENCE, BUILDING HIGH PERFORMING
TEAM อีกด้วย
IN-HOUSE
TRAINING
สนใจจัดอบรมแบบ INHOUSE หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ IMC INSTITUTE
คุณชลาลัย ใจหาญ (นํ้า) CORPORATE TRAINING PROGRAM AND PROJECT CONSULTANT
MOBILE: 082-452-6464 E-MAIL: CHALALAI@IMCINSTITUTE.COM
DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL
CONSTRUCTIVE FEEDBACK SIMULATION WORKSHOP
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI"
PRESENTING WITH CONFIDENCE: SIMULATION WORKSHOP
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI"
สุนทรียสนทนา (DIALOGUE) ส�าหรับนักบริหารสารสนเทศ
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM"
EFFECTIVE COLLABORATION WORK USING MODERN IT TOOLS
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM"
IEEE TECHNICAL PRESENTATION WORKSHOP
OUTLINE LREGISTER
INSTRUCTOR: IEEE CERTIFIED INSTRUCTOR
IEEE TECHNICAL WRITING WORKSHOP
OUTLINE L REGISTER
INSTRUCTOR: IEEE CERTIFIED INSTRUCTOR
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
11,900
(EARLY BIRD 10,900)
6,900
(EARLY BIRD 6,500)
7,900 DURING THE PROMOTION
5,500 (EARLY BIRD 4,900 BAHT)
WITH YOUR OWN COMPUTER
12,900
(EARLY BIRD 11,900)
12,900
(EARLY BIRD 11,900)
BASIC
BASIC
BASIC
BASIC
INTERMEDIATE
INTERMEDIATE
1
2
1
2
2
2
SOFTSKILL: IT LEADERSHIP
SOFTSKILL: IEEE COURSES
ONREQUEST
ONREQUEST
ตัวอย่างหน่วยงานที่สถาบันให้การออกแบบเนื้อหาและท�าการอบรม มีดังนี้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Rethink and Realign for Digital Transformation Success
Rethink and Realign for Digital Transformation SuccessRethink and Realign for Digital Transformation Success
Rethink and Realign for Digital Transformation SuccessPerficient, Inc.
 
A Comparative Study of Data Management Maturity Models
A Comparative Study of Data Management Maturity ModelsA Comparative Study of Data Management Maturity Models
A Comparative Study of Data Management Maturity ModelsData Crossroads
 
Top 7 Capabilities for Next-Gen Master Data Management
Top 7 Capabilities for Next-Gen Master Data ManagementTop 7 Capabilities for Next-Gen Master Data Management
Top 7 Capabilities for Next-Gen Master Data ManagementDATAVERSITY
 
IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022
IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022 IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022
IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022 Rob Akershoek
 
The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?
The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?
The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?DATAVERSITY
 
Зелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесу
Зелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесуЗелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесу
Зелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесуOlena Maslyukivska, PhD
 
The Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for Success
The Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for SuccessThe Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for Success
The Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for SuccessCartegraph
 
The Business Value of Metadata for Data Governance
The Business Value of Metadata for Data GovernanceThe Business Value of Metadata for Data Governance
The Business Value of Metadata for Data GovernanceRoland Bullivant
 
Introduction to COBIT 2019 and IT management
Introduction to COBIT 2019 and IT managementIntroduction to COBIT 2019 and IT management
Introduction to COBIT 2019 and IT managementChristian F. Nissen
 
Digital Transformation Toolkit from ProductStack
Digital Transformation Toolkit from ProductStackDigital Transformation Toolkit from ProductStack
Digital Transformation Toolkit from ProductStackRahul Mohan
 
Data Governance — Aligning Technical and Business Approaches
Data Governance — Aligning Technical and Business ApproachesData Governance — Aligning Technical and Business Approaches
Data Governance — Aligning Technical and Business ApproachesDATAVERSITY
 
DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...
DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...
DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...Christopher Bradley
 
How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...
How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...
How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...Christopher Bradley
 
Digital transformation strategy
Digital transformation strategyDigital transformation strategy
Digital transformation strategytenali.digital
 
Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...
Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...
Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...DATAVERSITY
 
Enterprise Architecture: The role of the Design Authority
Enterprise Architecture:The role of the Design AuthorityEnterprise Architecture:The role of the Design Authority
Enterprise Architecture: The role of the Design AuthorityInvestnet
 
Piloting & Scaling Successfully With Microsoft Viva
Piloting & Scaling Successfully With Microsoft VivaPiloting & Scaling Successfully With Microsoft Viva
Piloting & Scaling Successfully With Microsoft VivaRichard Harbridge
 

La actualidad más candente (20)

Rethink and Realign for Digital Transformation Success
Rethink and Realign for Digital Transformation SuccessRethink and Realign for Digital Transformation Success
Rethink and Realign for Digital Transformation Success
 
A Comparative Study of Data Management Maturity Models
A Comparative Study of Data Management Maturity ModelsA Comparative Study of Data Management Maturity Models
A Comparative Study of Data Management Maturity Models
 
Top 7 Capabilities for Next-Gen Master Data Management
Top 7 Capabilities for Next-Gen Master Data ManagementTop 7 Capabilities for Next-Gen Master Data Management
Top 7 Capabilities for Next-Gen Master Data Management
 
IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022
IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022 IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022
IT4IT / DevOps Tooling Landscape 2022
 
The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?
The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?
The Evolving Role of the Data Architect – What Does It Mean for Your Career?
 
IT Benchmarking
IT BenchmarkingIT Benchmarking
IT Benchmarking
 
Зелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесу
Зелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесуЗелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесу
Зелений офіс: з турботою про довкілля, з вигодою для бізнесу
 
TOGAF Complete Slide Deck
TOGAF Complete Slide DeckTOGAF Complete Slide Deck
TOGAF Complete Slide Deck
 
The Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for Success
The Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for SuccessThe Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for Success
The Analytics CoE: Positioning your Business Analytics Program for Success
 
The Business Value of Metadata for Data Governance
The Business Value of Metadata for Data GovernanceThe Business Value of Metadata for Data Governance
The Business Value of Metadata for Data Governance
 
Introduction to COBIT 2019 and IT management
Introduction to COBIT 2019 and IT managementIntroduction to COBIT 2019 and IT management
Introduction to COBIT 2019 and IT management
 
Digital Transformation Toolkit from ProductStack
Digital Transformation Toolkit from ProductStackDigital Transformation Toolkit from ProductStack
Digital Transformation Toolkit from ProductStack
 
Data Governance — Aligning Technical and Business Approaches
Data Governance — Aligning Technical and Business ApproachesData Governance — Aligning Technical and Business Approaches
Data Governance — Aligning Technical and Business Approaches
 
DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...
DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...
DMBOK 2.0 and other frameworks including TOGAF & COBIT - keynote from DAMA Au...
 
How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...
How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...
How to identify the correct Master Data subject areas & tooling for your MDM...
 
Digital transformation strategy
Digital transformation strategyDigital transformation strategy
Digital transformation strategy
 
Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...
Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...
Master Data Management - Practical Strategies for Integrating into Your Data ...
 
Mdm: why, when, how
Mdm: why, when, howMdm: why, when, how
Mdm: why, when, how
 
Enterprise Architecture: The role of the Design Authority
Enterprise Architecture:The role of the Design AuthorityEnterprise Architecture:The role of the Design Authority
Enterprise Architecture: The role of the Design Authority
 
Piloting & Scaling Successfully With Microsoft Viva
Piloting & Scaling Successfully With Microsoft VivaPiloting & Scaling Successfully With Microsoft Viva
Piloting & Scaling Successfully With Microsoft Viva
 

Similar a แนวทางการทำ Digital transformation

แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgIMC Institute
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital TransformationIMC Institute
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital TransformationIMC Institute
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
SME in digital transformation
SME in digital transformationSME in digital transformation
SME in digital transformationKanjariya Jannak
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10IMC Institute
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIMC Institute
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAPeerasak C.
 
How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle
How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle
How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle Jittipong Loespradit
 
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptxThachaLawanna1
 
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)Reach China Holdings Limited
 
E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013IMC Institute
 

Similar a แนวทางการทำ Digital transformation (20)

แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.org
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
SME in digital transformation
SME in digital transformationSME in digital transformation
SME in digital transformation
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEsO2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
O2O Offline to Online - Digital Marketing for SMEs
 
Thailand Ecommerce Trend 2019
Thailand Ecommerce Trend 2019Thailand Ecommerce Trend 2019
Thailand Ecommerce Trend 2019
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
 
How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle
How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle
How to use Machine Learning and AI Application across customer lifecycle
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
 
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
 
E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013
 
Digital media 2018
Digital media 2018Digital media 2018
Digital media 2018
 

Más de IMC Institute

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14IMC Institute
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019IMC Institute
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12IMC Institute
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11IMC Institute
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon ValleyIMC Institute
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง IMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9 IMC Institute
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016IMC Institute
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger IMC Institute
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgIMC Institute
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IMC Institute
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018IMC Institute
 
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)IMC Institute
 
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)IMC Institute
 
Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)IMC Institute
 
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learningจัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine LearningIMC Institute
 

Más de IMC Institute (20)

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
 
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
 
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
 
Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)
 
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learningจัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
 

แนวทางการทำ Digital transformation

  • 2. Digital Transformation Copyright © by thanachart. All Rights Reserved.
  • 3. Contents 1. การพัฒนา Digital strategy เพ่ือการทำา Digital Transformation ขององค์กร 1 2. ความยากของ Digital Transformation อยู่ท่ีการทำา Culture disruption 7 3. กลยุทธ์ห้าด้านสำาหรับการทำา Digital Transformation 11 4. Digital Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 1) 15 5. Digital Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 2) 21 6. Platform Business Model Map เคร่ืองมือสำาหรับ การวิเคราะห์ Business Platform 25 7. ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยังไม่สามารถทำา Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 1) 29 8. ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยังไม่สามารถทำา Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 2) 33
  • 4.
  • 5. CHAPTER 1 การพัฒนา Digital strategy เพ่ือ การทำา Digital Transformation ขององค์กร ผู้คนส่วนใหญ่เร่ิมเห็นผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมาเปล่ียนแปลง ธุรกิจต่างๆท้ังด้านการค้าปลีก ด้านส่ือส่ิงพิมพ์ ด้านการเงินการธนาคาร และอุตสาหกรรมต่างๆ แล้วก็เร่ิมพูดถึงการทำา Digital Transformation ในองค์กร ผมเองมีโอกาสได้ดู Webinar ของ MIT ซีรีย์ Innovation@work ในหัวข้อ Digital disruption: transforming your company for the digital economy ได้พูดเร่ืองน้ีไว้น่าสนใจดังน้ี เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีกำาลังทำาให้เกิด Business disruption ท่ีสำาคัญคือ SMACIT ซ่ึงได้แก่ Social, Mobile, Analytics, Cloud และ Internet of Things ซ่ึงฝ่ายไอทีหลายๆองค์กรต่างก็ไปทำากลยุทธ์ไอทีในเร่ืองเหล่าน้ี เช่นการทำา Social media strategy, Mobile strategy, Big data & analytics strategy, Cloud strategy หรือ BYOD strategy ดังแสดงใน รูปท่ี 1
  • 6. รูปท่ี 1 กลยุทธไอทีขององค์กร แต่ส่ิงสำาคัญท่ีธุรกิจควรเข้าใจคือความหมายของ Digital disruption ท่ีมันกำาลังเกิดการเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดล้อมในธุรกิจท่ีเกิดจากการ นำาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ทำาให้เกิดคู่แข่งรายใหม่ท่ีสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ หรือบริการใหม่ๆ หรือสามารถมีช่องทางในการตลาดได้ดีกว่าเดิม ดังน้ัน องค์กรจึงจำาเป็นต้องมี Digital strategy มากกว่าการพัฒนา IT strategy และต้องเห็นว่าแผนกไอทีคือแกนหลักของธุรกิจไม่ใช่แผนกสนับสนุนอีกต่อ ไป Digital strategy คือการทำา Business strategy ท่ีนำาเทคโนโลยีดิจิทัล SMACIT เข้ามาประยุกต์ใช้ในองค์กรเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้านการ ตลาด ผลิตภัณฑ์ และบริการ โดยมีกลยุทธ์ท่ีสำาคัญอยู่สองด้านคือ การ เข้าถึงลูกค้า (customer engagement) และการทำา Digitized solutions Digital strategy จะมุ่งเป้าไปท่ีกลยุทธ์ด้านใดด้านหน่ึงในสองด้านน้ี ถ้า ต้องการจะเน้นถึงการเปล่ียนแปลงช่องทางการตลาดก็จะเป็นการมุ่งเป้าไป ท่ีการทำากลยุทธ์ Customer engagement โดยยกตัวอย่างของห้าง สรรพสินค้าอย่าง Nordstrom ท่ีปรับช่องทางตลาดจากห้าง ไปสู่ Online channel, Multi-channel จนเป็น Seamless experience ท่ีทำาให้ลูกค้า 2 THANACHART
  • 7. สามารถใช้บริการและสร้างความประทับใจได้หลากหลายช่องทางดังรูปท่ี 2 แต่ถ้ากลยุทธ์เน้นท่ีการเปล่ียนแปลงโมเดลเชิงธุรกิจก็อาจมุ่งเป้าไปท่ีการ ทำากลยุทธ์ Digitized solutionsโดยยกตัวอย่างของบริษัท Schindler ท่ี ขายสินค้าอย่างลิฟท์และนำาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเก็บข้อมูลต่างๆของลิฟท์ใน การบำารุงรักษา เพ่ือท่ีจะเปล่ียนธุรกิจมาสู่ด้านบริการให้สามารถท่ีจะเข้า บำารุงรักษาได้อย่างรวดเร็วก่อนท่ีผู้ใช้จะเรียกใช้บริการเม่ือประสบปัญหา ต่างๆดังรูปท่ี 3 รูปท่ี 2 กลยุทธ์ Customer engagement ของ Nordstrom การพัฒนา DIGITAL STRATEGY เพ่ือการทำา DIGITAL TRANSFORMATION ขององค์กร 3
  • 8. รูปท่ี 3 กลยุทธ์ Digitized solutions ของ Schindler แต่ท้ังน้ีการทำา Digital transformation ได้โดยใช้กลยุทธ์ด้านใดด้าน หน่ึงในสองด้านน้ัน องค์กรจะต้องมี Opeartional backbone กล่าวคือมี ระบบ ERP, CRM หรือ HR ท่ีดีและมีประสิทธิภาพ เข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา และทุกอุปกรณ์ หากขาดส่วนน้ีไปก็จะทำาการเปล่ียนแปลงสู่ดิจิทัลลำาบาก และเม่ือต้องการทำา Digital transformation แล้วจะต้องเพ่ิม Backbone รูปแบบใหม่ท่ีเรียกว่า Digital business backbone ดังรูปท่ี 4 รูปท่ี 4 Digital strategy Operational backbone คือรูปแบบท่ีต้องมีก่อนจะทำา Digital transformation ซ่ึงจะเป็นการเน้นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทำางาน ขององค์กร แต่ Digital business backbone จะเน้นในการทำา Digital business strategy ทำาระบบดิจิทัลให้เกิดความคล่องตัว (Agile) และสร้าง ความร่วมมือ (collaboration) และเช่ือมต่อกับคู่ค้าหรือหน่วยงานต่างๆท่ี เก่ียวข้องให้ได้ ท้ังน้ีหัวใจสำาคัญของ Digital business backbone คือการ ทำาการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data analytics) ท่ีจะต้องมีข้อมูล ในการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ต้องมี Micro-services ท่ีจะทำาให้คู่ค้า เข้าถึงระบบและสร้างความร่วมมือได้อย่างรวดเร็วและเกิดความคล่องตัว สุดท้ายก็ต้องสามารถเช่ือมต่อ (Connectivity) กับคู่ค้าและหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องได้ 4 THANACHART
  • 9. จากท่ีกล่าวมาการทำาความเข้าใจนิยามของ Digital strategy อาจไม่ใช่ เร่ืองยากเกินไป แต่การท่ีจะทำากลยุทธ์ให้เกิดข้ึนได้จึงเป็นความท้าทาย โดย เฉพาะกับองค์กรจำานวนมากในบ้านเราท่ีแม้แต่ Operational backbone ยังไม่มีความพร้อมอยู่เลย ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute มกราคม 2561 การพัฒนา DIGITAL STRATEGY เพ่ือการทำา DIGITAL TRANSFORMATION ขององค์กร 5
  • 10.
  • 11. CHAPTER 2 ความยากของ Digital Transformation อยู่ท่ีการทำา Culture disruption เม่ือวานน้ีผมเดินไปท่ี Supermarket แห่งหน่ึง เห็นธนาคารหน่ึงพยายาม เอาเคร่ือง self checkout มาให้คนจ่ายเงินเองผ่านระบบ QR code หรือ บัตรเครดิต แต่ผู้คนส่วนใหญ่ปฏิเสธท่ีจะใช้แม้จะมีส่วนลดก็ตาม วัน เดียวกันเพ่ือนไปเดินตลาดก็มาบอกว่าเห็นการใช้ QR payment น้อยมาก เหมือนท่ีผมบอกว่าแทบไม่เห็นการใช้งานในโรงอาหารศูนย์ราชการ เรากำาลังนำาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ ด้วยความคิดว่าจะมาทำา Business disruption แต่ส่ิงท่ียากกว่าคือการทำา Culture disruption นักเทคโนโลยีจะเก่งแค่ไหนก็ตามแต่ถ้าขาดความเข้าใจวัฒนธรรมและ สังคม แทบไม่เคยออกต่างจังหวัดไม่เข้าใจสภาพสังคมท่ีแท้จริงก็ยากท่ีจะ มาทำา Digital Transformation โดยเพียงแค่คิดว่าเทคโนโลยีจะมาสร้าง ระบบออโตเมช่ันเข้ามาทำางานแทนคน ประเทศเรามีบัตรประชาชนแบบ smartcard มาสิบกว่าปี แต่ทุกวันน้ีเรา ยังต้องสำาเนาบัตร ข้อมูลดิจิทัลท่ีจะอยู่ในบัตรมีน้อยมาก การจะขอใช้ก็ยาก ต้องทำาความร่วมมือกับกรมการปกครอง แม้เทคโนโลยีไม่ใช่ปัญหาแต่ส่ิง สำาคัญคืออำานาจ เพราะการปล่อยให้ใครก็ตามมาทำาธุรกรรมโดยผ่านบัตร ได้ง่าย หน่วยงานเดิมจะสูญเสียอำานาจ การมีอำานาจการลงนามในหนังสือ คือวัฒนธรรมในสังคมไทย
  • 12. แม้ระบบเอกสารดิจิทัลจะมีมานานแล้ว แต่ทุกวันน้ีเรายังเน้นการใช้ กระดาษการส่งเอกสาร เพราะมันเป็นวัฒนธรรมแบบไทยๆท่ีเราต้องการลง นามในเอกสาร วัฒนธรรมท่ีเห็นเอกสารมีความสำาคัญต้องจับต้องได้ ดังน้ัน การลดใช้เอกสาร การให้ใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์จึงเกิดข้ึนยากเพราะเป็น วัฒนธรรมของการทำางานของผู้ใหญ่ท่ีต้องการมีอำานาจ เราคุยกันเร่ือง Big Data และ ArtiJcial Intelligence แต่เราแทบจะไม่เห็น ข้อมูลท่ีเป็น Transactional ท่ีถูกแชร์ออกไป หรือให้หน่วยงานอ่ืนๆใช้ เรา จะเห็นว่าคนไทยจะบอกว่าข้อมูลเป็นความลับ เพราะวัฒนธรรมของเราคือ การหวงข้อมูล เราคิดว่าการเก็บข้อมูลไว้กับตัวมากท่ีสุดคือการสร้างความ สำาคัญกับตัวเองและข้อมูลคืออำานาจ การทำางานแบบ Collobaration มีมานานแล้ว แต่ทุกวันน้ีเราก็ยังเห็น หน่วยงานต่างๆน่ังประชุมกัน เน้นการประชุมแบบเห็นหน้า ไม่มีการทำา conference call การทำาเอกสารก็แบบส่งไปส่งมา ไม่มีการใช้ collaboration tool ใดๆ ยังเรียกคนมาประชุมมาในท่ีต่างๆ และมีการ เดินทางอย่างไร้ประสิทธิภาพ เพราะการประชุมคือวัฒนธรรมของบ้านเรา เราคิดว่าการน่ังประชุมร่วมกันและการส่งเอกสารคือการทำางาน แม้เราจะมี Digital payment หรือ Mobile Banking มากมาย แต่ผู้ จำานวนมากก็ยังยินดีท่ีใช้เงินสดยังอยากไปท่ีสาขา เพราะการถือเงินสด จำานวนมากคือวัฒนธรรมในการแสดงฐานะและหน้าตาของสังคมไทย การ ได้ทำาธุรกรรมต่อหน้าต่อตาคือความเช่ือถือในสังคมไทยมากกว่าการทำา ออนไลน์ เราอยากท่ีจะนำาดิจิทัลเข้าใช้ในองค์กร แต่การจะนำามาใช้ได้น้ันเราจะ ต้องมีวัฒนาธรรมดิจิทัล (Digital culture) ท่ีต้องเน้นเร่ือง ความโปร่งใส, การทำางานร่วมกัน, การใช้ข้อมูล, ความคล่องตัว ส่ิงต่างๆเหล่าน้ีอาจขัดกับ 8 THANACHART
  • 13. วัฒนธรรมของสังคมไทย โดยเฉพาะเร่ืองความโปร่งใสท่ีเรายังไม่อยากให้มี การเปิดเผยข้อมูลกันมากนัก น่ียังไม่พูดถึงเร่ือง Digital literacy ท่ีคนบ้านเรายังต้องฝึกอีกมากมาย ยังไม่กล่าวถึงช่องว่างทางดิจิทัลระหว่างคนในเมืองกับคนชนบท ผมยังมอง ไม่ออกว่า เราจะก้าวสู่ Digital Economy ได้โดยเร็วได้อย่างไร ยากสุดคือ การทำา Culture disruption และหน่วยงานท่ีมีปัญหาาในเร่ืองวัฒนธรรม มากท่ีสุดท่ีเป็นอุปสรรคของการเปล่ียนแปลงก็คือภาคราชการน้ันเอง ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute มกราคม 2561 ดูบทความเพ่ิมเติม 1. องค์กรต้องมี Digital Culture ก่อนเราถึงจะเป็น Thailand 4.0 ได้ สำาเร็จ 2. Digital Skill ท่ีคนไทยควรมีถ้าจะต้องก้าวไปสู่ Thailand 4.0 ความยากของ DIGITAL TRANSFORMATION อยู่ท่ีการทำา CULTURE DISRUPTION 9
  • 14.
  • 15. CHAPTER 3 กลยุทธ์ห้าด้านสำาหรับการทำา Digital Transformation หลายๆภาคส่วนเร่ิมพูดกันถึงเร่ืองของ Digital Transformation กัน เยอะมาก บางคร้ังก็เอาเทคโนโลยีเป็นตัวนำาโดยเฉพาะเร่ือง Emerging Digital Technologies อย่าง Internet of things, AI (ArtiJcial Intelligence), Big Data, Social Media หรือ Cloud Computing และ พยายามท่ีจะให้ทีมงานด้านไอที หรือผู้เช่ียวชาญด้านไอทีเป็นคนขับเคล่ือน เร่ืองน้ี แต่โดยแท้จริงแล้ว “Digital Transformation ไม่ใช่เร่ืองของ เทคโนโลยี แต่มันเป็นเร่ืองของกลยุทธ์ ภาวะการเป็นผู้นำา และแนวทางใน การคิดส่ิงใหม่ๆ” ผมเองได้อ่านหนังสือเร่ือง The Digital Transformation Playbook: Rethink Your Business for the Digital Age ของ Divid L. Rogers และได้ดู YouTube ท่ีผู้เขียนบรรยายในหัวข้อ Digital Transformation: Driving Change in Your Organization เขาได้นำา เสนอโดเมน 5 ด้านท่ีเป็นหลักสำาคัญของ Digital Transformation คือ Customers, Competition, Data, Innovation และ Value ท่ีกำาลังเกิด การเปล่ียนแปลงต่างๆดังน้ี • ลูกค้า (Customer) กำาลังกลายเป็นเครือข่ายแบบพลวัต (Dynamic
  • 16. network) มีการส่ือสารแบบสองทาง ซ่ึงมีพลังในการชักจูงและตัดสินใจ กันเองมากกว่าการตลาดวิธีการเดิมๆ • การแข่งขัน (Competition) ท่ีคู่แข่งอาจมาจากต่างอุตสาหกรรม และ เส้นแบ่งระหว่างความเป็นคู่แข่งกับคู่ค้าเร่ิมไม่ชัดเจน จึงต้องสร้างความ ร่วมมือกับคู่แข่งมากข้ึน • ข้อมูล (Data) จะถูกสร้างสร้างข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง และกลายเป็น สินทรัพย์ท่ีสำาคัญขององค์กร จึงจำาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลให้เกิดคุณค่า • นวัตกรรม (Innovation) เป็นความท้าทายท่ีองค์กรต้องมี และต้อง เรียนรู้ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ได้อย่างรวดเร็วด้วยต้นทุนต่ำา • คุณค่า (Value) ท่ีส่งมอบให้ลูกค้าจะถูกกำาหนดด้วยความต้องการของ ลูกค้ามากกว่ากำาหนดโดยกลไกของอุตสาหกรรมในอดีต จึงจำาเป็นจะ ต้องพัฒนาสินค้าและบริการอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงในหนังสือผู้เขียนได้พูดถึงกลยุทธ์จะทำา Digital Transformation จาก 5 ด้านน้ีคือ 12 THANACHART
  • 17. • Customer: ใช้พลังจากเครือข่ายลูกค้า • Competition: สร้าง Platform ไม่ใช่สร้าง Product • Data: เปล่ียนข้อมูลเป็นทรัพย์สิน • Innovation: สร้างนวัตกรรมด้วยการทดลองอย่างรวดเร็ว • Value: ปรับเปล่ียนคุณค่าท่ีส่งมอบให้ลูกค้า ผู้สนใจสามารถเข้าไปดู YouTube ตามท่ีผมแนะนำาหรืออาจหาหนังสือมา อ่านเพ่ิมเติม ซ่ึงในหนังสือก็จะมีเคร่ืองมือต่างๆท่ีช่วยทำาให้เราพัฒนา กลยุทธ์ใน 5 ด้านน้ีได้ดีข้ึน ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute มกราคม 2561 กลยุทธ์ห้าด้านสำาหรับการทำา DIGITAL TRANSFORMATION 13
  • 18.
  • 19. CHAPTER 4 Digital Transformation คือการ พัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 1) เรามักจะได้ยินคำาว่า Platform และคำากล่าวท่ีว่าในยุคปัจจุบันธุรกิจจะ ต้องปรับตัวเองมาสร้าง Platform ไม่ใช่ Product หรือ Service และมัก ยกตัวอย่างของ Alibaba, Uber, Google, Facebook หรือ AirBnb บาง ท่านก็เข้าใจความหมายของคำาว่า Platform แต่บางท่านก็อาจเข้าใจไปว่า การสร้าง Platform คือการนำาสินค้าหรือบริการของเราเข้าสู่ระบบดิจิทัล ไปทำา Online marketing บ้าง, พัฒนา Digital Product บ้างเช่นการทำา Online courseware หรือบ้างก็ไปพัฒนา e-Commerce website ด้วย ความเข้าใจว่าน้ันคือการปรับธุรกิจเข้าสู่ Platform อะไรคือความหมายของคำาว่า Platform? ผมได้อ่านหนังสือเร่ือง The Digital Transformation Playbook ของ David L. Rogers แล้วสรุปความหมายของคำาว่า Business Platform ไว้ อย่างน่าสนใจว่า “A platform is a business that create value by facilitating direct interaction between two or more distinct type of customers.” จะเห็นได้ว่าการท่ีธุรกิจจะเป็น Platform น้ันจะมีนัยสำาคัญอยู่ สามอย่างคือ
  • 20. • Distinct types of customers คือจะต้องมีประเภทของลูกค้ามาก กว่าหน่ึงประเภทเช่น AirBnb อาจมีเจ้าของห้องพักท่ีเป็นลูกค้าของ Plaform และก็มีผู้ท่ีต้องการหาท่ีพักซ่ึงก็เป็นลูกค้าของ Platform อีก ประเภทหน่ึง • Direct interaction คือจะต้องให้ลูกค้าเหล่าน้ีสามารถติดต่อส่ือสาร หรือทำาธุรกรรมได้โดยตรง • Facilitating เจ้าของ Platform จะเป็นผู้ทำาหน้าท่ีอำานวยความสะดวก ให้กับลูกค้าท่ีมาใช้บริการ Platform โดยไม่ได้เข้าจัดการเร่ืองต่างๆโดย มากเกินไป จากความหมายท่ีระบุมาจะเห็นว่า Business Platform ไม่ใช่เร่ืองใหม่ อย่างเช่นเราอาจเห็นห้างสรรพสินค้าอย่าง มาบุญครอง ก็เป็น Platform ด้านค้าปลีกก่อนยุคดิจิทัลเสียอีก เพราะห้างสรรพสินค้าเหล่าน้ันก็เป็น Platform ท่ีทำาให้ผู้เช่ามาต้ังร้านขายสินค้าโดยตรงให้กับผู้เข้ามาเดินห้าง ได้ ตัวอย่างของห้างสรรพสินค้าเราก็อาจจะเห็นลูกค้าของ Platform มี หลายประเภทอาทิเช่น • ร้านค้า คือผู้ท่ีจ่ายรายได้โดยตรงให้กับห้างสรรพสินค้า • คนเดินห้าง คือลูกค้าท่ีไม่ได้จ่ายรายได้ตรงให้กับห้างสรรพสินค้า แต่ เป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำาคัญสุด เพราะถ้ามีลูกค้าเยอะ ร้านค้าก็จะโต • ผู้โฆษณาหรือส่ือต่างๆ ก็อาจเป็นลูกค้าของห้างสรรพสินค้าอีกประเภท ท่ี สามารถจ่ายเงินให้กับห้างสรรพสินค้าโดยการติดป้ายโฆษณา หรือถ้ายกตัวอย่างของ Business Platform ในยุคดิจิทัล เราอาจนึกถึง Amazon Marketplace ท่ีจะมีลูกค้าคล้ายๆกับห้างสรรพสินค้า คือ ผู้ขาย, ผู้ซ้ือ และ ผู้โฆษณา โดยทาง Amazon ก็เป็นผู้ช่วยสร้าง Platform และหา เคร่ืองมือต่างๆให้กับลูกค้าประเภทต่างๆท่ีมาใช้ Platform เช่น ระบบการ ชำาระเงิน, การแนะนำาสินค้า (Recommendation engine) หรือเคร่ืองมือ ในการโฆษณาสินค้าให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย 16 THANACHART
  • 21. ในยุคดิจิทัลเราจะเห็นตัวอย่าง Platform หลายๆประเภทท่ีเพ่ิมมามากข้ึน เพราะสามารถพัฒนา Business Platformได้ง่ายข้ึน อาทิเช่น • ค้าปลีก: eBay, Alibaba, Amazon marketplace • ส่ือ: YouTube, Forbes.com • การเงิน: PayPal, Kickstarter, Alipay • Mobile computing: iOs, Android • ซอฟต์แวร์: Salesforce • การท่องเท่ียว: Airbnb, Tripadvisor • บริการรถสาธารณะ: Uber, Grab • การศึกษา: Coursera, Udemy ดังน้ันถ้าเราพิจารณาจากคำานิยามของ Business Platform จะเห็นได้ว่า การทำา e-commerce website ขายของออนไลน์โดยตรงก็ไม่ใช่ Business Platform เพราะเราเป็นเจ้าของ Platform ท่ีมีลูกค้าประเภท เดียวแล้วเราขายตรงไปยังลูกค้า แม้แต่ธุรกิจอย่าง NetKix ก็อาจไม่ใช่ Business Platform เพราะมีลูกค้าประเภทเดียวคือผู้ชม และ NetKix เป็น ผู้กำาหนดราคาและติดต่อกับลูกค้าเอง แต่ NetKix หรือ e-commerce webiste อาจเป็นตังอย่างของ Digital Platform DIGITAL TRANSFORMATION คือการพัฒนา PLATFORM มิใช่แค่การ สร้าง PRODUCT หรือ SERVICE (ตอนท่ี 1) 17
  • 22. ประเภทของ Business Platform เราอาจแบ่ง Platform ได้เป็น 4 ประเภทดังน้ี • Exchange Platform ◦ Pre-digital: Real estate brokers, shopping mall ◦ Digital: Product marketplaces (eBay, Alibaba), Service marketplaces (Airbnb, Uber) • Transaction system ◦ Pre-digital: Credit card, Debit card ◦ Digital: Digital payment systems (PayPal), Digital currencies (Bitcoin) • Ad-support media ◦ Pre-digital: Newspaper, TV ◦ Digital: Website with ads, social media with ads • Hardware/Software standard ◦ Pre-digital: Color TVs (RCA vs CBS), Motor fuels ◦ Digital: Videogame consoles (Xbox, Playstation), Mobile OS (iOS, Android) ทำาไม Business Platform ในยุคดิจิทัลถึงมีความน่าสนใจ? Business Platform จะมีความสำาคัญและมีประโยชน์มากๆถ้ามีผู้ใช้เป็น จำานวนมาก (Network eLect) เช่นถ้าห้างมีคนเข้ามาเดินจำานวนมากก็จะ ให้รายได้ของร้านค้าในห้างโตตาม หรือถ้าบัตรเครดิตมีร้านค้าท่ีรับบัตร จำานวนมากก็จะมีผู้ถือบัตรมากข้ึน มีธนาคารเข้ามาร่วมเป็นพันธมิตรมาก ข้ึน ในยุคก่อนดิจิทัล Platform จะถูกจำากัดการเจริญเติบโตด้วยปัจจัยหลาย อย่างอาทิเช่น ขนาดของพ้ืนท่ี การเข้าถึงของลูกค้าท่ีอาจจะต้องเดินทางมา ท่ีห้าง การโฆษณาท่ีจำากัดเพียงบางช่องทาง แต่ Business Platform ใน 18 THANACHART
  • 23. ยุคดิจิทัลจะสามารถสร้าง Network ELect ได้ดีกว่าท้ังน้ีจากหลายๆปัจจัย อาทิเช่น • ลูกค้าสามารถเข้ามาใช้ Platform ได้โดยง่ายผ่าน Web APIs หรือ เคร่ืองมือ SDK ในการเช่ือมต่อกับ Platform เช่น Amazon Marketplace ได้สร้าง APIs ให้ร้านค้าสามารถนำาสินค้ามาขายได้โดย ง่าย • ระบบสามารถขยายได้อย่างมหาศาลรองรับผู้ใช้จำานวนมาก โดยใช้ โครงสร้างพ้ืนฐานบน Cloud Computing • ลูกค้าสามารถเข้าถึง Platform ได้ผ่านอุปกรณ์ท่ีหลากหลาย จากทุกท่ี ทุกเวลา เช่นการใช้บริการผ่านมือถือ • โลกดิจิทัลได้สร้างระบบตรวจสอบตัวตน ผ่านระบบ VeriJcation ต่างๆ หลายวิธีท้ังในอีเมล หรือ Social media จากท่ีกล่าวมาท้ังหมดน้ี จะเห็นได้ว่า Business Platform มีความน่าสนใจ และเจ้าของ Platform สามารถสร้างรายได้จำานวนมากได้ ถ้า Platform น้ันมีผู้ใช้จำานวนมาก มีเคร่ืองมือในการอำานวยสะดวกให้กับลูกค้า มี มาตรฐานท่ีลูกค้าทุกคนเข้าถึงได้ ซ่ึงเทคโนโลยีดิจิทัลทำาให้เกิดส่ิงต่างๆ เหล่าน้ัน เจ้าของ Platform จึงทำาหน้าท่ีเป็นคนกลางไม่ต้องลงทุนสินทรัพย์ จำานวนมาก และสามารถโตได้อย่างรวดเร็ว ขอจบตอนท่ีหน่ึงไว้เท่าน้ี คร้ังหน้าจะมาเขียนเร่ือง การทำา The Platform Business Model Map ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือเพ่ือวิเคราะห์ Platform ต่างๆ ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute มีนาคม 2561 DIGITAL TRANSFORMATION คือการพัฒนา PLATFORM มิใช่แค่การ สร้าง PRODUCT หรือ SERVICE (ตอนท่ี 1) 19
  • 24.
  • 25. CHAPTER 5 Digital Transformation คือการ พัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 2) คราวก่อนผมเขียนบทความเร่ือง “Digital Transformation คือการ พัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service (ตอนท่ี 1)” แล้ว ช้ีให้เห็นว่าอะไรคือ Business Platform และทำาไมแพลตฟอร์มในโลกยุค ดิจิทัลถึงมีสำาคัญ ซ่ึงผมก็ได้ยกตัวอย่างของแพลตฟอร์มต่างๆ ซ่ึงเราอาจ เห็นกันแล้วว่าการสร้าง E-commerce ก็อาจไม่ใช่ Business Platform แต่อาจเป็นเพียงช่องทางการขายผ่านดิจิทัลอีกช่องทางหน่ึงเท่าน้ัน Business Platform นอกจากจะมาเปล่ียนแปลงธุรกิจแบบเดิมๆแล้ว บางคร้ังแพลตฟอร์มต่างๆก็แข่งกันเอง การแข่งขันของแพลตฟอร์มแล้ว ประสบความสำาเร็จจะอยู่ท่ีหลายๆประเด็นดังน้ี • คุณค่าท่ีได้จากเครือข่าย (Network-added value): คือการท่ีมีผู้ร่วมใช้ แพลตฟอร์ม (ลูกค้า) มากกว่ากัน (Network eLects), มีคุณภาพของ สินค้าหรือบริการท่ีดีจากลูกค้า หรือ มีข้อมูลท่ีแชร์จากลูกค้ามากกว่า • คุณค่าท่ีได้จากแพลตฟอร์ม (Platform-added value): คือการท่ี แพลตฟอร์มมี Feature ท่ีโดดเด่นและมีประโยชน์มากกว่า หรืออาจมี เน้ือหาท่ีให้ฟรี
  • 26. • มาตรฐานเปิด (Open standard): คือการท่ีแพลตฟอร์มมีระบบ API ท่ี เปิด มีชุดพัฒนาซอฟต์แวร์ (SDK) ท่ีให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ง่าย • เคร่ืองมือโต้ตอบ (Interactive tools) : แพลตฟอร์มมีเคร่ืองมือในการ หากลุ่มลูกค้า การจับคู่ หรือการทำาให้เกิดธุรกรรม เช่น Facebook มือ เคร่ืองมือแนะนำาเพ่ือน หรือมีเคร่ืองมือให้ผู้โฆษณาสินค้าได้ลูกค้าตรง กลุ่มเป้าหมาย • ระบบสร้างความเช่ือม่ัน (Trust enablers): แพลตฟอร์มอาจมีระบบ ระบุตัวตน มีระบบการสร้างความน่าเช่ือถือ (Reputation system) หรือ ระบบป้องกันการเงิน (Financial Safeguards) เช่นการคืนเงินเม่ือไม่ได้ รับสินค้า แม้โลกดิจิทัลจะทำาให้เราสร้าง Business Platform ได้ง่าย แต่ แพลตฟอร์มจำานวนมากก็อาจไม่ประสบความสำาเร็จ โดยทาง Harvard Business Review ได้ให้เหตุผล 6 ประการในบทความเร่ือง “6 Reasons Platforms Fail” ซ่ึงอาจสรุปได้ส้ันๆดังน้ี • แพลตฟอร์มมีการเปิดกว้าง (openness) ไม่ดีพอ : แพลตฟอร์มอาจไม่ ได้เปิดกว้างให้ลูกค้าเช่นผู้ซ้ือ ผู้ขาย ผู้ใช้ แพลตฟอร์มสามารถเข้ามาได้ อย่างเต็มท่ีทำาให้ไม่สามารถสร้าง Network eLect ได้ แต่บางคร้ังการ เปิดแพลตฟอร์มมากไปก็อาจทำาให้เราไม่สามารถควบคุมลูกค้าท่ีเข้ามา ใช้แพลตฟอร์มได้ ก็อาจทำาให้ได้คุณภาพของสินค้าหรือบริการท่ีไม่ดีจาก ลูกค้า เช่นการสร้างเน้ือหาไม่เหมาะสมหรือมีลูกค้าท่ีมาขายของไม่มี คุณภาพได้ง่ายโดยไม่มีการกล่ันกรองสินค้าหรือบริการท่ีดี • ไม่สามารถชักจูงนักพัฒนาโปรแกรมเข้ามาสู่แพลตฟอร์มได้: แพลตฟอร์มจะเกิด Network eLect ได้ต้องมีนักพัฒนาซอฟต์แวร์มา ช่วยกันขยายแพลตฟอร์มผ่าน APIs โดยใช้เคร่ืองมือพัฒนาแพลตฟอร์ม (SDK) แพลตฟอร์มท่ีประสบความสำาเร็จอย่าง Facebook, Amazon, eBay ต่างก็มี APIs และคู่มือท่ีให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์พัฒนาโปรแกรม เช่ือมต่อและเข้าถึงแพลตฟอร์มได้โดยง่าย • ไม่สามารถแบ่งปันกำาไรหรือคุณค่าท่ีได้จากแพลตฟอร์มได้ดีพอ: ลูกค้า ของแพลตฟอร์มเช่นผู้ซ้ือ ผู้ขาย หรือผู้ใช้ ต้องเห็นคุณค่าหรือกำาไรท่ีจะได้ จากแพลตฟอร์มท่ีเหมาะสม หากผู้บริหารแพลตฟอร์มไม่ได้แบ่งปันให้ดี 22 THANACHART
  • 27. พอลูกค้าก็จะไม่เห็นคุณค่าของแพลตฟอร์มและไปเลือกแพลตฟอร์มท่ีให้ ประโยชน์ดีกว่า • โปรโมทหรือขยายลูกค้าของแพลตฟอร์มผิดข้าง: อย่างท่ีกล่าวไว้ว่า Business Platform จะมีลูกค้ามากกว่าหน่ึงประเภทเข้ามาใช้ แพลตฟอร์ม ดังน้ันผู้บริหารแพลตฟอร์มจำาเป็นต้องเข้าใจและเลือกขยาย ลูกค้าของแพลตฟอร์มให้ถูกกลุ่มและถูกเวลา อาทิเช่นแพลตฟอร์มรถ บริการสาธารณะมีแต่ผู้โดยสารมากไปไม่มีรถให้บริการก็ไม่สามารถจะ เกิด Network eLect ท่ีดีได้ ช่วงแรกๆอาจเป็นการโปรโมทให้มีผู้ขับรถ จำานวนมากหลังจากน้ันค่อยเน้นกลุ่มผู้โดยสาร • ไม่สามารถจะเน้นส่ิงท่ีมีความสำาคัญย่ิงยวดได้อย่างถูกต้อง: การท่ีลูกค้า จะเข้ามาใช้แพลตฟอร์มอาจมีส่ิงท่ีมีความสำาคัญย่ิงยวดท่ีแตกต่างกัน แพลตฟอร์มในการชำาระเงินส่ิงท่ีเป็นความสำาคัญย่ิงยวดอาจเป็น การ ป้องกันการฉ้อโกง หรือการใช้งานง่าย ข้ึนอยู่กับบริบทของลูกค้าท่ีผู้ บริหารแพลตฟอร์มต้องเน้นให้ถูกต้อง • ไม่สามารถสร้างจินตนาการได้ดีพอ: การทำา Business Platform ใหม่ๆอาจต้องฉีกแนวคิดในการทำาธุรกิจหรืออุตสาหกรรมแบบเดิมๆ ดังน้ันจึงต้องมีแนวคิดท่ีดีและเหมาะสมในการสร้างแพลตฟอร์มใหม่ๆ อย่าง eBay, AirBnB, Uber หรือ Facebook DIGITAL TRANSFORMATION คือการพัฒนา PLATFORM มิใช่แค่การ สร้าง PRODUCT หรือ SERVICE (ตอนท่ี 2) 23
  • 28. ตอนแรกผมต้ังใจจะเขียนเร่ืองการทำา The Platform Business Model Map ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือเพ่ือวิเคราะห์ Platform ต่างๆ ในตอนน้ี แต่เน่ืองจาก บทความน้ีน่าจะจบลงท่ีเร่ืองของปัจจัยท่ีสร้างความสำาเร็จและความ ล้มเหลวของแพลตฟอร์ม จึงขอต่อในตอนท่ี 3 แต่ขอแสดงตัวอย่างรูปของ Model Map มาให้ดูก่อน และผู้สนใจอาจเข้าไปดู Slide การบรรยายของ ผมเร่ืองน้ีได้ท่ี https://tinyurl.com/platformmap ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute เมษายน 2561 24 THANACHART
  • 29. CHAPTER 6 Platform Business Model Map เคร่ืองมือสำาหรับการวิเคราะห์ Business Platform ผมเขียนเร่ืองของ Business Platform มาสองตอน (Digital Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service) คราวน้ีเลยอยากนำา Platform Business Model Map ซ่ึง เป็นเคร่ืองมือหน่ึงในการวิเคราะห์ Business Platform ท่ีทาง David L. Roger นำาเสนอไว่ในหนังสือ The digital transformation playbook มา อธิบายให้เข้าใจ
  • 30. Model map น้ีจะประกอบไปด้วยสัญลักษณ์ต่างๆดังน้ี • วงกลม คือ Business Platform • รูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน คือ ลูกค้าท่ีนำารายได้มาให้กับ Platform (เรียกว่า payer) ท้ังน้ีลูกค้าประเภทท่ีเป็นผู้สร้างรายได้หลัก (เรียก ว่า primary payer) จะกำาหนดไว้ทางขวามือของ Platform • รูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า คือ ลูกค้าท่ีอาจไม่ได้นำารายได้มาให้กับ Platform แต่ เป็นกลุ่มท่ีช่วยดึงดูดให้ลูกค้ากลุ่มอ่ืนเข้ามาใช้ Platform (เรียก ว่า sweetener) • จำานวน Spike คือ จำานวนประเภทลูกค้าท่ีลูกค้ากลุ่มน้ีอาจโต้ตอบด้วย (ตัวอย่างในรูปลูกค้าประเภท Users มี 4 Spike เพราะต้องเก่ียวข้องกับ Advertiser, Publisher, App developer และ ตัว User ด้วยกันเอง) • เส้นขอบสองเส้น คือ ลูกค้าท่ีมีความสำาคัญท่ีสุดใน Platform (เรียกว่า Linchpin) ท่ีจะสร้างให้เกิด Network eLect โดยพิจารณาจากประเภท ลูกค้าท่ีมีจำานวน Spike มากสุด • ลูกศรในแต่ละทิศทาง จะระบุถึงคุณค่าท่ีลูกค้าได้รับหรือให้กับ Platform 26 THANACHART
  • 31. ◦ ข้อความท่ีเป็นตัวเข้มคือคุณค่าท่ีเป็นเงิน ◦ ข้อความท่ีอยู่ในวงเล็บหมายความว่าเป็นคุณค่ามีได้รับหรือให้กับ Platform โดยตรง ◦ ข้อความท่ีไม่ได้อยู่ในวงเล็บหมายความว่าคุณค่าน้ีได้รับหรือให้กับ ลูกค้าประเภทอ่ืน โดยใช้ Platform เป็นตัวผ่าน การจะสร้าง Platform Business Model Map น้ีได้ ควรเร่ิมต้นจากการ สร้างตารางดังรูปข้างล่างน้ี โดยเราควรตอบคำาตอบต่างๆเหล่าน้ี 1. ลูกค้าของ Platform มีประเภทใดบ้าง 2. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้รับประโยชน์หรือคุณค่าจากลูกค้าประเภท อ่ืนอย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน) 3. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้รับประโยชน์หรือคุณค่าจาก Platform โดย ตรงอย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน) 4. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้ให้ประโยชน์หรือคุณค่าจากลูกค้าประเภทอ่ืน อย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน) 5. ลูกค้าในแต่ละประเภทได้ให้ประโยชน์หรือคุณค่าจาก Platform โดย ตรงอย่างไรบ้าง (เขียนตัวเข้มถ้าคุณค่าน้ันเป็นรูปของเงิน) 6. ลูกค้าในแต่ละประเภทเก่ียวพันและติดต่อกับประเภทอ่ืนรายใดบ้าง 7. ระบุ ProJle ของลูกค้าในแต่ละประเภทในส่ีชนิดน้ี linchpin, payer, primary payer หรือ sweetener ดังตัวอย่างของ Facebook ท่ีได้คำาตอบดังแสดงในรูปข้างล่างน้ี PLATFORM BUSINESS MODEL MAP เคร่ืองมือสำาหรับการวิเคราะห์ BUSINESS PLATFORM 27
  • 32. เม่ือได้ข้อสรุปจากตารางแล้ว เราก็สามารถนำาส่ิงท่ีได้จากตารางมาวาดใส่ Model Map ต่อไป การสร้าง Business model map จะช่วยทำาให้เราวิเคราะห์ Business platform ได้ดีข้ึน แล้วช่วยตอบคำาถามในเชิงกลยุทธฺหลายๆด้านได้อาทิ เช่น • ลูกค้าประเภทใดท่ีเราควรดึงเข้าร่วมใน Platform เพ่ือทำาให้เกิด Network eLect? • เราสามารถจะสร้างรายได้ให้กับ Platform อย่างไร? • ลูกค้าประเภทใดมีความสำาคัญต่อ Platform มากท่ีสุด (primary payer และ linchpin)? • รูปแบบธุรกิจของ Business platform น้ีมีความเหมาะสมหรือไม่ ลูกค้า ทุกประเภทได้รับประโยชน์หรือคณค่าจาก Platform ด้วยความ เหมาะสมหรือไม่? จากท่ีกล่างท้ังหมด ก็หวังว่าเคร่ืองมือจะทำาให้เราวิเคราะห์ Business Platform ต่างๆได้ดีข้ึน หลังจากท่ีได้อ่านบทความสองตอนก่อนหน้าน้ีของ ผม ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute เมษายน 2561 28 THANACHART
  • 33. CHAPTER 7 ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยัง ไม่สามารถทำา Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 1) ผู้บริหารธุรกิจหลายๆคนอาจสับสนกับการเร่ืองของการทำา Digitization คือการเปล่ียนข้อมูลต่างๆของธุรกิจจากอนาล็อกให้เป็นดิจิทัล กับ ความหมายของคำาว่า Digital Transformation • ผู้บริหารมอบหมายให้ฝ่ายไอทีไปทำาระบบ CRM หรือ ERP • ผู้บริหารมอบหมายให้ฝ่ายการตลาดไปทำา Digital Marketing • ผู้บริหารมอบหมายให้ฝ่ายขายไปทำา e-Commerce
  • 34. แต่สุดท้ายธุรกิจก็ยังไม่ดีข้ึน บ้างก็ยังเห็นยอดขายลดลงอย่างต่อเน่ือง บ้าง ก็ยังต้องปิดกิจการแล้วไปต่อไม่ได้ ผมเคยต้ังคำาถามกับผู้บริหารหลายๆคน ว่า ส่ือส่ิงพิมพ์ต่างๆทำา Digitzation ไหม เขามีระบบไอทีท่ีดีไหม เขาทำาเว็บ ไซต์ไหม เขาขายออนไลน์ไหม หรือถามว่าธุรกิจค้าปลีกหลายใหญ่หลายๆ รายมีระบบ CRM, ERP ไหม มีระบบ online E-commerce ซ่ึงทุกท่าน ก็จะตอบว่ามี แล้วทำาไมยังอยู่รอดไม่ได้ คำาตอบส่วนหน่ึงก็คือว่าการทำา Digitization ไม่ใช่เป็นการทำา Digital Transformation ปัญหาของ ธุรกิจหลายๆแห่งท่ีประสบอยู่ในปัจจุบันอาจเกิดจากการท่ี Business Model ของเราต้องเปล่ียน อุตสาหกรรมอาจเปล่ียน คู่แข่งอาจเปล่ียนไป และลูกค้าอาจเปล่ียนไป ดังน้ันการทำาไอทีในองค์กรหรือการทำา Digitzation อาจไม่ได้ช่วยทำาให้ธุรกิจอยู่รอดได้ แต่ส่ิงท่ีควรทำากลับเป็น • ทบทวนรูปแบบ Business Model ของธุรกิจเรา • ทบทวน Value chain ของธุรกิจเรา • การกำาหนดกลยุทธ์เช่ือมโยงกับลูกค้าแบบใหม่ในโลกดิจิทัล • การสร้างทักษะของบุคลากรและปรับองค์กรใหม่ การทบทวนรูปแบบ Business Model บางคร้ังเราอาจจะต้องมาปรับแนวคิดของธุรกิจเรา คำาถามว่าธุรกิจใน ปัจจุบันเราอยู่ในสถานะใดจำาเป็นต้องเปล่ียนรูปแบบหรือไม่ เราจะเห็นได้ว่า บางคร้ังธุรกิจท่ีประสบความสำาเร็จ อาจจะเร่ิมต้นจากจุดหน่ึงแลัวก็ต้องปรับ เปล่ียนไปเร่ือยๆ ซ่ึงการปรับธุรกิจเปล่ียนต้องคำานึงถึงลูกค้ารอบตัวเราแต่ ไม่ใช่คำานึงถึงสินค้าหรือคู่แข่งของเรา (De7ne your business around your customers, not your products or competotitos) ตัวอย่างของ Amazon ท่ีเร่ิมจากการขายหนังสือ ออนไลน์ และเปล่ียนตัวเองเป็นร้านค้าปลีกออนไลน์ หลังจากน้ันก็ปรับ ตัวเองเป็น Platform ท่ีจะให้ผู้ค้ารายอ่ืนๆเอาสินค้ามาขายให้ลูกค้าผ่าน Amazon.com ได้ จากน้ันก็ปรับไปทำาขายเพลง ภาพยนตร์ หรือขาย Hardware อย่าง Fire TV หรือทำา Amazon Echo แข่งกับ Google รวม ไปถึงการเป็นผู้ให้บริการ Cloud แข่งกับบริษัทไอทีเดิมอย่าง IBM, Microsoft จะเห็นได้ว่า Amazon เป็นตัวอย่างท่ีปรับตัวเองตลอด 30 THANACHART
  • 35. รูปที 1 รูปแบบการแข่งขันแบบใหม่ [จากหนังสือ Driving digital strategy: a guide to reimagining your business] แนวทางการแข่งขันในรูปแบบใหม่ อาจพิจารณาได้จากรูปท่ี 1 ท่ีช้ีให้เห็น โมเดลการทำาธุรกิจหลากหลายรูปแบบ • แนวคิดแบบเดิมคือการทำาให้ Product ท่ีนำาเสนอลูกค้ามีราคาถูกลง หรือคุณภาพดีข้ึนเพ่ือแข่งขันได้ • แนวคิดถัดมาเราอาจปรับกลยุทธ์เป็น Razor-Blade เหมือนท่ีบริษัทขาย เคร่ืองพิมพ์ราคาแต่เน้นขายหมึกพิมพ์จำานวนมากข้ึน หรือเหมือน Kindle ท่ีเน้นขาย eBooks • รูปแบบการทำาธุรกิจใหม่อาจเป็นการสร้าง Business Platform แล้ว หวังให้มีลูกค้าจำานวนมากข้ึนเพ่ือสร้าง Network eLect เพราะการได้ ฐานลูกค้าจำานวนมาก่อนน่าจะเป็นผู้ชนะ (ดูบทความเร่ือง Digital Transformation คือการพัฒนา Platform มิใช่แค่การสร้าง Product หรือ Service) • สุดท้ายเราอาจผสมผสานท้ังการสร้าง Platform และ การมี Product/ Services ท่ีหลากหลายอย่าง Amazon และ WeChat ทำาไมธุรกิจทำา DIGITIZATION แล้วยังไม่สามารถทำา DIGITAL TRANSFORMATION ได้ (ตอนท่ี 1) 31
  • 36. การทบทวน Value chain เทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ๆอย่าง Social Media, Smartphone หรือ IoT ทำาให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้าน Value chain ของธุรกิจบางอย่าง ซ่ึงบาง คร้ังเราอาจต้องทบทวน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมเพลง ท่ีเดิมอาจมีนักแต่ง เพลง เซ็นสัญญากับค่ายเพลงแล้วจัดจำาหน่ายในรูปแบบของ CD หรือ DVD กับผู้บริโภค ผ่านช่องทางของร้านค้าปลีก CD/DVD ท่ัวๆไป แต่เม่ือธุรกิจ ดิจิทัลเข้ามาก็จะเห็นกลุ่มท่ีเป็น Intermediation เข้ามาแทรกใหม่เช่น iTune หรือแม้แต่ YouTube ทำาให้ธุรกิจค้าปลีกแบบเดิมเร่ิมถดถอย เพราะ ลูกค้าสามารถซ้ือผ่านช่องทางออนไลน์ได้ และบางคร้ังก็จะพบว่า อุตสาหกรรมเกิด Disintermediation เช่นนักแต่งเพลงอาจจะข้าม Value chain เดิมๆแทนท่ีจะมาสังกัดค่ายเพลง แต่พวกเขาอาจแต่งเพลงขาย ออนไลน์ให้กับผู้บริโภคโดยตรง ดังน้ันจึงจำาเป็นท่ีธุรกิจจะต้องกลับมาทบทวนตัวเองว่า เราอยู่ตรงไหน ของ Value chain ซ่ึงโดยมากธุรกิจท่ีจะแข่งกับคนอ่ืนๆได้ จะตรงอยู่ในจุด ของ Value chain ท่ีมีความแตกต่างและคู่แข่งอ่ืนไม่สามารถเข้ามาง่าย หรือไม่ก็ต้องเป็นจุดต้นทางและปลายทางของ Value chain ซ่ึงหากธุรกิจ กำาลังอยู่ในช่วงการเปล่ียนแปลงของ Value chain แม้ว่าเราจะทำา Digitization ในธุรกิจมากแค่ไหนก็ตาม การหลีกเล่ียง Digital disruption ก็ยังเป็นเร่ืองยาก ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute 32 THANACHART
  • 37. CHAPTER 8 ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยัง ไม่สามารถทำา Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 2) ในตอนท่ีแล้วผมได้เขียนถึงเร่ือง Digital Transformation แล้วระบุว่าส่ิง ท่ีธุรกิจควรจะทำามีอยู่ส่ีประเด็นคือ • ทบทวนรูปแบบ Business Model ของธุรกิจเรา • ทบทวน Value chain ของธุรกิจเรา • การกำาหนดกลยุทธ์เช่ือมโยงกับลูกค้าแบบใหม่ในโลกดิจิทัล • การสร้างทักษะของบุคลากรและปรับองค์กรใหม่
  • 38. รูปท่ี 1 Framework for reinventing business [จากหนังสือ Driving digital strategy: a guide to reimagine your business,, Sunal Gupta] และได้กล่าวถึงสองประเด็นแรกไปแล้ว (ดูบทความ ทำาไมธุรกิจทำา Digitization แล้วยังไม่สามารถทำา Digital Transformation ได้ (ตอนท่ี 1)) วันน้ีขอมาต่อในอีกสองประเด็นท่ีเหลือ การกำาหนดกลยุทธ์เช่ือมโยงกับลูกค้าแบบใหม่ในโลกดิจิทัล การเข้ามาของเทคโนโลยีดิจิทัลเช่น Social media หรือ Mobile Phone ทำาให้พฤติกรรมของลูกค้าเปล่ียนไป ลูกค้ามีเครือข่ายมากข้ึนในการเช่ือม โยงถึงกัน มีการรับข้อมูลข่าวสารท่ีสะดวกรวดเร็วข้ึน Marketing Funnel ของลูกค้าก็เปล่ียนไป โดยลูกค้ามีช่องทางการ”รับรู้” (awareness) ท่ี หลากหลายจากเดิมไม่เพียงแต่มาจากการโฆษณาแต่ยังอาจผ่านจากการ Search การอ่านบล็อก ซ่ึงเม่ือลูกค้ารับรู้ก็จะเข้าสู่ข้ันตอนเพ่ือ “พิจารณา” (consideration) ซ่ึงก็อาจจะมาจากข้อมูลจากหลายๆแหล่งท้ังการค้น ข้อมูลออนไลน์ การอ่าน User Review หรือการได้รับอีเมลจากผู้ขาย ซ่ึง 34 THANACHART
  • 39. พอลูกค้ามีความ “ปรารถนา” (perference) ก็อาจเร่ิมท่ีจะมาการ เปรียบเทียบสินค้า มีการทดสอบสินค้า มีการใช้ Social network มาพูด คุยกับลูกค้าอ่ืน แล้วจึงถึงข้ันตอนท่ีลูกค้า “กระทำา” (Action) กล่าวคือซ้ือ สินค้าอาจจากในร้าน หรือผ่านออนไลน์ และเม่ือลูกค้าซ้ือแล้วเราจะมี ข้ันตอนอย่างไรให้ลูกค้า “จงรักภักดี” (loyalty) ต่อสินค้าของเรา มีช่อง ทางอย่างไรให้ลูกค้าติดต่อเราได้สะดวก ติดตามข่าวสารของเราผ่าน Facebook, Instagram หรือ อีเมล และทำาอย่างไรให้สามารถขายสินค้า อย่างอ่ืนได้เพ่ิม สุดท้ายเป็นข้ันตอนท่ีทำาให้ลูกค้า “บอกต่อ” (advocacy) มีความประทับใจในสินค้าของเรา และทำาการ Review สินค้าของเราในแง่ดี ทาง Social media หรือช่องทางอ่ืนๆ รูปท่ี 2 Marketing Funnel [จากหนังสือ The Digital Transformation Playbook: Rethink Your Business for the Digital Age, David L. Rogers ] ด้วยพฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปของลูกค้า เราจึงจำาเป็นท่ีจะปรับกลยุทธ์ในการ เช่ือมโยงกับลูกค้าในด้านต่างๆดังน้ี • Access จะต้องเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ทุกท่ี ทุกเวลา ทุกอุปกรณ์ เช่นการใช้ช่องทางท่ีหลากหลายท้ัง Smartphone, Social Media ทำาไมธุรกิจทำา DIGITIZATION แล้วยังไม่สามารถทำา DIGITAL TRANSFORMATION ได้ (ตอนท่ี 2) 35
  • 40. • Engage ต้องทำาให้เราเป็นแหล่งเน้ือหา (content) ท่ีเก่ียวข้องกับสินค้า และบริการเราท่ีมีประโยชน์กับลูกค้า • Customize ต้องทำาให้ส่ิงท่ีเรานำาเสนอต่อลูกค้าแต่ละรายสามารถปรับ เปล่ียนได้ตามความเหมาะสม • Connect ต้องสร้างกลยุทธ์ให้ลูกค้าได้เช่ือมโยงกับลูกค้ารายอ่ืนๆ หรือ กับเราเองได้ • Collaboration ต้องทำาให้ลูกค้าสามารถร่วมมือเป็นส่วนหน่ึงใน โครงการหรือองค์กรของเรา การสร้างทักษะของบุคลากรและปรับองค์กรใหม่ ความยากท่ีสุดเร่ืองหน่ึงขององค์กรในการทำา Digital Transformation คือตัวบุคลากรหรือแม้แต่ทัศนะของผู้บริหารเอง ท่ีบาง คร้ังอาจบอกว่ายังขาด Digital Mindset ทำาอย่างไรท่ีเราจะพัฒนา บุคลากรให้เข้าใจการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเกิดจากผลกระทบของ เทคโนโลยีดิจิทัล ทำาให้เข้าถึงรูปแบบธุรกิจท่ีจะเปล่ียน ทำาให้องค์กรมี วัฒนธรรมดิจิทัล (Digital culture) มีการทำาทำางานแบบ Collaboration เป็นองค์กรท่ีใช้ข้อมูลในการทำางาน เราจะพบว่าในปัจจุบันบริษัทท่ีกำาลังข้ึนมาสู่ระดับต้นๆของโลกอย่าง Google, Uber, Facebook, Amazon, NetFlix จะมีองค์ประกอบหลายๆ อย่างท่ีคล้ายกันอาทิเช่น • จะเป็นบริษัทท่ีมีข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) • จะเป็นบริษัทท่ีมีความเข้าใจพฤติกรรมลูกค้าเป็นอย่างดี มีวัฒนธรรมของ การใช้ข้อมูลในการทำาความเข้าใจกับลูกค้า • จะเป็นบริษัทท่ีมีจำานวนพนักงานไม่มากนักเม่ือเทียบกับรายได้ของบริษัท • จะเป็นบริษัทท่ีมีความคล่องตัวและอาจปรับเปล่ียน Business model ของตัวเองอยู่บ่อยๆ • จะเป็นบริษัทท่ีทำานวัตกรรมใหม่ในการนำาเสนอสินค้าและบริการด้วย ความว่องไว หากพบว่าล้มเหลวก็จะทำาอย่างอ่ืนต่อ • จะเป็นบริษัทท่ีดึงดูดคนเก่งๆเข้ามาทำางานได้ 36 THANACHART
  • 41. ดังน้ันหากธุรกิจเราต้องการจะทำา Digital Transformation บางคร้ังการ ปรับองค์กรให้มีคล่องตัว และการปรับแนวคิดของบุคลากรและผู้บริหารก็ จะมีความจำาเป็นอย่างย่ิง ธนชาติ นุ่มนนท์ IMC Institute ทำาไมธุรกิจทำา DIGITIZATION แล้วยังไม่สามารถทำา DIGITAL TRANSFORMATION ได้ (ตอนท่ี 2) 37
  • 42. TRAINING | IT TRENDS 35 COURSE SCHEDULE 2018 DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL BIG DATA CERTIFICATION COURSE INSTRUCTOR: ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA ASST. PROF. DR. PUTCHONG UTHAYOPAS MR. DANAIRAT THANABODITHAMMACHARI MR. TEERACHAI LAOTHONG MR. AEKANUN THONGTAE MR. KOMES CHANDAVIMOL BIG DATA IN ACTION FOR SENIOR MANAGEMENT INSTRUCTOR: ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM" BIG DATA ARCHITECTURE AND ANALYTICS PLATFORM INSTRUCTOR: MR. AEKANUN THONGTAE AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA" BIG DATA ANALYTICS AS A SERVICE FOR DEVELOPER INSTRUCTOR: MR. AEKANUN THONGTAE AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA" BIG DATA MODELING WITH NOSQL INSTRUCTOR: MR. AEKANUN THONGTAE AND MR. TEERACHAI LAOTHONG" INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP INSTRUCTOR: MR. AEKANUN THONGTAE MACHINE LEARNING FOR DATA SCIENCE INSTRUCTOR: MR. AEKANUN THONGTAE DATA VISUALISATION WORKSHOP INSTRUCTOR: MR. KOMES CHANDAVIMOL BUSINESS INTELLIGENCE DESIGN AND PROCESS IMC INSTITUTE INSTRUCTOR DIGITAL TRANSFORMATION STRATEGY INSTRUCTOR: ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND MR. PRINYA HOM-ANEK FINTECH FOR SENIOR MANAGEMENT INSTRUCTOR: ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM BLOCKCHAIN FOR MANAGEMENT AND EXECUTIVES INSTRUCTOR: MR. TITITORN SEMANGERN BLOCKCHAIN TECHNOLOGY FOR DEVELOPER INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG PRACTICAL CLOUD COMPUTING FOR SENIOR MANAGEMENT INSTRUCTOR: ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM PRACTICAL AZURE WORKSHOP INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG ARCHITECTING WITH GOOGLE CLOUD PLATFORM INSTRUCTOR: ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA AND TEAM AZURE IOT, MACHINE LEARNING AND ADVANCED ANALYTICS INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG BUSINESS TRIP TO CHINA INFORMATION TECHNOLOGY EXPO (CITE) BUSINESS TRIP CLOUD EXPO ASIA 2018 BUSINESS TRIP TO CHINA HI-TECH FAIR 59,000 BAHT BRING YOUR OWN COMPUTER 10,900 (EARLY BIRD 9,900) 8,900 (8,500 WITH YOUR NOTEBOOK) 10,900 (8,500 WITH YOUR NOTEBOOK) 12,900 (10,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 10,900 (8,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 12,900 (10,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 9,900 (EARLY BIRD 9,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 15,900 (12,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 56,000 (COURSE ONLY 36,900 BAHT) (BUSINESS TRIP ONLY 25,000 BAHT) CLOUD EXPO ASIA 2018 10,900 (EARLY BIRD 9,900) 8,900 (EARLY BIRD 8,500) PLEASE BRING YOUR NOTEBOOK 8,900 (EARLY BIRD 8,500) PLEASE BRING YOUR NOTEBOOK ` 59,000 EARLY BIRD 55,000 (COURSE ONLY 11,900 BAHT) (BUSINESS TRIP ONLY 45,000 BAHT) CLOUD EXPO ASIA 2017 10,900 (8,500 WITH YOUR NOTEBOOK) 10,900 (8,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 10,900 (8,500 WITH YOUR NOTEBOOK) 25,000 BAHT 45,000 BAHT 25,000 BAHT INTERMEDIATE BASIC INTERMEDIATE BASIC INTERMEDIATE INTERMEDIATE ADVANCE INTERMEDIATE ADVANCE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE ADVANCE ADVANCE TRAINING (120 HR.) 2 3 3 3 3 3 3 4 "TRAINING (35 HRS.)" 2 2 2 3 3 3 3 4 3 3 - 16 - 17 AUG - - - - - - 14-17 AUG - - - 9 - 10 AUG - - - - - - - - - - - 5 - 7 SEP - - - - - 25 - 26 OCT - - TRAINING 3-5 BUSINESS TRIP 9 - 11 OCT - 29 - 31 OCT - - 9-11 OCT - - 13-14 NOV - - - - - - - TBD - - - 18 - 20 JUL - 3 - 5 JUL - - - - - - 16 - 17 JUL - - - - 23 - 24 JUL - - - - - - 3 - 4 DEC - - - - - - - - - - - - - - - - - 2-4 OCT - - 17-19 OCT 9 - 11 OCT - - - - 6 - 8 NOV 27 - 29 NOV - - - - 19 - 21 DEC - - - - - - เริ่มเรียน 13 กันยายน 2018 (120 HR.) เรียนทุกวันพฤหัสบดี ตอนเย็น 18.00 -21.00 น. และวันเสาร์ 9.00 - 17.00 น. รุ่นที่ 2 เริ่มเรียน 18 กันยายน 2018 (35 HRS.) เรียนทุกวันอังคาร 9.00 - 17.00. น. BIG DATA TRACK DIGITAL TRANSFORMATION TRACK BLOCKCHAIN TRACK CLOUD COMPUTING TRACK BUSINESS TRIPS TRACK
  • 43. IT TRENDS | TRAINING36 DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL ENTERPRISE ARCHITECTURE IN CLOUD ERA INSTRUCTOR: MR. DANAIRAT THANABODITHAMMACHARI AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA SOA/SOA GOVERNANCE FOR EXECUTIVES INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG AND ASSOC. PROF. DR. THANACHART NUMNONDA IT ARCHITECTURE FOR THE FUTURE INSTRUCTOR: MR. SUTUM CHAIYAWAT SOA DESIGN PATTERNS INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG" IT TRENDS: SEMINAR 2019 INSTRUCTOR: 20 INSTRUCTOR FROM IT INDUSTRY SMINGFRAMEWORK IOT DEVICE (ESP8266) (C++) INSTRUCTOR: MR. SITTIPONG JANSORN" RASPBERRY PY WIN10 IOT CORE (C#) INSTRUCTOR: MR. SITTIPONG JANSORN RASPBERRY PI PYTHON PROGRAMMING (PYTHON) INSTRUCTOR: MR. SITTIPONG JANSORN ARDUINO PROGRAMMING IOT STARTING POINT INSTRUCTOR: MR. SITTIPONG JANSORN INTERNET OF THINGS DEVELOPMENT WITH ANDROID INSTRUCTOR: MR. SITTIPONG JANSORN IPHONE DEVELOPMENT USING SWIFT INSTRUCTOR: MR. THONGROP RODSAVAS ADVANCED IPHONE DEVELOPMENT USING SWIFT INSTRUCTOR: MR. THONGROP RODSAVAS AUTOMATE TESTING FOR IOS APPLICATION ON SWIFT INSTRUCTOR: MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN AND MR. THAWATCHAI JONGSUWANPISAN AUTOMATE TESTING FOR ANDROID APPLICATION INSTRUCTOR: MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN AND MR. THAWATCHAI JONGSUWANPISAN DESIGNING CROSS-PLATFORM MOBILE APPLICATION WITH CLOUD ARCHITECTURE INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG PROJECT MANAGEMENT ESSENTIALS INSTRUCTOR: MR. PIYA CHIEWCHARAT AGILE PROJECT MANAGEMENT INSTRUCTOR: SIAM CHAMNANKIT LEAN IT OVERVIEW INSTRUCTOR: MR. PIYA CHIEWCHARAT IT SERVICE MANAGEMENT OVERVIEW ITIL & ISO 20000 (V2011) INSTRUCTOR: MR. PIYA CHIEWCHARAT SOURCE CODE MANAGEMENT WITH GIT INSTRUCTOR: MR. PRATHAN DANSAKULCHAROENKIT AND MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN TEST-DRIVEN DEVELOPMENT ON JAVA INSTRUCTOR: MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN AND MR. THAWATCHAI JONGSUWANPISAN 8,900 (EARLY BIRD 7,900) REGISTRATION 3 PERSONS PAY ONLY 2 10,900 (EARLY BIRD 9,500) REGISTRATION 3 PERSONS PAY ONLY 2 59,000 EARLY BIRD 55,000 (COURSE ONLY 11,900 BAHT) (BUSINESS TRIP ONLY 45,000 BAHT) DATA CENTER WORLD 2017 10,900 (9,500 WITH YOUR NOTEBOOK) TBD 9,900 (EARLY BIRD 9,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 8,900 (EARLY BIRD 8,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 9,900 (EARLY BIRD 9,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 5,900 (EARLY BIRD 5,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 10,900 (EARLY BIRD 10,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 12,900 (EARLY BIRD 11,900) BRING YOUR OWN COMPUTER 12,900 (EARLY BIRD 11,900) BRING YOUR OWN COMPUTER 11,900 (EARLY BIRD 10,900) BRING YOUR OWN MACBOOK 11,900 (EARLY BIRD 10,900) BRING YOUR OWN COMPUTER 13,900 (11,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 17,900 (EARLY BIRD 15,900) 11,900 (EARLY BIRD 10,900) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 17,900 (EARLY BIRD 15,900)" "8,900 (EARLY BIRD 8,900) BRING YOUR OWN COMPUTER" "8,900 (EARLY BIRD 8,500) BRING YOUR OWN COMPUTER" INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE 2 2 2 2 2 3 2 3 1 4 5 4 2 2 5 3 2 1 3 2 2 - 2 - 3 AUG - - - - 20 - 21 AUG - - - - 7 - 10 AUG - - - - 28 - 29 AUG 20 AUG - - - 9 - 10 JUL - - - - - - - 11-JUL - 2 - 6 JUL - - - - 23 - 24 JUL - - - - - - - 13 - 14 SEP 17 - 18 SEP - - - 19 - 21 SEP - - ` - - 10 - 11 SEP - -` - - - 26 - 28 SEP 24 - 25 SEP - - - BUSI- NESS TRIP 9 -11 - - - - - - 8-11 OCT ` - - - - -` - - - - - - 22 - 24 NOV - - - - - - - - -` 5 - 9 NOV - - 15-16 NOV 26 - 30 NOV 28 - 30 NOV - - - - - - 6 - 7 DEC - - 13 - 14 DEC - - - - -` - - - - -` - - - - - 17 - 18 DEC IT ARCHITECTURE/STRATEGY TRACK IT TRENDS TRACK INTERNET OF THINGS (IOT) TRACK MOBILE DEVELOPMENT TRACK PROJECT/SERVICE MANAGEMENT TRACK SOFTWARE DEVELOPMENT TRACK
  • 44. TRAINING | IT TRENDS 37 INTRODUCTION TO DOCKER INSTRUCTOR: MR. SOMKIAT PUISUNGNOEN DESIGNING AND IMPLEMENTING HYBRID CLOUD APPLICATION INSTRUCTOR: MR. TEERACHAI LAOTHONG DESIGN PATTERNS & CODE ARCHITECTURE INSTRUCTOR: MR. PASSAPONG THAITHATGOON MICROSERVICE ON JAVA PLATFORM INSTRUCTOR: MR. PASSAPONG THAITHATGOON MICROSERVICES WITH SPRING BOOT INSTRUCTOR: MR. SOMMAI KRANGPANICH AGILE WORKSHOP: AN ALTERNATIVE SOFTWARE DEVELOPMENT INSTRUCTOR: SIAM CHAMNANKIT BASIC SOFTWARE TESTING INSTRUCTOR: MS. CHERAPA WANNASUK AGILE TESTING IN PRACTICE INSTRUCTOR: SIAM CHAMNANKIT SECURE SOFTWARE LIFE CYCLE INSTRUCTOR: MS. CHERAPA WANNASUK REQUIREMENT ANALYSIS, DESIGN AND MANAGEMENT INSTRUCTOR: MS. CHERAPA WANNASUK ISTQB- CERTIFIED TESTER FOUNDATION LEVEL (CTFL) TRAINING INSTRUCTOR: MR. NARUPAT KUMNURTRATH" 8,900 (EARLY BIRD 8,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 10,900 (8,900 WITH YOUR NOTEBOOK) 8,900 (EARLY BIRD 8,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 8,900 (EARLY BIRD 8,500) BRING YOUR OWN COMPUTER 11,900 BAHT (EARLY BIRD 10,900) BRING YOUR OWN NOTEBOOK 8,900 (EARLY BIRD 8,500) PLEASE BRING YOUR NOTEBOOK ON DAY 2 - 3 11,900 (EARLY BIRD 10,900) REGISTRATION 3 PERSONS PAY ONLY 2 11,900 (EARLY BIRD 10,900) BRING YOUR OWN COMPUTER 12,900 (EARLY BIRD 11,900) 12,900 (EARLY BIRD 11,900) 14,900 (EARLY BIRD 13,900)" 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 10,900 (EARLY BIRD 9,900) 10,900 (EARLY BIRD 9,900) 6,500 (EARLY BIRD 5,900) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 5,900 (EARLY BIRD 5,500) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) INTERMEDIATE ADVANCE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE INTERMEDIATE BASIC INTERMEDIATE ADVANCE INTERMEDIATE INTERMEDIATE BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC BASIC 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 2 2 3 2 3 2 2 3 - - - - - - - - - - 16 - 17 JUL 4-6 JUL - - 9 - 11 JUL 16 - 17 JUL 4-6 JUL - - 9 - 11 JUL - - - - - - - - - - - - 17 - 18 OCT 28 - 29 OCT 24 - 26 OCT - - 17 - 18 OCT 28 - 29 OCT 24 - 26 OCT 13 - 14 NOV - - - - 13 - 14 NOV - - - - - - - - - - - - - - ONREQUEST ONREQUEST ONREQUEST SOFTSKILL TRACK SOFTSKILL: MANAGEMENT TRAINING SOFTSKILL: SALES TRAINING SOFTSKILL: IT LEADERSHIP IT LEADER AS A COACH OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI PRACTICAL TIME MANAGEMENT OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI MANAGEMENT TRAINING FOR THE DIGITAL ERA OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM SALES TRAINING CONDENSED COURSE OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM EFFECTIVE NEGOTIATION SKILLS OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM HOW TO CREATE VALUE ADDED TO IT SOLUTION OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM CONSTRUCTIVE FEEDBACK SIMULATION WORKSHOP OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI SHARPEN YOUR CREATIVITY SKILLS OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM PROMOTING IT SERVICE EXCELLENCE OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM BUILDING HIGH PERFORMANCE TEAM OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM COMMUNICATION 3.0 OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL SOFTWARE DEVELOPMENT TRACK SOFTWARE ENGINEERING TRACK
  • 45. IT TRENDS | TRAINING38 สถาบันไอเอ็มซีให้บริการหลักสูตร IN-HOUSE TRAINING โดยออกแบบเนื้อหาให้เหมาะ กับความต้องการของแต่ละองค์กร ไม่ว่าจะเป็นความต้องการในระดับพื้นฐาน ระดับปฏิบัติ หรือระดับสูง ซึ่งสามารถเรียนรู้เฉพาะเจาะจงได้ตามเป้าหมายหลัก สถาบันมีหลักสูตรอบรม เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถน�าไปใช้เพิ่มประสิทธิภาพการท�างาน คุณภาพของผลงาน อันน�าไปสู่การเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขันในตลาดได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีทีมวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ร่วมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ หลักสูตรที่เปิดให้บริการ และออกแบบเนื้อหาการเรียนการสอนให้กับองค์กร ได้แก่ IT TRENDS, BIG DATA, CLOUD COMPUTING, ENTERPRISE ARCHITECTURE, DIGITAL TRANSFORMATION, SOFTWARE DEVELOPMENT, AGILE WORKSHOP, BLOCKCHAIN, MOBILE DEVELOPMENT, PROJECT MANAGEMENT เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีหลักสูตรทางด้านพัฒนาทักษะต่างๆ (SOFT SKILL) เช่น SALES TECHNIQUE, IT LEADER AS A COACH, TIME MANAGEMENT, EFFECTIVE NEGOTIATION SKILLS, PROMOTING IT SERVICE EXCELLENCE, BUILDING HIGH PERFORMING TEAM อีกด้วย IN-HOUSE TRAINING สนใจจัดอบรมแบบ INHOUSE หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ IMC INSTITUTE คุณชลาลัย ใจหาญ (นํ้า) CORPORATE TRAINING PROGRAM AND PROJECT CONSULTANT MOBILE: 082-452-6464 E-MAIL: CHALALAI@IMCINSTITUTE.COM DESCRIPTION LEVELRATE DAY DECNOVOCTSEPAUGJUL CONSTRUCTIVE FEEDBACK SIMULATION WORKSHOP OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI" PRESENTING WITH CONFIDENCE: SIMULATION WORKSHOP OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: MS. KANNIKAR SETHI" สุนทรียสนทนา (DIALOGUE) ส�าหรับนักบริหารสารสนเทศ OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM" EFFECTIVE COLLABORATION WORK USING MODERN IT TOOLS OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IMC INSTITUTE TEAM" IEEE TECHNICAL PRESENTATION WORKSHOP OUTLINE LREGISTER INSTRUCTOR: IEEE CERTIFIED INSTRUCTOR IEEE TECHNICAL WRITING WORKSHOP OUTLINE L REGISTER INSTRUCTOR: IEEE CERTIFIED INSTRUCTOR 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 11,900 (EARLY BIRD 10,900) 6,900 (EARLY BIRD 6,500) 7,900 DURING THE PROMOTION 5,500 (EARLY BIRD 4,900 BAHT) WITH YOUR OWN COMPUTER 12,900 (EARLY BIRD 11,900) 12,900 (EARLY BIRD 11,900) BASIC BASIC BASIC BASIC INTERMEDIATE INTERMEDIATE 1 2 1 2 2 2 SOFTSKILL: IT LEADERSHIP SOFTSKILL: IEEE COURSES ONREQUEST ONREQUEST ตัวอย่างหน่วยงานที่สถาบันให้การออกแบบเนื้อหาและท�าการอบรม มีดังนี้