SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
หน่วยที่ 5




การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพตามแนวทางของ
                     ญี่ปุ่น
แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของญี่ปุ่น

1.   การควบคุมตามมาตรฐาน อาจไม่ทำาให้ลูกค้าพึงพอใจ
2.   การควบคุมคุณภาพโดยมุ่งเน้นไปที่ลูกค้า
3.   คุณภาพ มีความสำาคัญกับการควบคุมคุณภาพ
4.   สินค้าที่มีคุณภาพสูงบางทีก็ไม่มีประโยชน์เนื่องจากสินค้าที่มีราคา
     แพงเกินความจำาเป็น
สิ่งที่ต้องคำานึงถึงในการควบคุมตามมาตรฐานคุณภาพ
                      การควบคุมทีดี คือ การเห็นพ้องต้องกันในการแก้
                                 ่
                 ปัญหาและการศึกษาจากลูกค้าพร้อมกับแก้ไขปัญหาตาม
                 ความประสงค์ของลูกค้า
มาตรฐานการควบคุมคุณภาพของญี่ปุ่น

  1. คุณภาพที่แท้จริง
  2. คุณภาพที่เป็นตัวแทน
   - คุณภาพที่เข้ากันได้ เป็นการกำาหนดว่าสินค้า
     ที่ผลิตออกมามีคุณภาพตามเป้าหมายหรือไม่
ระบุลักษณะคุณภาพทีแท้จริง
                       ่


              ทดสอบ
        กำาหนดเป็นมาตรฐาน
คุณลักษณะของคุณภาพทีเป็นตัวแทน
                    ่
ข้อบ่งชัดของคุณภาพที่แท้จริง
กำาหนดหน่วยรับประกัน
กำาหนดวิธีวัด
กำาหนดคุณลักษณะของคุณภาพที่สำาคัญอาจมีลักษณะ
สร้างความเข้าใจในเรื่องของเสียและของมีตำาหนิ
กำาหนดของเสียแฝงมาแต่เราสามารถมองเห็นได้
การประเมินคุณภาพโดยวิธีทางสถิติการผลิตสินค้า
คุณภาพที่เป็นเป้าหมาย
แนวทางการควบคุมคุณภาพ มี 6 ขั้นตอน

1. กำาหนดเป้าหมายและจุดประสงค์ซึ่งมาจากนโยบาย
   ของระดับต่าง ๆ
         ความสำาคัญไม่ควรเกิน 3 ลำาดับ หรือ 5
          ลำาดับ
         มีจุดมุ่งหมาย คือ
                  1) จุดมุ่งหมายลำาดับความสำาคัญ
                   2) จุดมุ่งหมายของงานประจำา
         เกิดการควบคุม 2 แบบ คือ
                       1) การควบคุมตามลำาดับความ
          สำาคัญ
                     2) การควบคุมงานประจำา
2. กำาหนดแนวทางปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย
         องค์กรหลีกเลี่ยง 2 ปัญหา คือ
             1) มาตรการและข้อบังคับ
             2) พนักงานบางคนชอบเผด็จการ
         การควบคุมกระบวนการดำาเนินงาน มี
             1) การควบคุมแบบมองไว้ก่อน
             2) การควบคุมแบบมองไว้หลัง
         การจัดระเบียบขององค์กรต้องควบคุม
          สมาชิกทุกฝ่าย
3. การฝึกอบรมและให้ความรู้
4. ความสมัครใจในการปฏิบัติ
5. การประเมินผลการควบคุม

  การตรวจสอบมี 2 ขันตอน
                   ้
   – 1. การตรวจสอบสาเหตุ
   – 2. การตรวจสอบผล
วิธการประกันคุณภาพของญี่ปุ่น
   ี

   1. มุ่งเน้นไปที่การควบคุมวิธีดำาเนินการ
   2. มุ่งไปที่การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
   3. ปรับปรุงแก้ไขปัญหากับสินค้าที่ไม่
      ได้มาตรฐาน
   4. การหาแนวทางป้องกันปัญหาเก่าที่
      อาจเกิดขึ้นอีก
การตรวจสอบคุณภาพที่ไม่ประสบผลสำาเร็จ
 1. เสียเวลา สร้างภาระ
 2. มุ่งไปที่ความรับผิดชอบของผู้ผลิต
 3. ฝ่ายตรวจสอบตรวจพบปัญหาส่งให้ฝ่าย
    ผลิตล่าช้า
 4. การเร่งผลิตสินค้า
 5. การสุ่มตัวอย่างทางสถิติ
 6. คุณภาพบางอย่างไม่สามารถกำาหนดได้
    ด้วยวิธีการ
        ตรวจสอบ
 7. เมื่อพบของเสียต้องมาปรับปรุง
ดำาเนินการแก้ไขปัญหาเมือได้ส่งสินค้าที่
                       ่
ไม่มคุณภาพ
    ี
     - รีบเปลี่ยนสินค้าให้ลูกค้าใหม่เพื่อรักษาชื่อเสียงไว้
     - รวมระยะเวลารับประกัน และกำาหนดการบริการซ่อม
         ฟรีให้ชัดเจน
     - การจ่ายเงินชดเชยตามสัญญา ควรระบุเงื่อนไขให้
         แน่ชัด
     - จัดตั้งสถานีบริการ ตั้งเป็นศูนย์บริการเชื่อมโยง
การจัดคู่มือและวิธีการใช้ตรวจสอบต่าง ๆ แก่ลูกค้า
สนับสนุนชิ้นส่วนตลอดการใช้งาน

Más contenido relacionado

Destacado (7)

L6
L6L6
L6
 
L2
L2L2
L2
 
Library
LibraryLibrary
Library
 
L2
L2L2
L2
 
L3
L3L3
L3
 
L4
L4L4
L4
 
Deming4[1]
Deming4[1]Deming4[1]
Deming4[1]
 

Similar a L5

ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ป๊อ สมชาย ช่างเชื่อม
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
Nukool Thanuanram
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
Mobile_Clinic
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
puyss
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
sangkom
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
Attachoke Putththai
 
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
pomswu
 

Similar a L5 (20)

ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
Lesson6 7
Lesson6 7Lesson6 7
Lesson6 7
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
14 2
14 214 2
14 2
 
L1
L1L1
L1
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
Category management
Category managementCategory management
Category management
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
 
5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล
 
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
 
Qa 2-1
Qa 2-1Qa 2-1
Qa 2-1
 

L5