SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
รายวิชา คณิตศาสตร์ พนฐาน
                    ื้                               กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
สาระหลักที่ 4: พีชคณิต
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การประยุกต์ของสมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว                                              จานวน 10 ชั่วโมง
เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว                                                                        จานวน 1 ชั่วโมง
ใช้ สอน ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ...................    คาบที.่ ........................
         ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ...................   คาบที.่ ........................
         ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ...................   คาบที.่ ........................
         ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ...................   คาบที.่ ........................


มาตรฐานการเรียนรู้
 มาตรฐาน ค ๔.๒                ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ
แทนสถานการณ์ต่าง ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
                         ๆ
          ค.4.2.1 แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวพร้อมทั้งตระหนักงความสมเหตุ สมผลของ
                                                                                   ถึ
คาตอบ
สาระสาคัญ
          สมการ คือ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของจานวน โดยมีสญลักษณ์ = บอกการเท่ากัน
                                                                  ั
           สมการมี x เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัว และ a ≠ 0
                                               ่
เรี ยกว่า สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้
          1. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
          2. สมบัติการเท่ากัน
จุดประสงค์การเรียนรู้ (K – P – A)
          ด้ านความรู้ (K) นักเรียนมีความสามารถ
                   1. บอกความหมายของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้
                   2. อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติการเท่ากันได้
          ด้ านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนมีความสามารถ
                   1. ให้เหตุผล
                   2. สื่อสาร
                   3. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ                (A) นักเรียนมีความสามารถ
                      1. ทางานอย่างเป็ นระบบระเบียบ
                      2. มีระเบียบวินย
                                     ั
                      3. มีความรับผิดชอบ
ชิ้นงาน หรือ ภาระงาน
         - ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
         - ใบงานที่ 3.1 เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
         - แบบฝึ กกิจกรรม เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมการเรียนรู้
         ทบทวนความรู้เดิม
         1. เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวซึ่งเป็ นสมการที่มี x เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0
                                                                                      ่
เมื่อ a,b เป็ นค่าคงตัว และ a  0 โดยครู ต้งคาถามให้นกเรี ยนบอกถึงความหมายของสมการเชิงเส้นตัว
                                                ั         ั
แปรเดียว เมื่อนักเรี ยนสามารถบอกความหมายได้แล้ว ครู ยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวให้นกเรี ยน   ั
ดูบนกระดาน
         สอนเนือหาใหม่
                    ้
         2. ครู ยกตัวอย่างบนกระดาน 2- 3 ตัวอย่าง สุ่มนักเรี ยนเป็ นแต่ละคนตอบคาถามว่าสมการใดเป็ น
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
         3. ครู ช้ ีแจงกับนักเรี ยนว่า การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ การนาสมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียวที่นกเรี ยนเคยเรี ยนมาแล้วไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ต่างๆ ซึ่งมีปัญหาหรื อ
                ั
สถานการณ์มากมายในชีวิตจริ งที่เราสามารถแก้ปัญหาเหล่านั้นได้โดยใช้ความรู้เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว
         4. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติการเท่ากัน โดยครู เป็ นผูแนะนา
                                                                            ้
สมบัติการเท่ากัน ได้แก่
                  1 ) สมบัติสมมาตร
                 ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a , b แทนจานวนจริ งใด ๆ
                 2 ) สมบัติถ่ายทอด
                 ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
                 3 ) สมบัติการบวก
                 ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
                 4 ) สมบัติการคูณ
                 ถ้า a = b แล้ว ac = bc เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
สรุป
        5. นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปเกี่ยวกับสมการ ดังนี้
      สมการซึ่งมี X เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัวและ a  0
                                                ่
เรี ยกว่า สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมบัติการเท่ากัน ได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบิถ่ายทอด สมบัติการบวก
สมบัติการคูณ
          ฝึ กทักษะ
          6. ครู แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเป็ น กลุ่ม ๆ ละ 5 - 6 คน แจกใบความรู้ที่ 3.1 และ แบบฝึ กกิจกรรม 3.1
ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม
      ั
          7. ครู ช้ ีแจงวิธีทาและบอกนักเรี ยนว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องช่วยกันหาคาตอบ
          8. ครู เฉลยคาตอบบนกระดาน ให้นกเรี ยนแลกเปลี่ยนกันระหว่างกลุ่มเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
                                                  ั
เสร็ จแล้วแต่ละกลุ่มส่งกระดาษคาตอบเป็ นผลงานกลุ่ม
          9. ครู แจ้งผลคะแนนจากการทาแบบฝึ กกิจกรรม 3.1 ของแต่ละกลุ่มให้นกเรี ยนทราบ กล่าวชมเชย
                                                                                  ั
กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด(บวกคะแนนพิเศษ) และให้กาลังใจกลุ่มที่ได้คะแนนน้อยกว่า
          10. ครู แจก ใบงานที่ 3.1 ให้นกเรี ยนทุกคนเพื่อทาส่งเป็ นการบ้าน
                                           ั
          นาไปใช้
        นักเรี ยนสามารถนาความรู้ เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์
ต่างๆ ซึ่งมีปัญหาหรื อสถานการณ์มากมายในชีวิตจริ งที่เราสามารถแก้ปัญหาเหล่านั้นได้โดยใช้ความรู้เรื่ อง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

         ขั้นประเมินผล
         11. ประเมินผลโดย การถาม-ตอบ การทาใบงาน 3.1 และแบบฝึ กกิจกรรม 3.1 เรื่ องสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
         สื่อการเรียนรู้
                   1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื ้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
                   2. ใบงาน เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
         แหล่งการเรียนรู้
                   1. ห้องสมุดโรงเรี ยน
                   2. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์
การวัดผลและประเมินผล
     สิ่งที่วด
             ั         วิธีการวัด             เครื่ องมือวัด              การประเมินผล
 1. ด้านความรู้ ตรวจใบงานที่ 3.1             ใบงานที่ 3.1      ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 และทาได้
 ความเข้าใจ                                                    ถูกต้องไม่นอยกว่าร้อยละ 50
                                                                           ้
 2. ทักษะ /     ตรวจแบบฝึ กกิจกรรม           แบบฝึ ก           ตอบคาถามได้ถกต้อง
                                                                               ู
 กระบวนการ                                   กิจกรรม           มีการแก้ไขเมื่อทาผิด
                                                               ทาได้ถกต้องไม่นอยกว่าร้อยละ 70
                                                                      ู          ้
 3. คุณลักษณะ สังเกตพฤติกรรม                 แบบสังเกต         ได้คะแนนรวมไม่นอยกว่าร้อยละ 80
                                                                                   ้
 อันพึ่ง
 ประสงค์

เกณฑ์การวัดและประเมินผล
  1. ด้ านความรู้ ตอบคาถามได้ถกต้อง มีการแก้ไขเมื่อทาผิด ทาได้ถกต้องไม่นอยกว่าร้อยละ 50
                              ู                                ู        ้

   คะแนน /ความหมาย                             ความสามารถที่ปรากฏให้ เห็น
        3/ ดีมาก          อธิบาย/การแสดงวิธีทาชัดเจน สมบูรณ์ คาตอบถูกต้อง ครบถ้วน
        2 / พอใช้         อธิบาย/แสดงวิธีทายังไม่ชดเจนนัก แต่อยูในแนวทางที่ถกต้อง คาตอบ
                                                  ั             ่           ู
                          ถูกต้อง ครบถ้วน
       1/ ควรแก้ไข
                          อธิบาย/การแสดงวิธีทาไม่ชดเจนนัก แต่อยูในแนวทางที่ถกต้อง คาตอบไม่
                                                  ั             ่           ู
                          ถูกต้อง

2. ด้ านทักษะ/กระบวนการ ได้คะแนนรวมจากการประเมินอย่างน้อยร้อยละ 70
                                                        ระดับคะแนน
        รายการประเมิน
                                           2                                   1
   1. การให้เหตุผล       เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ พยายามเสนอแนวคิดประกอบการ
                         และให้เหตุผลประกอบ                   ตัดสินใจ แต่ไม่มีเหตุผลประกอบ
   2. การแก้ปัญหา        มีกาหนดขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่าง มีการกาหนดขั้นตอนการแก้ปัญหา
                         เป็ นระบบ มีการปรึ กษาภายในกลุ่ม แต่ไม่เป็ นระบบหรื อไม่เป็ นกลุ่ม
  3. การเชื่อมโยง        นาความรู้เดิมสรุ ปเป็ นความรู้ใหม่ นาความรู้เดิมสรุ ปเป็ นความรู้ใหม่
                         และให้เหตุผลประกอบ หรื อ             แต่ไม่ให้เหตุผลประกอบ
                         นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
4. การสื่อสาร สื่อ        มีการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม       มีการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม แต่
 ความหมาย และนาเสนอ        นาเสนอหน้าชั้นเรี ยนได้ชดเจน
                                                   ั         นาเสนอหน้าชั้นเรี ยนไม่ชดเจน
                                                                                     ั
  5. ความคิดริ เริ่ ม      มีความคิดแปลกใหม่ สามารถ          มีแนวคิดไม่แปลกใหม่ นาไปปฏิบติ
                                                                                          ั
 สร้างสรรค์                นาไปปฏิบติได้ถกต้อง
                                     ั    ู                  ได้ถกต้อง
                                                                 ู

ระดับคุณภาพ
 ได้คะแนนรวม 8-10 คะแนน ถือว่าคุณภาพอยูในระดับ ดีมาก
                                       ่
 ได้คะแนนรวม 5-7                 คะแนน ถือว่าคุณภาพอยูในระดับ พอใช้
                                                      ่
              ได้คะแนนรวม 1-4 คะแนน ถือว่าคุณภาพอยูในระดับ ควรแก้ไข
                                                        ่
3. ด้ านคุณลักษณะที่พงประสงค์ ได้ คะแนนจากการประเมินอย่างน้ อยร้ อยละ 80
                     ึ

   คะแนน/
                                        คุณลักษณะที่ปรากฏให้ เห็น
  ความหมาย
     8-10/  ปฏิบติได้ดวยตนเองหรื อเป็ นแบบอย่างแก่ผอื่นได้ในการปฏิบติงานทางคณิ ตศาสตร์
                 ั     ้                             ู้             ั
    ดีมาก   อย่างมีระบบรอบคอบ มีระเบียบวินย มีความรับผิดชอบ ทางานร่ วมกับผูอื่นได้และ
                                              ั                              ้
            รับฟังความคิดเห็นของผูอื่น
                                     ้
     5-7/   ปฏิบติตนตามคาแนะนาหรื อชี้แนะในการปฏิบติงานทางคณิ ตศาสตร์อย่างมีระบบ
                   ั                                    ั
    พอใช้   รอบคอบ มีระเบียบวินย มีความรับผิดชอบ ทางานร่ วมกับผูอื่นได้และรับฟัง
                                   ั                              ้
            ความคิดเห็นของผูอื่น
                               ้
     1-4/   ไม่สามารถปฏิบติตนตามคาแนะนาด้วยตนเอง ต้องมีการกากับ ติดตามอยูเ่ สมอ ใน
                             ั
   ควรแก้ไข การปฏิบติงานทางคณิ ตศาสตร์อย่างมีระบบรอบคอบ มีระเบียบวินย มีความรับผิดชอบ
                     ั                                                  ั
            ทางานร่ วมกับผูอื่นได้และรับฟังความคิดเห็นของผูอื่น
                           ้                               ้

กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....
ข้ อเสนอแนะของผู้บริหาร/ครูพเี่ ลียง
                                  ้
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………….....



                      ลงชื่อ................................................................ผูประเมิน
                                                                                                ้
                        (.......................................................................)
                                     ......./......................../...............
บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
   1. ผลการสอน
       ด้านความรู้
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………...…….
       ด้านทักษะ / กระบวนการ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
       ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………............

  2. ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
  3. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..

                                   ลงชื่อ....................................................................
                                                  (นายชัยเมธี ใจคุมเก่า)       ้
               นักศึกษาปฏิบติงานวิชาชีพครู
                           ั                                                               2
                                          โรงเรี ยนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร
                                              ......./.................../...............
ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว

        สมการ เป็ นประโยคที่แสดงการเท่ ากันของจานวน โดยมีสัญลักษณ์ = บอกการเท่ ากัน
ซึ่งสมการอาจมีตวแปรหรื อไม่มีตวแปรก็ได้ เช่น 3x + 2 = 59 เป็ นสมการที่มี x ตัวแปร และ
                ั                 ั
8 - 11 = -3 เป็ นสมการที่ไม่มีตวแปร
                                ั
        สมการซึ่งมี x เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัวและ
                                           ่
a  0 เรี ยกว่า สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว เช่น
                                   1
        1) 2x = 0           2)       x3 0
                                   2
        3 ) - 0.8y - 1.4 = 0 4 ) 3x – 5 = 0

คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะมีเพียงคาตอบเดียว ดังตัวอย่าง
                               5
สมการ          2x – 5 = 0 มี       เป็ นคาตอบ
                               2
สมการ          - 4 y = 0 มี 0 เป็ นคาตอบ
                 5
                1
สมการ              x–7=0   มี 14 เป็ นคาตอบ
                2


สมบัตการเท่ ากัน
     ิ
       1 ) สมบัติสมมาตร
       ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a , b แทนจานวนจริ งใด ๆ เช่น ถ้า x - 3 = 2x + 7 แล้ว
        2x + 7 = x - 3
       2 ) สมบัติถ่ายทอด
       ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
       เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
       เช่น ถ้า x = 5 + 7 และ 5 + 7 = 12
       แล้ว x = 12
       3 ) สมบัติการบวก
       ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
       เช่น ถ้า x = 5 แล้ว x + 3 = 5 + 3
       4 ) สมบัติการคูณ
       ถ้า a = b แล้ว ac = bc เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
       เช่น ถ้า x + 1 = 2n แล้ว 3 (x + 1) = 3(2n )
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว

คำชี้แจง : จงบอกความหมายของข้ อความต่ อไปนี ้

1. สมการ คือ ...................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ ....................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

3. จงยกตัวอย่างของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มา 3 สมการ
       3.1 ...........................................................
       3.2 ...........................................................
       3.3 ...........................................................

4. คาตอบของสมการ คือ .................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

5.จงอธิบาย สมบัติของการเท่ากัน ดังต่อไปนี้
              5.1 สมบัติการบวก..............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
              5.2 สมบัติการคูณ..............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
              5.3 สมบัติถ่ายทอด..............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
              5.4 สมบัติสมมาตร..............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
แบบฝึ กกิจกรรม เรื่อง สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว

          ชื่อกลุ่ม..................................................................................................ชั้น.............................
                  1. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่...........
                  2. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่...........
                  3. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่...........
                  4. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่...........

1.จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการบวก
              1) ถ้า a = b                     แล้ว...........................
              2) ถ้า......................... แล้ว a + 3 = 5 + 3
              3) ถ้า.......................... แล้ว (x + 5) – 5 = 3 – 5
2. จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการคูณ
               1) ถ้า a = b                     แล้ว...........................
              2) ถ้า......................... แล้ว a × 5 = 5 × 5
              3) ถ้า.......................... แล้ว 2(m + 2) = 2(5m)
3. จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการถ่ายทอด
                 1) ถ้า x = 5 + 7 และ 5 + 7 = 12 ดังนั้น......................................
                2) ถ้า a + b = c และ c = 7                          แล้ว.........................................
                3) ถ้า x = -3y และ -3y = 0.5                        ดังนั้น......................................
4. จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการสมมาตร
               1) ถ้า a + b = c                  ดังนั้น......................................
               2) ถ้า x – 3 = 2x + 7 ดังนั้น......................................
               3) ถ้า......................... ดังนั้น 3x = 8
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลของนักเรียนในกระบวนการกลุ่ม
        ชื่อกลุ่ม ........................................................ เรื่ อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้น ...............
                                                                                    พฤติกรรม
ลา




                                                                            การยอมรับฟัง




                                                                                                              กระบวนการ
                                               ความร่ วมมือ


                                                              ความคิดเห็น
                                                                                                                            ผลการ




                                                                                             ความตั้งใจ
ดับ               ชื่อ-สกุล




                                                              การแสดง
                                                                                                                            ประเมิน




                                                                                                              ทางาน
 ที่




                                                                            ผูอื่น
                                                                              ้
                                              2           1    2      1      2       1      2             1    2    1




เกณฑ์ การให้ คะแนน             2 = ปฏิบติสม่าเสมอ
                                       ั
                               1 = ปฏิบติเป็ นบางครั้ง
                                       ั

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
Seohyunjjang
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
Watcharinz
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
Ocean'Funny Haha
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
Biobiome
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
krupornpana55
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 

La actualidad más candente (20)

เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
 
Tessellations
TessellationsTessellations
Tessellations
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
 
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 

Destacado (8)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 

Similar a แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว

แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
srkschool
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
krutew Sudarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
krusongkran
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
sasamart02
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
kruannchem
 

Similar a แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว (20)

Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Más de ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 

Más de ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า (8)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชา คณิตศาสตร์ พนฐาน ื้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 สาระหลักที่ 4: พีชคณิต หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การประยุกต์ของสมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว จานวน 10 ชั่วโมง เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว จานวน 1 ชั่วโมง ใช้ สอน ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ................... คาบที.่ ........................ ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ................... คาบที.่ ........................ ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ................... คาบที.่ ........................ ม. 2/... วัน ................... ที่ ....... เดือน ....................... พ.ศ. ................... คาบที.่ ........................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ๆ ค.4.2.1 แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวพร้อมทั้งตระหนักงความสมเหตุ สมผลของ ถึ คาตอบ สาระสาคัญ สมการ คือ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของจานวน โดยมีสญลักษณ์ = บอกการเท่ากัน ั สมการมี x เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัว และ a ≠ 0 ่ เรี ยกว่า สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาระการเรียนรู้ 1. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. สมบัติการเท่ากัน จุดประสงค์การเรียนรู้ (K – P – A) ด้ านความรู้ (K) นักเรียนมีความสามารถ 1. บอกความหมายของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 2. อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติการเท่ากันได้ ด้ านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนมีความสามารถ 1. ให้เหตุผล 2. สื่อสาร 3. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
  • 2. ด้ านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมีความสามารถ 1. ทางานอย่างเป็ นระบบระเบียบ 2. มีระเบียบวินย ั 3. มีความรับผิดชอบ ชิ้นงาน หรือ ภาระงาน - ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - ใบงานที่ 3.1 เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - แบบฝึ กกิจกรรม เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว กิจกรรมการเรียนรู้ ทบทวนความรู้เดิม 1. เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวซึ่งเป็ นสมการที่มี x เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 ่ เมื่อ a,b เป็ นค่าคงตัว และ a  0 โดยครู ต้งคาถามให้นกเรี ยนบอกถึงความหมายของสมการเชิงเส้นตัว ั ั แปรเดียว เมื่อนักเรี ยนสามารถบอกความหมายได้แล้ว ครู ยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวให้นกเรี ยน ั ดูบนกระดาน สอนเนือหาใหม่ ้ 2. ครู ยกตัวอย่างบนกระดาน 2- 3 ตัวอย่าง สุ่มนักเรี ยนเป็ นแต่ละคนตอบคาถามว่าสมการใดเป็ น สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3. ครู ช้ ีแจงกับนักเรี ยนว่า การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ การนาสมการเชิงเส้นตัว แปรเดียวที่นกเรี ยนเคยเรี ยนมาแล้วไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ต่างๆ ซึ่งมีปัญหาหรื อ ั สถานการณ์มากมายในชีวิตจริ งที่เราสามารถแก้ปัญหาเหล่านั้นได้โดยใช้ความรู้เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว 4. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติการเท่ากัน โดยครู เป็ นผูแนะนา ้ สมบัติการเท่ากัน ได้แก่ 1 ) สมบัติสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a , b แทนจานวนจริ งใด ๆ 2 ) สมบัติถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ 3 ) สมบัติการบวก ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ 4 ) สมบัติการคูณ ถ้า a = b แล้ว ac = bc เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ
  • 3. สรุป 5. นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปเกี่ยวกับสมการ ดังนี้ สมการซึ่งมี X เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัวและ a  0 ่ เรี ยกว่า สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมบัติการเท่ากัน ได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบิถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ ฝึ กทักษะ 6. ครู แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเป็ น กลุ่ม ๆ ละ 5 - 6 คน แจกใบความรู้ที่ 3.1 และ แบบฝึ กกิจกรรม 3.1 ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม ั 7. ครู ช้ ีแจงวิธีทาและบอกนักเรี ยนว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องช่วยกันหาคาตอบ 8. ครู เฉลยคาตอบบนกระดาน ให้นกเรี ยนแลกเปลี่ยนกันระหว่างกลุ่มเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ั เสร็ จแล้วแต่ละกลุ่มส่งกระดาษคาตอบเป็ นผลงานกลุ่ม 9. ครู แจ้งผลคะแนนจากการทาแบบฝึ กกิจกรรม 3.1 ของแต่ละกลุ่มให้นกเรี ยนทราบ กล่าวชมเชย ั กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด(บวกคะแนนพิเศษ) และให้กาลังใจกลุ่มที่ได้คะแนนน้อยกว่า 10. ครู แจก ใบงานที่ 3.1 ให้นกเรี ยนทุกคนเพื่อทาส่งเป็ นการบ้าน ั นาไปใช้ นักเรี ยนสามารถนาความรู้ เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ต่างๆ ซึ่งมีปัญหาหรื อสถานการณ์มากมายในชีวิตจริ งที่เราสามารถแก้ปัญหาเหล่านั้นได้โดยใช้ความรู้เรื่ อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ขั้นประเมินผล 11. ประเมินผลโดย การถาม-ตอบ การทาใบงาน 3.1 และแบบฝึ กกิจกรรม 3.1 เรื่ องสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียว สื่อ/แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื ้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 2. ใบงาน เรื่ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรี ยน 2. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์
  • 4. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่วด ั วิธีการวัด เครื่ องมือวัด การประเมินผล 1. ด้านความรู้ ตรวจใบงานที่ 3.1 ใบงานที่ 3.1 ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 และทาได้ ความเข้าใจ ถูกต้องไม่นอยกว่าร้อยละ 50 ้ 2. ทักษะ / ตรวจแบบฝึ กกิจกรรม แบบฝึ ก ตอบคาถามได้ถกต้อง ู กระบวนการ กิจกรรม มีการแก้ไขเมื่อทาผิด ทาได้ถกต้องไม่นอยกว่าร้อยละ 70 ู ้ 3. คุณลักษณะ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนรวมไม่นอยกว่าร้อยละ 80 ้ อันพึ่ง ประสงค์ เกณฑ์การวัดและประเมินผล 1. ด้ านความรู้ ตอบคาถามได้ถกต้อง มีการแก้ไขเมื่อทาผิด ทาได้ถกต้องไม่นอยกว่าร้อยละ 50 ู ู ้ คะแนน /ความหมาย ความสามารถที่ปรากฏให้ เห็น 3/ ดีมาก อธิบาย/การแสดงวิธีทาชัดเจน สมบูรณ์ คาตอบถูกต้อง ครบถ้วน 2 / พอใช้ อธิบาย/แสดงวิธีทายังไม่ชดเจนนัก แต่อยูในแนวทางที่ถกต้อง คาตอบ ั ่ ู ถูกต้อง ครบถ้วน 1/ ควรแก้ไข อธิบาย/การแสดงวิธีทาไม่ชดเจนนัก แต่อยูในแนวทางที่ถกต้อง คาตอบไม่ ั ่ ู ถูกต้อง 2. ด้ านทักษะ/กระบวนการ ได้คะแนนรวมจากการประเมินอย่างน้อยร้อยละ 70 ระดับคะแนน รายการประเมิน 2 1 1. การให้เหตุผล เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ พยายามเสนอแนวคิดประกอบการ และให้เหตุผลประกอบ ตัดสินใจ แต่ไม่มีเหตุผลประกอบ 2. การแก้ปัญหา มีกาหนดขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่าง มีการกาหนดขั้นตอนการแก้ปัญหา เป็ นระบบ มีการปรึ กษาภายในกลุ่ม แต่ไม่เป็ นระบบหรื อไม่เป็ นกลุ่ม 3. การเชื่อมโยง นาความรู้เดิมสรุ ปเป็ นความรู้ใหม่ นาความรู้เดิมสรุ ปเป็ นความรู้ใหม่ และให้เหตุผลประกอบ หรื อ แต่ไม่ให้เหตุผลประกอบ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
  • 5. 4. การสื่อสาร สื่อ มีการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม มีการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม แต่ ความหมาย และนาเสนอ นาเสนอหน้าชั้นเรี ยนได้ชดเจน ั นาเสนอหน้าชั้นเรี ยนไม่ชดเจน ั 5. ความคิดริ เริ่ ม มีความคิดแปลกใหม่ สามารถ มีแนวคิดไม่แปลกใหม่ นาไปปฏิบติ ั สร้างสรรค์ นาไปปฏิบติได้ถกต้อง ั ู ได้ถกต้อง ู ระดับคุณภาพ ได้คะแนนรวม 8-10 คะแนน ถือว่าคุณภาพอยูในระดับ ดีมาก ่ ได้คะแนนรวม 5-7 คะแนน ถือว่าคุณภาพอยูในระดับ พอใช้ ่ ได้คะแนนรวม 1-4 คะแนน ถือว่าคุณภาพอยูในระดับ ควรแก้ไข ่ 3. ด้ านคุณลักษณะที่พงประสงค์ ได้ คะแนนจากการประเมินอย่างน้ อยร้ อยละ 80 ึ คะแนน/ คุณลักษณะที่ปรากฏให้ เห็น ความหมาย 8-10/ ปฏิบติได้ดวยตนเองหรื อเป็ นแบบอย่างแก่ผอื่นได้ในการปฏิบติงานทางคณิ ตศาสตร์ ั ้ ู้ ั ดีมาก อย่างมีระบบรอบคอบ มีระเบียบวินย มีความรับผิดชอบ ทางานร่ วมกับผูอื่นได้และ ั ้ รับฟังความคิดเห็นของผูอื่น ้ 5-7/ ปฏิบติตนตามคาแนะนาหรื อชี้แนะในการปฏิบติงานทางคณิ ตศาสตร์อย่างมีระบบ ั ั พอใช้ รอบคอบ มีระเบียบวินย มีความรับผิดชอบ ทางานร่ วมกับผูอื่นได้และรับฟัง ั ้ ความคิดเห็นของผูอื่น ้ 1-4/ ไม่สามารถปฏิบติตนตามคาแนะนาด้วยตนเอง ต้องมีการกากับ ติดตามอยูเ่ สมอ ใน ั ควรแก้ไข การปฏิบติงานทางคณิ ตศาสตร์อย่างมีระบบรอบคอบ มีระเบียบวินย มีความรับผิดชอบ ั ั ทางานร่ วมกับผูอื่นได้และรับฟังความคิดเห็นของผูอื่น ้ ้ กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………..... ……………………………………………………………………………………………………………….....
  • 6. ข้ อเสนอแนะของผู้บริหาร/ครูพเี่ ลียง ้ ………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………..... ลงชื่อ................................................................ผูประเมิน ้ (.......................................................................) ......./......................../...............
  • 7. บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผลการสอน ด้านความรู้ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………...……. ด้านทักษะ / กระบวนการ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………............ 2. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ.................................................................... (นายชัยเมธี ใจคุมเก่า) ้ นักศึกษาปฏิบติงานวิชาชีพครู ั 2 โรงเรี ยนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร ......./.................../...............
  • 8. ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว สมการ เป็ นประโยคที่แสดงการเท่ ากันของจานวน โดยมีสัญลักษณ์ = บอกการเท่ ากัน ซึ่งสมการอาจมีตวแปรหรื อไม่มีตวแปรก็ได้ เช่น 3x + 2 = 59 เป็ นสมการที่มี x ตัวแปร และ ั ั 8 - 11 = -3 เป็ นสมการที่ไม่มีตวแปร ั สมการซึ่งมี x เป็ นตัวแปรและมีรูปทัวไปเป็ น ax + b = 0 เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัวและ ่ a  0 เรี ยกว่า สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว เช่น 1 1) 2x = 0 2) x3 0 2 3 ) - 0.8y - 1.4 = 0 4 ) 3x – 5 = 0 คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะมีเพียงคาตอบเดียว ดังตัวอย่าง 5 สมการ 2x – 5 = 0 มี เป็ นคาตอบ 2 สมการ - 4 y = 0 มี 0 เป็ นคาตอบ 5 1 สมการ x–7=0 มี 14 เป็ นคาตอบ 2 สมบัตการเท่ ากัน ิ 1 ) สมบัติสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a , b แทนจานวนจริ งใด ๆ เช่น ถ้า x - 3 = 2x + 7 แล้ว 2x + 7 = x - 3 2 ) สมบัติถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ เช่น ถ้า x = 5 + 7 และ 5 + 7 = 12 แล้ว x = 12 3 ) สมบัติการบวก ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ เช่น ถ้า x = 5 แล้ว x + 3 = 5 + 3 4 ) สมบัติการคูณ ถ้า a = b แล้ว ac = bc เมื่อ a , b , c แทนจานวนจริ งใด ๆ เช่น ถ้า x + 1 = 2n แล้ว 3 (x + 1) = 3(2n )
  • 9. ใบงานที่ 3.1 เรื่อง สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว คำชี้แจง : จงบอกความหมายของข้ อความต่ อไปนี ้ 1. สมการ คือ ................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ .................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. จงยกตัวอย่างของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มา 3 สมการ 3.1 ........................................................... 3.2 ........................................................... 3.3 ........................................................... 4. คาตอบของสมการ คือ ................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5.จงอธิบาย สมบัติของการเท่ากัน ดังต่อไปนี้ 5.1 สมบัติการบวก.............................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 5.2 สมบัติการคูณ.............................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 5.3 สมบัติถ่ายทอด.............................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 5.4 สมบัติสมมาตร.............................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................................
  • 10. แบบฝึ กกิจกรรม เรื่อง สมการเชิงเส้ นตัวแปรเดียว ชื่อกลุ่ม..................................................................................................ชั้น............................. 1. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่........... 2. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่........... 3. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่........... 4. ชื่อ...............................................นามสกุล...................................เลขที่........... 1.จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการบวก 1) ถ้า a = b แล้ว........................... 2) ถ้า......................... แล้ว a + 3 = 5 + 3 3) ถ้า.......................... แล้ว (x + 5) – 5 = 3 – 5 2. จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการคูณ 1) ถ้า a = b แล้ว........................... 2) ถ้า......................... แล้ว a × 5 = 5 × 5 3) ถ้า.......................... แล้ว 2(m + 2) = 2(5m) 3. จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการถ่ายทอด 1) ถ้า x = 5 + 7 และ 5 + 7 = 12 ดังนั้น...................................... 2) ถ้า a + b = c และ c = 7 แล้ว......................................... 3) ถ้า x = -3y และ -3y = 0.5 ดังนั้น...................................... 4. จงเติมประโยคให้สมบูรณ์โดยใช้สมบัติการสมมาตร 1) ถ้า a + b = c ดังนั้น...................................... 2) ถ้า x – 3 = 2x + 7 ดังนั้น...................................... 3) ถ้า......................... ดังนั้น 3x = 8
  • 11. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลของนักเรียนในกระบวนการกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ........................................................ เรื่ อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้น ............... พฤติกรรม ลา การยอมรับฟัง กระบวนการ ความร่ วมมือ ความคิดเห็น ผลการ ความตั้งใจ ดับ ชื่อ-สกุล การแสดง ประเมิน ทางาน ที่ ผูอื่น ้ 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 เกณฑ์ การให้ คะแนน 2 = ปฏิบติสม่าเสมอ ั 1 = ปฏิบติเป็ นบางครั้ง ั