SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 31
[object Object],[object Object],[object Object]
ถ่านไฟฉาย -  เป็นเซลล์แห้ง -  เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า -  ให้ไฟฟ้ากระแสตรง ใน  1  เซลล์มีความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ  1.5  โวลต์  -  เมื่อนำถ่านไฟฉายตั้งแต่  2  เซลล์ขึ้นไปมาต่อรวมเป็นหน่วยเดียวกัน เรียกว่า แบตเตอรี่ -  สัญลักษณ์ในวงจร แท่งถ่านเป็นขั้วบวก โลหะสังกะสี -  เป็นขั้วลบ -  ให้อิเล็กตรอน -  แอมโมเนียคลอไรด์ขึ้นเป็นอิเล็กโทรไลต์ -  แมงกานีสไดออกไซด์ผสมผงถ่านเป็นตัวรับอิเล็กตรอน เซลล์แอลคาไลต์ -  ใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นอิเล็กโทรไลต์ -  ให้กระแสไฟฟ้ามากกว่าถ่านไฟฉาย -  มีขนาดเล็กกว่าถ่านไฟฉาย การพัฒนาเซลล์แห้ง
ประเภทของเซลล์ไฟฟ้า ขั้วไฟฟ้า 1............................ การทำงาน 3............................ ตัวอย่าง ได้แก่ 5............................ สารอิเล็กโทรไลต์ การทำงาน 4............................ ตัวอย่าง ได้แก่ 9............................ 8............................ 10........................... 11........................... 6............................ 7............................ 2............................ ขั้วไฟฟ้า สารละลายกรดซัลฟิวริก เป็นอิเล็กโทรไลต์
ไดนาโม เป็นพลังงานกลที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น เมื่อเคลื่อนขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็ก ทำให้สนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลง กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากไดนาโมเรียกว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ เมื่อเคลื่อนแม่เหล็กตัดกับขดลวด ทำให้สนามแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนปลง ไดนาโมกระแสตรง ไดนาโมกระแสสลับ เกิดกระแสไฟฟ้า เกิดกระแสไฟฟ้า พื้นที่ของขดลวด พื้นที่มากเกิดกระแสไฟฟ้าได้มาก ความเร็วในการเคลื่อนที่ขดลวดหรือแท่งแม่เหล็ก ความแรงของแรงแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็ก จำนวนรอบของขดลวด
ความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า สัญลักษณ์ของ โวลต์มิเตอร์ โวลต์เป็นชื่อของ วอลตา เคานต์ แลสซันโดร ผู้ประดิษฐ์แบตเตอรี่เป็นครั้งแรก เครื่องมือวัดความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าเรียกว่า โวลต์มิเตอร์ วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้ถูกต้องมาก โวลต์มิเตอร์ที่ดีต้องมีความต้านทานมาก วิธีใช้โวลต์มิเตอร์คือ ต้องต่อแบบขนานในวงจรไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้า หน่วยเป็นโอห์ม ใช้สัญลักษณ์เป็น Ω มีค่าเป็นส่วนกลับกับการนำไฟฟ้า ความต้านทานในตัวนำหนึ่งๆ จะสามารถหาได้จากค่าความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานนั้น ตัวนำที่มีความต้านทานมากยอมให้กระแสผ่านได้น้อย ตัวนำที่มีความต้านทานน้อยยอมให้กระแสผ่านได้มาก สัญลักษณ์ในวงจรไฟฟ้า
ตัวนำต่างชนิดกัน ขนาดเท่ากันจะต้านทานกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้ต่างกัน ตัวนำเดียวกัน ขนาดต่างกัน มีความต้านทานกระแสไฟฟ้าต่างกัน อุณหภูมิกับความต้านทาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทาน ลวดเหล็กมีความต้านทานมากกว่าทองแดง ลวดทองแดงยาวเท่ากัน ความต้านทานมากกว่า ความต้านทานน้อยกว่า ลวดทองแดงขนาดเท่ากัน ความต้านทานน้อยกว่า ความต้านทานมากกว่า ตัวนำที่เป็นโลหะบริสุทธิ์ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความต้านทานจะเพิ่มขึ้นด้วย เงิน ทองแดง ตัวนำเป็นโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความต้านทานเพิ่มขึ้นแต่น้อยกว่าโลหะบริสุทธิ์ ตัวนำที่เป็นสารกึ่งตัวนำ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทานจะลดลง คาร์บอน ซิลิคอน
สายไฟฟ้าบ้านเป็นสายไฟฟ้าแรงต่ำ -  สายไฟฟ้าชนิดคู่ -  ตัวนำเป็นทองแดงแบบฝอย -  ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้  300  โวลต์ -  เหมาะกับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ประจำที่ เช่น พัดลม โคมไฟตั้งโต๊ะ เป็นต้น -  สายไฟชนิดคู่ -  ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดียว -  ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้  300  โวลต์ -  สายไฟชนิดสายเดี่ยว -  ตัวนำเป็นทองแดงแบบเกลียว -  ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้  750  โวลต์ -  ใช้กับงานทั้งนอกและในอาคาร ในอากาศ ในท่อ -  สายไฟฟ้าชนิด  3  เส้น -  ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดียว -  ทนแรงไฟฟ้าสูงสุดได้  750  โวลต์ -  ใช้เดินร้อยที่ฝังดินหรือฝังดินโดยตรง -  สายไฟชนิดคู่มีสายดิน -  ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดียว -  ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้  750  โวลต์ -  ใช้กับงานติดตั้งในอาคาร โดยใช้เดินเกาะผนัง
ลักษณะและการใช้ประโยชน์ของฟิวส์ ฟิวส์หลอด ใช้ที่แผงไฟ รวมในบ้าน ฟิวส์แผ่นใช้ในโรงงานหรืออาคารขนาดใหญ่ ฟิวส์เส้นใช้ตามบ้าน ใช้กับแผงวงจรไฟฟ้ารวม ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ต่อกับสะพานไฟ ฟิวส์กระเบื้อง
สะพานไฟ ใช้ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ต่อเข้าบ้านและควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ต่อแยกไปใช้ในส่วนต่างๆของบ้าน วิธีใช้ เมื่อต้องการตัดวงจรไฟฟ้าให้จับคันโยก ซึ่งทำจากฉนวนไฟฟ้าลง เมื่อต้องการต่อวงจรไฟฟ้าให้ยกคันโยกขึ้นและดันให้แน่น ควบคุมวงจรไฟฟ้าในการตัดต่อวงจร จะตัดทั้งสองเส้น ใช้ต่อกับฟิวส์  2  เส้น
มีหน้าที่  ตัดวงจรไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากกว่าปกติ บริเวณที่ต่อ  ต่อกับสายไฟในแผงวงจรใหญ่ที่ต่อไฟฟ้าเข้าบ้าน เครื่องตัดวงจรไฟฟ้าอัตโนมัติ วิธีใช้  ดึงสวิตช์กลับขึ้นไปหลังจากปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็นสาเหตุทำให้กระแสไฟฟ้าไหลเกินในวงจรไฟฟ้า หลักการตัดวงจรไฟฟ้า  ใช้หลักของแม่เหล็กไฟฟ้าในการตัดวงจรไฟฟ้า
ประเภทของสวิตช์ สวิตช์สองทาง  ใช้ควบคุมวงจรไฟฟ้าสองทางด้วยการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าชิ้นเดียวกันได้จาก  2  ตำแหน่ง เช่น หลอดไฟฟ้าที่ประตูบ้าน บันไดบ้าน สวิตช์อัตโนมัติ  ตัดต่อวงจรไฟฟ้าโดยไม่ต้องใช้คนปิด - เปิดวงจรไฟฟ้า วิธีต่อสวิตช์ในวงจรไฟฟ้าต้องต่อแบบอนุกรม สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า ส่วนประกอบของสวิตช์ สวิตช์แบบธรรมดา  ใช้เปิด - ปิดวงจรไฟฟ้าที่ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าเพียงชิ้นเดียว ขดลวดสปริง ช่วยดันคานให้ค้างอยู่ในตำแหน่งเปิดหรือปิดไฟ แผ่นโลหะใต้คาน เชื่อมต่อกับปุ่มโลหะติดกับฐานสวิตช์ ช่วยให้กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร คาน ทำด้วยฉนวนไฟฟ้า ใช้กดปิด - เปิดวงจรไฟฟ้า สวิตช์
หลักการใช้สวิตช์อย่างปลอดภัย ไม่ควรใช้สวิตช์อันเดียวควบคุมวงจรไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด สปริงต้องแข็งแรง ตัดวงจรได้ฉับไว ฝาครอบไม่แตกร้าว ตรวจสอบการต่อสายหรือเปลี่ยนใหม่เมื่อสัมผัสสวิตช์แล้วรู้สึกอุ่น เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทที่ใช้กระแสไฟฟ้ามาก เช่น เครื่องปรับอากาศ ควรใช้สวิตช์อัตโนมัติ ติดตั้งสวิตช์ตัดวงจรเฉพาะสายเส้นที่มีไฟ
ประเภทของวงจรไฟฟ้า -  วงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร -  วงจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร ทำได้โดยยกสะพานไฟ ปลดฟิวส์ออก หรือปิดสวิตช์ ชนิดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ มีค่าความต่างศักย์โดยเฉลี่ยประมาณ  220  โวลต์ การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าภายในบ้านควรต่อแบบขนาน สายไฟที่ต่อเข้าบ้านมี  2  สาย ประกอบด้วยสายที่มีศักย์ไฟฟ้าหรือสายไฟ กับสายกลางซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ การต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าเข้ากับวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เมื่ออุปกรณ์ชิ้นใดชำรุด จะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าทั้งหมดที่ต่ออนุกรมในบ้าน การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับวงจรไฟฟ้าแบบขนานเมื่อมีเครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนหนึ่งส่วนใดเสีย เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนอื่นๆยังคงใช้ได้ เช่น หลอดไฟห้องน้ำเสีย แต่หลอดไฟในห้องอื่นๆยังใช้ได้ วงจรไฟฟ้าในบ้าน
หลอดไฟธรรมดา ลักษณะ  –  ทำจากหลอดแก้วทนความร้อน ภายในเป็น สุญญากาศ บรรจุแก๊ส ไนโตรเจนและอาร์กอน เล็กน้อย ป้องกันไส้หลอด ระเบิด -  ไส้หลอดทำจากโลหะทังสเตน มีความต้านทานไฟฟ้าสูง จุดหลอมเหลวสูง หาง่าย ราคาถูก เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง ให้แสงสว่างกระจายโดยทั่วถึง ไม่ร้อนเท่าหลอดไฟธรรมดา แบลลัสต์ มีโครงสร้างคล้ายหม้อแปลงไฟฟ้า ทำหน้าที่เหนี่ยวนำให้เกิดความต่างศักย์สูงที่ขั้วหลอด สตาร์ตเตอร์ เป็นสวิตช์อัตโนมัติ ด้วยหลักการขยายตัวของโลหะคู่ต่างชนิดกัน หลอดฟลูออเรสเซนต์  มีประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟธรรมดา ด้วยการให้ความสว่างสูงกว่า  5  เท่า มีอายุการใช้งานนานกว่า  8  เท่า
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน ขดลวดความร้อน ลวดนิโครมเป็นโลหะผสมระหว่างนิกเกิลกับโครเมียม สวิตช์ความร้อน เรียกว่า  เทอร์มอสแตด ประกอบด้วย แผ่นโลหะคู่ต่างชนิดประกบติดกัน เมื่อให้ความร้อนเท่ากันจะขยายตัวได้ต่างกัน ทำให้แผ่นโลหะคู่โค้งงอ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจึงแยกออกจากจตุสัมผัสได้ มีความต้านทานไฟฟ้าสูง จุดหลอมเหลวสูง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้ามาก เพื่อให้ได้อุณหภูมิสูง ส่วนประกอบที่สำคัญ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน กระทะไฟฟ้า เครื่องทำน้ำอุ่น หม้อหุงข้าวไฟฟ้า ที่ปิ้งขนมปัง เตาไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า
ข้อควรคำนึงในการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า การสูญเสียพลังงานไฟฟ้า ความปลอดภัย การใช้งาน การบำรุงรักษา ราคายุติธรรม เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กำลังไฟฟ้าเหมาะสมกับการใช้งานจริง เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ผ่านการรับรองคุณภาพดูได้จากเครื่องหมาย มอก . ไม่ซับซ้อน สะดวก ในการติดตั้งและการใช้งาน เมื่อชำรุดเสียหายหาอะไหล่เปลี่ยนได้ง่าย สะดวกในการซ่อมบำรุง ราคาเหมาะสมกับคุณภาพและอายุการใช้งาน
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ชุดอิเล็กทรอนิกส์อย่าง ง่าย วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์
ความหมายของอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สารกึ่งตัวนำ กระแสไฟฟ้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์พื้นฐานในวงจรไฟฟ้าที่ควรทราบ
ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทาน ไดโอดเปล่งแสง ไดโอด ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ไอซี ทรานซิสเตอร์ การควบคุมปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้า ใช้เก็บประจุ ใช้กำหนดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า เป็นส่วนหนึ่งในวงจรเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ทำหน้าที่คล้ายสวิตช์ในวงจรไฟฟ้า แผงวงจรรวม
เครื่องใช้ไฟฟ้าธรรมดา เตาขดลวดไฟฟ้าที่ปรับความร้อนไม่ได้ เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดไฟชนิดมีไส้ปรับความสว่างไม่ได้
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นซีดี เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ กล้องถ่ายรูป นาฬิกา
กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้  3  วิธี ปฏิกิริยาเคมี การเหนี่ยวนำ เซลล์สุริยะ เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เกิดจากการเคลื่อนที่ของขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน ใช้วัสดุกึ่งตัวนำเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า
ชนิดของสัญญาณไฟฟ้า สัญญาณดิจิตอล  ( digital  signal) สัญญาณอนาลอก  ( analog signal) ถูกรบกวนได้ แต่ยังคงมีลักษณะของสัญญาณคล้ายของเดิม   นิยมใช้ในโทรทัศน์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์ มาที่ภาพดิจิตอล ถูกรบกวนง่าย เหมาะกับการใช้วิทยุสื่อสาร ระยะใกล้ วิทยุ A . M. และ F.M. มีลักษณะคล้ายขั้นบันได ถูกรบกวนได้น้อย มีความคมชัดกว่าอนาลอก มีลักษณะต่อเนื่องคล้ายเชือก
ตัวย่อ  R ต้องอ่านค่าความต้านทานให้ถูกต้องจึงจะใช้ได้ตรงตามความต้องการ มี  20  ชนิด ใช้ควบคุมปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร ชนิดคงตัว ชนิดปรับค่าไม่ได้ ตัวต้านทาน
ตัวเก็บประจุ เก็บพลังงานไฟฟ้าเอาไว้แล้วปล่อยสู่วงจรไฟฟ้า มีหลายชนิดซึ่งเรียกชื่อตามชนิดของฉนวนไฟฟ้า ส่วนประกอบสำคัญคือ ตัวนำ  2  แผ่นประกบกันคั่นด้วยฉนวนไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุชนิดเซรามิกส์ ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโทรไลต์ ไม่มีขั้ว ต่อเข้ากับวงจรโดยไม่ต้องระวังว่าจะต่อผิดขั้ว มีหลายขนาด ทนความดันไฟฟ้า  6.3-450  โวลต์ ตัวเก็บประจุชนิดไมลาร์ มีขั้วไฟฟ้า ต้องต่อให้ถูกขั้ว ทนแรงดันไฟฟ้า  50-2000 โวลต์ ไม่มีขั้ว มีความทนทานสูง ทนความชื้นได้ดี ค่าความจุไม่เปลี่ยนแปลงตามความชื้น ตัวเก็บประจุ
ไดโอด   (Diode) ขาลบ  ( Cathode) มีขั้ว การต่อในวงจร สมบัติของไดโอด ผลิตจากวัสดุกึ่งตัวนำ สัญลักษณ์ ในวงจรไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสตรง กำหนดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า เจอเมเนียม ซิลิกอน ขาบวก  (Anode) ขาบวกต่อกับขั้วบวกและขาลบต่อกับขั้วลบ กระแสไฟฟ้าไหลได้ ไบอัสตรง กระแสไฟฟ้าไหลไม่ได้ ไบอัสกลับ ขาบวกต่อกับขั้วลบและขาลบต่อกับขั้วบวก
ทำจากสารกึ่งตัวนำ มี  3  ขา ขา  B   สามารถขยายสัญญาณ ควบคุมสัญญาณและทำหน้าที่คล้ายสวิตช์ ควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าที่จะเข้าทางขา  C ไปยังขา  E ต้องจ่ายไฟเข้าที่ขา B   ให้มีความต่างศักย์ต่ำกว่าขา E มี  2  ชนิด ต้องจ่ายไฟเข้าที่ขา  B   ให้มีศักย์สูงกว่าขา E จึงทำงานได้ ขา  E ขา  C ชนิด  NPN   ชนิด  PNP   ถ้ากระแสเข้าไปที่  B   มาก กระแสไฟฟ้าจากขา  C   จะไปยังขา  E มาก แต่ถ้าให้กระแสไฟฟ้าเข้าขา  B   น้อย กระแสไฟฟ้าจาก C ไปยัง E ก็จะน้อย ทรานซิสเตอร์
ชุดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายหรือชุดคิต  (KIT) มีขายมากในร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เลือกซื้อมาได้ตามความต้องการ ชุดเสียงจากแสง ชุดชื้นแล้วดัง ชุดไซเรน นำไปประยุกต์ใช้งานกับอุปกรณ์อื่นๆ ได้มาก สามารถต่อวงจรใช้ได้จริง ราคาถูก ใช้สะดวก ตัวอย่างชุดคิต

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
Mam Chongruk
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
Aomiko Wipaporn
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ดีโด้ ดีโด้
 

La actualidad más candente (20)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 

Similar a ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
Panatsaya
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
Phachakorn Khrueapuk
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
Panatsaya
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Siriporn Somkrue
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
Panatsaya
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
Panatsaya Jakkheaw
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
Kanoknat Kaosim
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
chutikhan_pb
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
orohimaro
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
 

Similar a ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (20)

งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 

ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

  • 1.
  • 2. ถ่านไฟฉาย - เป็นเซลล์แห้ง - เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า - ให้ไฟฟ้ากระแสตรง ใน 1 เซลล์มีความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 1.5 โวลต์ - เมื่อนำถ่านไฟฉายตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไปมาต่อรวมเป็นหน่วยเดียวกัน เรียกว่า แบตเตอรี่ - สัญลักษณ์ในวงจร แท่งถ่านเป็นขั้วบวก โลหะสังกะสี - เป็นขั้วลบ - ให้อิเล็กตรอน - แอมโมเนียคลอไรด์ขึ้นเป็นอิเล็กโทรไลต์ - แมงกานีสไดออกไซด์ผสมผงถ่านเป็นตัวรับอิเล็กตรอน เซลล์แอลคาไลต์ - ใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นอิเล็กโทรไลต์ - ให้กระแสไฟฟ้ามากกว่าถ่านไฟฉาย - มีขนาดเล็กกว่าถ่านไฟฉาย การพัฒนาเซลล์แห้ง
  • 3. ประเภทของเซลล์ไฟฟ้า ขั้วไฟฟ้า 1............................ การทำงาน 3............................ ตัวอย่าง ได้แก่ 5............................ สารอิเล็กโทรไลต์ การทำงาน 4............................ ตัวอย่าง ได้แก่ 9............................ 8............................ 10........................... 11........................... 6............................ 7............................ 2............................ ขั้วไฟฟ้า สารละลายกรดซัลฟิวริก เป็นอิเล็กโทรไลต์
  • 4. ไดนาโม เป็นพลังงานกลที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น เมื่อเคลื่อนขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็ก ทำให้สนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลง กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากไดนาโมเรียกว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ เมื่อเคลื่อนแม่เหล็กตัดกับขดลวด ทำให้สนามแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนปลง ไดนาโมกระแสตรง ไดนาโมกระแสสลับ เกิดกระแสไฟฟ้า เกิดกระแสไฟฟ้า พื้นที่ของขดลวด พื้นที่มากเกิดกระแสไฟฟ้าได้มาก ความเร็วในการเคลื่อนที่ขดลวดหรือแท่งแม่เหล็ก ความแรงของแรงแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็ก จำนวนรอบของขดลวด
  • 5. ความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า สัญลักษณ์ของ โวลต์มิเตอร์ โวลต์เป็นชื่อของ วอลตา เคานต์ แลสซันโดร ผู้ประดิษฐ์แบตเตอรี่เป็นครั้งแรก เครื่องมือวัดความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าเรียกว่า โวลต์มิเตอร์ วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้ถูกต้องมาก โวลต์มิเตอร์ที่ดีต้องมีความต้านทานมาก วิธีใช้โวลต์มิเตอร์คือ ต้องต่อแบบขนานในวงจรไฟฟ้า
  • 6. ความต้านทานไฟฟ้า หน่วยเป็นโอห์ม ใช้สัญลักษณ์เป็น Ω มีค่าเป็นส่วนกลับกับการนำไฟฟ้า ความต้านทานในตัวนำหนึ่งๆ จะสามารถหาได้จากค่าความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานนั้น ตัวนำที่มีความต้านทานมากยอมให้กระแสผ่านได้น้อย ตัวนำที่มีความต้านทานน้อยยอมให้กระแสผ่านได้มาก สัญลักษณ์ในวงจรไฟฟ้า
  • 7. ตัวนำต่างชนิดกัน ขนาดเท่ากันจะต้านทานกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้ต่างกัน ตัวนำเดียวกัน ขนาดต่างกัน มีความต้านทานกระแสไฟฟ้าต่างกัน อุณหภูมิกับความต้านทาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทาน ลวดเหล็กมีความต้านทานมากกว่าทองแดง ลวดทองแดงยาวเท่ากัน ความต้านทานมากกว่า ความต้านทานน้อยกว่า ลวดทองแดงขนาดเท่ากัน ความต้านทานน้อยกว่า ความต้านทานมากกว่า ตัวนำที่เป็นโลหะบริสุทธิ์ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความต้านทานจะเพิ่มขึ้นด้วย เงิน ทองแดง ตัวนำเป็นโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความต้านทานเพิ่มขึ้นแต่น้อยกว่าโลหะบริสุทธิ์ ตัวนำที่เป็นสารกึ่งตัวนำ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทานจะลดลง คาร์บอน ซิลิคอน
  • 8. สายไฟฟ้าบ้านเป็นสายไฟฟ้าแรงต่ำ - สายไฟฟ้าชนิดคู่ - ตัวนำเป็นทองแดงแบบฝอย - ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้ 300 โวลต์ - เหมาะกับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ประจำที่ เช่น พัดลม โคมไฟตั้งโต๊ะ เป็นต้น - สายไฟชนิดคู่ - ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดียว - ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้ 300 โวลต์ - สายไฟชนิดสายเดี่ยว - ตัวนำเป็นทองแดงแบบเกลียว - ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้ 750 โวลต์ - ใช้กับงานทั้งนอกและในอาคาร ในอากาศ ในท่อ - สายไฟฟ้าชนิด 3 เส้น - ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดียว - ทนแรงไฟฟ้าสูงสุดได้ 750 โวลต์ - ใช้เดินร้อยที่ฝังดินหรือฝังดินโดยตรง - สายไฟชนิดคู่มีสายดิน - ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดียว - ทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดได้ 750 โวลต์ - ใช้กับงานติดตั้งในอาคาร โดยใช้เดินเกาะผนัง
  • 9. ลักษณะและการใช้ประโยชน์ของฟิวส์ ฟิวส์หลอด ใช้ที่แผงไฟ รวมในบ้าน ฟิวส์แผ่นใช้ในโรงงานหรืออาคารขนาดใหญ่ ฟิวส์เส้นใช้ตามบ้าน ใช้กับแผงวงจรไฟฟ้ารวม ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ต่อกับสะพานไฟ ฟิวส์กระเบื้อง
  • 10. สะพานไฟ ใช้ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ต่อเข้าบ้านและควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ต่อแยกไปใช้ในส่วนต่างๆของบ้าน วิธีใช้ เมื่อต้องการตัดวงจรไฟฟ้าให้จับคันโยก ซึ่งทำจากฉนวนไฟฟ้าลง เมื่อต้องการต่อวงจรไฟฟ้าให้ยกคันโยกขึ้นและดันให้แน่น ควบคุมวงจรไฟฟ้าในการตัดต่อวงจร จะตัดทั้งสองเส้น ใช้ต่อกับฟิวส์ 2 เส้น
  • 11. มีหน้าที่ ตัดวงจรไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากกว่าปกติ บริเวณที่ต่อ ต่อกับสายไฟในแผงวงจรใหญ่ที่ต่อไฟฟ้าเข้าบ้าน เครื่องตัดวงจรไฟฟ้าอัตโนมัติ วิธีใช้ ดึงสวิตช์กลับขึ้นไปหลังจากปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็นสาเหตุทำให้กระแสไฟฟ้าไหลเกินในวงจรไฟฟ้า หลักการตัดวงจรไฟฟ้า ใช้หลักของแม่เหล็กไฟฟ้าในการตัดวงจรไฟฟ้า
  • 12. ประเภทของสวิตช์ สวิตช์สองทาง ใช้ควบคุมวงจรไฟฟ้าสองทางด้วยการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าชิ้นเดียวกันได้จาก 2 ตำแหน่ง เช่น หลอดไฟฟ้าที่ประตูบ้าน บันไดบ้าน สวิตช์อัตโนมัติ ตัดต่อวงจรไฟฟ้าโดยไม่ต้องใช้คนปิด - เปิดวงจรไฟฟ้า วิธีต่อสวิตช์ในวงจรไฟฟ้าต้องต่อแบบอนุกรม สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า ส่วนประกอบของสวิตช์ สวิตช์แบบธรรมดา ใช้เปิด - ปิดวงจรไฟฟ้าที่ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าเพียงชิ้นเดียว ขดลวดสปริง ช่วยดันคานให้ค้างอยู่ในตำแหน่งเปิดหรือปิดไฟ แผ่นโลหะใต้คาน เชื่อมต่อกับปุ่มโลหะติดกับฐานสวิตช์ ช่วยให้กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร คาน ทำด้วยฉนวนไฟฟ้า ใช้กดปิด - เปิดวงจรไฟฟ้า สวิตช์
  • 13. หลักการใช้สวิตช์อย่างปลอดภัย ไม่ควรใช้สวิตช์อันเดียวควบคุมวงจรไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด สปริงต้องแข็งแรง ตัดวงจรได้ฉับไว ฝาครอบไม่แตกร้าว ตรวจสอบการต่อสายหรือเปลี่ยนใหม่เมื่อสัมผัสสวิตช์แล้วรู้สึกอุ่น เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทที่ใช้กระแสไฟฟ้ามาก เช่น เครื่องปรับอากาศ ควรใช้สวิตช์อัตโนมัติ ติดตั้งสวิตช์ตัดวงจรเฉพาะสายเส้นที่มีไฟ
  • 14. ประเภทของวงจรไฟฟ้า - วงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร - วงจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร ทำได้โดยยกสะพานไฟ ปลดฟิวส์ออก หรือปิดสวิตช์ ชนิดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ มีค่าความต่างศักย์โดยเฉลี่ยประมาณ 220 โวลต์ การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าภายในบ้านควรต่อแบบขนาน สายไฟที่ต่อเข้าบ้านมี 2 สาย ประกอบด้วยสายที่มีศักย์ไฟฟ้าหรือสายไฟ กับสายกลางซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ การต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าเข้ากับวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เมื่ออุปกรณ์ชิ้นใดชำรุด จะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าทั้งหมดที่ต่ออนุกรมในบ้าน การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับวงจรไฟฟ้าแบบขนานเมื่อมีเครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนหนึ่งส่วนใดเสีย เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนอื่นๆยังคงใช้ได้ เช่น หลอดไฟห้องน้ำเสีย แต่หลอดไฟในห้องอื่นๆยังใช้ได้ วงจรไฟฟ้าในบ้าน
  • 15. หลอดไฟธรรมดา ลักษณะ – ทำจากหลอดแก้วทนความร้อน ภายในเป็น สุญญากาศ บรรจุแก๊ส ไนโตรเจนและอาร์กอน เล็กน้อย ป้องกันไส้หลอด ระเบิด - ไส้หลอดทำจากโลหะทังสเตน มีความต้านทานไฟฟ้าสูง จุดหลอมเหลวสูง หาง่าย ราคาถูก เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง ให้แสงสว่างกระจายโดยทั่วถึง ไม่ร้อนเท่าหลอดไฟธรรมดา แบลลัสต์ มีโครงสร้างคล้ายหม้อแปลงไฟฟ้า ทำหน้าที่เหนี่ยวนำให้เกิดความต่างศักย์สูงที่ขั้วหลอด สตาร์ตเตอร์ เป็นสวิตช์อัตโนมัติ ด้วยหลักการขยายตัวของโลหะคู่ต่างชนิดกัน หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟธรรมดา ด้วยการให้ความสว่างสูงกว่า 5 เท่า มีอายุการใช้งานนานกว่า 8 เท่า
  • 16. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน ขดลวดความร้อน ลวดนิโครมเป็นโลหะผสมระหว่างนิกเกิลกับโครเมียม สวิตช์ความร้อน เรียกว่า เทอร์มอสแตด ประกอบด้วย แผ่นโลหะคู่ต่างชนิดประกบติดกัน เมื่อให้ความร้อนเท่ากันจะขยายตัวได้ต่างกัน ทำให้แผ่นโลหะคู่โค้งงอ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจึงแยกออกจากจตุสัมผัสได้ มีความต้านทานไฟฟ้าสูง จุดหลอมเหลวสูง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้ามาก เพื่อให้ได้อุณหภูมิสูง ส่วนประกอบที่สำคัญ
  • 18. ข้อควรคำนึงในการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า การสูญเสียพลังงานไฟฟ้า ความปลอดภัย การใช้งาน การบำรุงรักษา ราคายุติธรรม เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กำลังไฟฟ้าเหมาะสมกับการใช้งานจริง เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ผ่านการรับรองคุณภาพดูได้จากเครื่องหมาย มอก . ไม่ซับซ้อน สะดวก ในการติดตั้งและการใช้งาน เมื่อชำรุดเสียหายหาอะไหล่เปลี่ยนได้ง่าย สะดวกในการซ่อมบำรุง ราคาเหมาะสมกับคุณภาพและอายุการใช้งาน
  • 19. ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ชุดอิเล็กทรอนิกส์อย่าง ง่าย วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์
  • 20. ความหมายของอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สารกึ่งตัวนำ กระแสไฟฟ้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์พื้นฐานในวงจรไฟฟ้าที่ควรทราบ
  • 21. ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทาน ไดโอดเปล่งแสง ไดโอด ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ไอซี ทรานซิสเตอร์ การควบคุมปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้า ใช้เก็บประจุ ใช้กำหนดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า เป็นส่วนหนึ่งในวงจรเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ทำหน้าที่คล้ายสวิตช์ในวงจรไฟฟ้า แผงวงจรรวม
  • 23. หม้อหุงข้าวไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นซีดี เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ กล้องถ่ายรูป นาฬิกา
  • 24. กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้ 3 วิธี ปฏิกิริยาเคมี การเหนี่ยวนำ เซลล์สุริยะ เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เกิดจากการเคลื่อนที่ของขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน ใช้วัสดุกึ่งตัวนำเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า
  • 25. ชนิดของสัญญาณไฟฟ้า สัญญาณดิจิตอล ( digital signal) สัญญาณอนาลอก ( analog signal) ถูกรบกวนได้ แต่ยังคงมีลักษณะของสัญญาณคล้ายของเดิม นิยมใช้ในโทรทัศน์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์ มาที่ภาพดิจิตอล ถูกรบกวนง่าย เหมาะกับการใช้วิทยุสื่อสาร ระยะใกล้ วิทยุ A . M. และ F.M. มีลักษณะคล้ายขั้นบันได ถูกรบกวนได้น้อย มีความคมชัดกว่าอนาลอก มีลักษณะต่อเนื่องคล้ายเชือก
  • 26. ตัวย่อ R ต้องอ่านค่าความต้านทานให้ถูกต้องจึงจะใช้ได้ตรงตามความต้องการ มี 20 ชนิด ใช้ควบคุมปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร ชนิดคงตัว ชนิดปรับค่าไม่ได้ ตัวต้านทาน
  • 28. ตัวเก็บประจุชนิดเซรามิกส์ ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโทรไลต์ ไม่มีขั้ว ต่อเข้ากับวงจรโดยไม่ต้องระวังว่าจะต่อผิดขั้ว มีหลายขนาด ทนความดันไฟฟ้า 6.3-450 โวลต์ ตัวเก็บประจุชนิดไมลาร์ มีขั้วไฟฟ้า ต้องต่อให้ถูกขั้ว ทนแรงดันไฟฟ้า 50-2000 โวลต์ ไม่มีขั้ว มีความทนทานสูง ทนความชื้นได้ดี ค่าความจุไม่เปลี่ยนแปลงตามความชื้น ตัวเก็บประจุ
  • 29. ไดโอด (Diode) ขาลบ ( Cathode) มีขั้ว การต่อในวงจร สมบัติของไดโอด ผลิตจากวัสดุกึ่งตัวนำ สัญลักษณ์ ในวงจรไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสตรง กำหนดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า เจอเมเนียม ซิลิกอน ขาบวก (Anode) ขาบวกต่อกับขั้วบวกและขาลบต่อกับขั้วลบ กระแสไฟฟ้าไหลได้ ไบอัสตรง กระแสไฟฟ้าไหลไม่ได้ ไบอัสกลับ ขาบวกต่อกับขั้วลบและขาลบต่อกับขั้วบวก
  • 30. ทำจากสารกึ่งตัวนำ มี 3 ขา ขา B สามารถขยายสัญญาณ ควบคุมสัญญาณและทำหน้าที่คล้ายสวิตช์ ควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าที่จะเข้าทางขา C ไปยังขา E ต้องจ่ายไฟเข้าที่ขา B ให้มีความต่างศักย์ต่ำกว่าขา E มี 2 ชนิด ต้องจ่ายไฟเข้าที่ขา B ให้มีศักย์สูงกว่าขา E จึงทำงานได้ ขา E ขา C ชนิด NPN ชนิด PNP ถ้ากระแสเข้าไปที่ B มาก กระแสไฟฟ้าจากขา C จะไปยังขา E มาก แต่ถ้าให้กระแสไฟฟ้าเข้าขา B น้อย กระแสไฟฟ้าจาก C ไปยัง E ก็จะน้อย ทรานซิสเตอร์
  • 31. ชุดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายหรือชุดคิต (KIT) มีขายมากในร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เลือกซื้อมาได้ตามความต้องการ ชุดเสียงจากแสง ชุดชื้นแล้วดัง ชุดไซเรน นำไปประยุกต์ใช้งานกับอุปกรณ์อื่นๆ ได้มาก สามารถต่อวงจรใช้ได้จริง ราคาถูก ใช้สะดวก ตัวอย่างชุดคิต