SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 31
ผู้แต่ง 
เจ้าพระยาพระคลัง(หน) 
ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งในสมัย 
รัตนโกสินทร์ตอนต้น มีนามเดิมว่าหน เกิด 
เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด และถึงแก่ 
อสญักรรม ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ประมาณปี 
พ.ศ. ๒๓๔๘
ที่มาของเรื่อง 
มาจากร่ายยาวมหาเวสสันดร 
ชาดก ซงึ่เป็นชาดกเรื่องที่ยงิ่ใหญ่ 
ที่สุด โดยกล่าวถึงเรอื่งราวของพระ 
โพธิสัตว์ซึ่งเสวยพระชาติเป็นพระ 
เวสสันดร เดิมแต่งเป็นภาษาบาลี ต่อ 
มามีการแปลเป็นภาษาไทย ในสมัย 
กรุงสุโขไทย
๑. ลักษณะคำาประพันธ์ 
แต่งเป็นร่ายยาว มีพระคาถาภาษา 
บาลีนำา และพรรณนาเนื้อความโดยมี 
พระคาถาสลับเป็นตอนๆ ไปจนจบ 
กัณฑ์
๒. โครงเรื่อง/เรื่องย่อ 
๒.๑ เรื่องย่อ 
รุ่งเช้าพระนางมัทรี เข้าป่าหาผล 
ไม้ "เกิดเหตุแปลกประหลาด 
มหัศจรรย์ ผลไม้เผือกมันช่างหายาก 
ที่สุด ไม่ว่าจะเป็นมะม่วงมัน ลูกจันทน์ 
ลิ้นจี่ น้อยหน่า สาลี่ ละมุด พุทรา ไม่มี 
ให้เก็บเหมือนดังกับวันก่อน นางรีบ 
ย้อนกลับเคหา ก็เกิดพายุใหญ่ จนมืด 
ครึ้มไปทั่วทั้งป่า ท้องฟ้าสีแดงปาน 
เลือดละเลง ทั้งแปดทิศปรากฎมืดมน
พระนางมัทรีรีบยกหาบใส่บ่ารีบเดิน 
ทาง พอถึงช่องแคบระหว่างเขาคีรี เป็น 
ตรอกน้อยรอยวิถีทางที่เฉพาะจะต้องเสด็จ 
ผ่าน ก็พบกับสองเสือสามสัตว์มานอนสกัด 
หน้า เทวดาสามองค์แปลงร่างเป็นราชสีห์ 
เสือเหลือง เสือโคร่งสกัดทางนางไว้เพื่อมิ 
ให้พระนางมัทรีติดตามกัณหา ชาลีได้ทัน 
แต่ถึงกระนั้น เมอื่ยามทุกข์เข้าบีบคนั้ 
ความรักลูก ความห่วงพระภัสดา พระนาง 
จึงก้มกราบวิงวอน ขอหนทางต่อพญาสัตว์ 
ทั้งสาม เมอื่ได้หนทางแล้ว พระนางก็รีบ 
เสด็จกลับอาศรมมอื่มาถึงอาศรม ไม่พบ 
กัณหา ชาลี พระนางก็ร้องเรียกหาครั้น 
เข้าไปถามพระเวสสันดรก็ถูกตัดพ้อต่อว่า 
ต่าง ๆ จนพระนางมัทรีถึงวิสัญญีภาพสลบ
๒.๒ แก่นเรื่อง 
กล่าวถึงพระนางมัทรีเข้าป่าหาผล 
ไม้ แล้วเจอเหตุการณ์มหัศจรรย์ต่าง 
ๆ จึงเดินทางกลับอาศรม ก็เกิดพายุ 
ใหญ่ มืดครึ้มไปทั่วบริเวณ อีกทั้งยังมี 
สิงห์สาราสัตว์ร้าย มาขวางทางไว้ 
เมื่อมาถึงอาศรมได้ทราบความ ทำาให้ 
พระองค์เสียพระทัยมาก จนสลบไป 
หลังจากฟื้นคืนสติกลับมา พระนางก็ 
อนุโมทนากับพระเวสสันดรด้วย
๒.๓ ตัวละคร 
๑.พระเวสสันดร 
เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำาคัญอยู่ 
ในวรรณคดีเรื่องร่ายยาวมหา 
เวสสันดรชาดก มีชื่อเรียกต่างๆกัน 
เช่น หน่อพระชินศรีโมลีโลก สมเด็จ 
พระบรมนราพิสุทธิ์พุทธางกูร เป็นต้น 
เป็นพระโอรสของพระเจ้ากรุงสญชัย 
และพระนางผุสดีแห่งเมืองสีพี มี 
อุปนิสัยและพฤติกรรมที่สำาคัญคือ 
การบริจาคทาน
๒.พระนางมัทรี 
พระนางมัทรี 
เป็นตัวละคร ประกอบอยู่ 
ในวรรณคดีเรื่องร่าย 
ยาวมหาเวสสันดรชาดกมีชื่อ 
เรียกต่างๆ กัน เช่น พระ 
สุณิสา ศรีสะใภ้ นาง 
แก้วกัลยาณี เป็น ต้น 
และเป็นพระมารดาของ กัน 
หา ชาลี มีอุปนิสัยที่สำาคัญคือ 
รัก ลูกรักสามี คอย
๓.พระชาลี 
พระชาลี เป็นตัวละครประกอบอยู่ 
ในวรรณคดีเรื่องร่ายยาวมหา 
เวสสันดรชาดกมีชอื่เรียกต่างๆ เช่น 
พ่อสายใจ พ่อหน่อน้อยภาคีไนยนาถ 
เป็นต้น เป็นพระเชษฐาของพระกัณห 
า เมื่อเวลาประสูติพระประยูรญาติได้ 
ทรงนำาตาข่ายทองมารองรับ จึงได้รับ 
พระราชทานนามว่า ชาลี แปลว่าผมูี้ 
ตาข่าย
๔.พระกัณหา 
พระกัณหา หรือ กัณหาชินา เป็น 
ตัวละครประกอบอยู่ในวรรณคดีเรื่อง 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็นพระ 
ธิดาของพระเวสสันดรและพระนา 
งมัทรี เป็นพระนัดดาของพระเจ้ากรุง 
สญชัยและพระนางผุสดี และเป็นพระ 
กนิษฐาของพระชาลี พระกัณหาเป็น 
ผู้หนึ่งที่ทำาให้พระเวสสันดรได้บา 
เพ็ญบุตรทานบารมีซึ่งเป็นทานอันยิ่ง 
ใหญ่ที่มนุษย์ทั้งหลายไม่สามารถทา 
ได้นอกจากมหาบุรุษผู้ทรงหวังพระ
๕.ชูชก 
ชูชก เป็นตัวละคร 
ประกอบอยู่ใน 
วรรณคดีเรื่องร่ายยาว 
มหาเวสสันดรชาดกเป็นผู้เกิดในตระกูล 
พราหมณ์โภวาทิกชาติซึ่งเป็น 
พราหมณ์ พวกที่ถือตน 
ว่ามีกำาเนิดสูงกว่าผู้อื่นมัก 
ใช้คำาว่า “โภ”แปลว่า “ผู้เจริญ” เป็นคำา 
ร้องเรียก 
แม้ชูชกจะเกิดใน 
ตระกูล พราหมณ์ที่ถือ 
ตนว่ามีกำาเนิดสูงกว่า ผู้ 
อื่นแต่ชูชกก็ยากจนเข็ญใจยิ่ง ต้อง 
เที่ยวขอทานเขาเลี้ยงชีพ มีรูปร่าง 
หน้าตาน่าเกลียด
ลักษณะนิสัยของชูชกคือ มีความ 
ตระหนี่เหนียวแน่น ขอทานได้มาก 
เท่าไรก็เก็บไว้ไม่ยอมนำาไปใช้จ่าย มี 
ความโลภ รักและหลงเมีย ยอมให้ 
นางทุกอย่าง เป็นคนฉลาดแกมโกง มี 
เล่ห์เหลี่ยมมาก ฉลาดทงั้ในด้านการ 
พูดและกลอุบาย มีความละเอียด 
รอบคอบในการใช้กลอุบายและมี 
ความยึดมั่นในพิธีทางไสยศาสตร์
๓. วิเคราะห์ฉาก 
ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ 
มัทรี มีการกล่าวถึงฉากต่าง ๆ เช่น 
ฉากในป่า ฉากในเขาวงกต ซึ่งมีการ 
ใช้ภาพพจน์ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อให้ 
ผู้อ่านเห็นภาพได้ง่ายยงิ่ขึ้น
๔. กลวิธีการดำาเนินเรื่อง 
เป็นการแต่งที่นักเขียนเป็นผู้เล่า 
สลับกับตัวละครเล่าเป็นบางส่วน
๑.คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ 
๑.๑ ใช้ถ้อยคำาไพเราะ มีการ 
เล่นคำา เล่นสัมผัสอักษร มีการใช้ 
โวหารภาพพจน์ และการพรรณนาให้ 
เกิดความรู้สึกที่ละเอียดอ่อน รวมทั้ง 
เกิดจินตภาพชัดเจน 
๑.๒ เนื้อหาของกัณฑ์มัทรีแสดงให้ 
เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง 
ธรรมชาติกับอารมณ์ความรู้สึกของ 
ตัวละครได้อย่างชัดเจน จะเห็นได้ 
จากตอนที่เกิดเรื่องร้ายแก่พระนา
การใช้ภาษา 
- การเลือกเสียงของคำา มีการเลียน 
เสียงธรรมชาติ 
- มีการใช้ลีลาจังหวะ เสียงหนักเบา 
เช่น ในบทโกรธ 
- มีการเลือกความหมายของคำาให้ 
เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและลักษณะ 
ของร้อยกรอง 
- มีการเล่นคำา เช่น การซำ้าคำา การเล่น 
อักษร การเล่นเสียง
โวหารภาพพจน์ 
อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่ง 
เหมือนอีกสงิ่หนึ่ง เช่น 
“…ท้าวเธอก็ขังขึงตึงพระองค์ ดู 
เหมือนทรงพระขัดเคืองเต็มเดือด 
ด้วยอันใด นางก็เศร้าสร้อยสลด 
พระทัย ดั่งเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้ 
เจ็บจิต นี่เหลือทน 
อุปมาเหมือนคนไข้หนักแล้วมิหนำา 
ยังแพทย์เอายาพิษมาวางซำ้าให้ 
เวทนา เห็นชีวานี้คงจะไม่รอดไปสักกี่
อติพจน์ คือ การกล่าวเกินจริง เช่น 
“…ฝ่ายฝูงเทพยทุกสถานพิมานไม้ 
ไศลเกริ่นเนินแนวพนาวาส ได้สดับ 
คำาประกาศสองกุมาร ทรงสงั่สาส์นจน 
สุดเสียง ดังทิพยาพิมานจะเอนเอียง 
อ่อนลงช้อยชด…” 
สัทพจน์ คือ การใช้คำาเลียนเสียง 
ธรรมชาติ เช่น 
“แต่ย่างเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียว 
หลัง”
รสวรรณคดี 
เสาวรจนี (การชมความงาม) เช่น 
ใครได้เห็นเป็นขวัญตาเต็มหลงละลายทุกข์ 
ปลุกเปลื้องอารมณ์ชายให้เชยชื่น จะต้องนั่ง 
นอนเดินยืนก็ต้องอย่าง พร้อมด้วยเบญจางค 
จริตรูปจำาเริญโฉมประโลมโลกล่อแหลมวิไล 
ลักษณ์ 
พิโรธวาทัง/รุทรรส (รสแห่งความโกรธ) 
เช่น 
ทำาเป็นบีบนำ้าตาตีอกว่าลูกหาย ใครจะไม่รู้ 
แยบคายความคิดหญิงถ้าแม้นเจ้าอาลัยอยู่ด้วย 
ลูกจริงๆเหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเข้ามาแต่วี่วัน
สัลลาปังคพิสัย (รสแห่งความโศกเศร้า) เช่น 
นางเสวยพระอาดูรพูนเทวษในพระอุรา นำ้า 
พระอัสสชุลนาเธอไหลนองคลองพระเนตร ทรง 
พระกันแสงแสนเทวษพิไรรำ่า ตั้งแต่ประถามยาม 
คำ่าไม่หย่อนหยุดแต่สักโมงยาม 
หาสยรส (รสแห่งความขบขัน) เช่น 
อนิจจามัทรีเอ่ย มาตายอเนจอนาถไร้ญาติที่ 
กลางดง ครั้นท้าวเธอคลายลงที่โศกศัลย์ จึ่งผัน 
พระพักตร์มาพิจารณก็รู้ยังไม่อาสัญ
กรุณารส (รสแห่งความเมตตากรุณาที่เกิด 
ภายหลังความโศกเศร้า) เช่น 
เมื่อท้าวเธอมิได้เห็นพระเจ้าลูกก็จะทูลถาม 
ครั้นแจ้งว่าพราหมณ์มันพาไป นางก็จะอาลัย 
โลดแล่นไปตามติดไม่คิดตาย คิดไปแล้วใจหาย 
เห็นน่านนำ้าตาตก โอ้อกมัทรีเอ่ย จะเสวยพระ 
ทุกข์แทบชีวิตจะปลิดปลงด้วยพระลูกรักทั้ง 
สองพระองค์นี้แล้วแล 
ศานติรส (รสแห่งความสงบ) เช่น 
พระนางจึ่งตรัสว่า พระพุทธเจ้าข้าอันสอง 
กุมารนี้ เกล้ากระหมอ่นฉานได้อุตสาหะถนอม 
ย่อมพยาบาลบำารุงมา ขออนุโมทนาด้วยปิยบุตร 
ทานบารมี ขอให้นำ้าพระหฤทัยพระองค์จง
๒.คุณค่าทางด้านสังคมและ 
ความเชื่อ 
ด้านสังคม 
๓.๑ ให้แง่คิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ 
ของผู้หญิงในฐานะที่เป็นแม่และเป็น 
ภรรยาที่ดี ซงึ่เป็นสงิ่สำาคัญเหนือสงิ่อื่นใด 
๓.๒ มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี 
สะท้อนแนวคิดสำาคัญเกี่ยวกับความรัก 
ของแม่ที่มีต่อลูกอย่างสุดชีวิต 
๓.๓ ข้อคิด คติธรรม ที่สามารถนำาไป 
ใช้ในชีวิตประจำาวันของทุกคนได้ เกี่ยว 
กับการเป็นคสู่ามีภรรยาที่ดี การเสียสละ 
เป็นคุณธรรมที่น่ายกย่อง และการบริจาค 
ทาน เป็นการกระทำาที่สมควรได้รับการ
ด้านความเชื่อ 
ความเชื่อเรื่องความฝัน : เห็นได้ 
จากตอนที่พระนางมัทรีตามหาสอง 
กุมารไม่พบ พระนางเสียใจมากเกรง 
ว่าลูกจะเป็นอันตรายเหมือนในความ 
ฝัน ดังคำาประพันธ์ว่า 
“…จึงตรัสว่าเจ้าดวงมณฑาทองทั้ง 
คู่ของแม่เอ๋ย หรือว่าเจ้าทิ้งขว้างวาง 
จิตไปเกิดอนื่ เหมือนแม่ฝันเมื่อคืนนี้ 
แล้วแล…”
ความเชื่อเรื่องเทวดา : ปรากฏอยู่ 
หลายตอน แต่ที่ชัดเจนสุดคือ ตอนที่ 
เทพอันดับทั้ง ๓ องค์ นิมิตกายเป็น 
ราชสีห์และเสือไปนอนขวางทางเพื่อ 
ให้พระนางมัทรีเสด็จกลับอาศรมไม่ 
ได้ก่อนพระอาทิตย์ตก ดังคำาประพันธ์ 
ว่า
“…ส่วนเทพยเจ้าจอมสากลจึงมีเทว 
ยุบลบังคับ แก่เทพยอันดับทั้งสามองค์ อัน 
ทรงมหิทธิฤทธิศักดาว่า ท่านจงพากัน 
นฤมิตบิดเบือนกายกลายอินทรีย์ เป็น 
พระยาราชสีห์สองเสือสามสัตว์สกัดหน้า 
นางพระยามัทรีไว้ต่อทิพากรคลาไคล 
คล้อยเย็น เห็นดวงพระจันทร์ขึ้นมาอยู่ 
รางๆ ท่านจึงลุกหลีกหนทางให้แก่นางงาม 
ส่วนเทพยเจ้าทั้งสามก็อำาลาลีลาศผาด 
แผลงจำาแลงเป็นพญาไกรสรราชผาดแผด 
เสียงสนั่น ดังสายอัสนีลั่นตลอดป่า องค์ 
หนงึ่เป็นพยัคฆ์พระยาเสือโคร่งคำารนร้อง 
อีกองค์หนึ่งเป็นเสือเหลืองเนื่องคะนอง 
ย่องหยัดสะบัดบาท ต่างองค์กระทำา
สังเคราะห์ข้อคิด 
a. ทุกคนต้องประสบกับการสูญเสียสิ่งอัน 
เป็นที่รัก จึงต้องเตรียมใจและยอมรับ 
b. ความรักของแม่นนั้ยิ่งใหญ่ ยอมลำาบาก 
ได้ทุกอย่างเพื่อลูก ลูกจึงต้องทดแทน 
พระคุณแม่และรักแม่ให้มากเช่นเดียวกัน 
c. สามีภรรยาที่ดีควรร่วมทุกข์ร่วมสุขและ 
ส่งเสริมซึ่งกันและกัน ดังเช่นพระนางมัท 
รีที่ตามเสด็จมาดูแลปรนนิบัติพระ 
เวสสันดรโดยไม่คำานึงถึงความยาก 
ลำาบาก และส่งเสริมพระเวสสันดรในการ 
ทำาปิยบุตรทาน 
เราควรเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
Nat Ty
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
B'Ben Rattanarat
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
Tong Thitiphong
 

La actualidad más candente (20)

ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 

Destacado (6)

ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
 

Similar a งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร

ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
Tae'cub Rachen
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
Nattha Namm
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
CUPress
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
phornphan1111
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
Orapan Chamnan
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
พัน พัน
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
vinvin cocokurt
 

Similar a งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร (20)

ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผน
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
01
0101
01
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
 

งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร

  • 1.
  • 2. ผู้แต่ง เจ้าพระยาพระคลัง(หน) ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น มีนามเดิมว่าหน เกิด เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด และถึงแก่ อสญักรรม ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๔๘
  • 3. ที่มาของเรื่อง มาจากร่ายยาวมหาเวสสันดร ชาดก ซงึ่เป็นชาดกเรื่องที่ยงิ่ใหญ่ ที่สุด โดยกล่าวถึงเรอื่งราวของพระ โพธิสัตว์ซึ่งเสวยพระชาติเป็นพระ เวสสันดร เดิมแต่งเป็นภาษาบาลี ต่อ มามีการแปลเป็นภาษาไทย ในสมัย กรุงสุโขไทย
  • 4.
  • 5. ๑. ลักษณะคำาประพันธ์ แต่งเป็นร่ายยาว มีพระคาถาภาษา บาลีนำา และพรรณนาเนื้อความโดยมี พระคาถาสลับเป็นตอนๆ ไปจนจบ กัณฑ์
  • 6. ๒. โครงเรื่อง/เรื่องย่อ ๒.๑ เรื่องย่อ รุ่งเช้าพระนางมัทรี เข้าป่าหาผล ไม้ "เกิดเหตุแปลกประหลาด มหัศจรรย์ ผลไม้เผือกมันช่างหายาก ที่สุด ไม่ว่าจะเป็นมะม่วงมัน ลูกจันทน์ ลิ้นจี่ น้อยหน่า สาลี่ ละมุด พุทรา ไม่มี ให้เก็บเหมือนดังกับวันก่อน นางรีบ ย้อนกลับเคหา ก็เกิดพายุใหญ่ จนมืด ครึ้มไปทั่วทั้งป่า ท้องฟ้าสีแดงปาน เลือดละเลง ทั้งแปดทิศปรากฎมืดมน
  • 7. พระนางมัทรีรีบยกหาบใส่บ่ารีบเดิน ทาง พอถึงช่องแคบระหว่างเขาคีรี เป็น ตรอกน้อยรอยวิถีทางที่เฉพาะจะต้องเสด็จ ผ่าน ก็พบกับสองเสือสามสัตว์มานอนสกัด หน้า เทวดาสามองค์แปลงร่างเป็นราชสีห์ เสือเหลือง เสือโคร่งสกัดทางนางไว้เพื่อมิ ให้พระนางมัทรีติดตามกัณหา ชาลีได้ทัน แต่ถึงกระนั้น เมอื่ยามทุกข์เข้าบีบคนั้ ความรักลูก ความห่วงพระภัสดา พระนาง จึงก้มกราบวิงวอน ขอหนทางต่อพญาสัตว์ ทั้งสาม เมอื่ได้หนทางแล้ว พระนางก็รีบ เสด็จกลับอาศรมมอื่มาถึงอาศรม ไม่พบ กัณหา ชาลี พระนางก็ร้องเรียกหาครั้น เข้าไปถามพระเวสสันดรก็ถูกตัดพ้อต่อว่า ต่าง ๆ จนพระนางมัทรีถึงวิสัญญีภาพสลบ
  • 8. ๒.๒ แก่นเรื่อง กล่าวถึงพระนางมัทรีเข้าป่าหาผล ไม้ แล้วเจอเหตุการณ์มหัศจรรย์ต่าง ๆ จึงเดินทางกลับอาศรม ก็เกิดพายุ ใหญ่ มืดครึ้มไปทั่วบริเวณ อีกทั้งยังมี สิงห์สาราสัตว์ร้าย มาขวางทางไว้ เมื่อมาถึงอาศรมได้ทราบความ ทำาให้ พระองค์เสียพระทัยมาก จนสลบไป หลังจากฟื้นคืนสติกลับมา พระนางก็ อนุโมทนากับพระเวสสันดรด้วย
  • 9.
  • 10. ๒.๓ ตัวละคร ๑.พระเวสสันดร เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำาคัญอยู่ ในวรรณคดีเรื่องร่ายยาวมหา เวสสันดรชาดก มีชื่อเรียกต่างๆกัน เช่น หน่อพระชินศรีโมลีโลก สมเด็จ พระบรมนราพิสุทธิ์พุทธางกูร เป็นต้น เป็นพระโอรสของพระเจ้ากรุงสญชัย และพระนางผุสดีแห่งเมืองสีพี มี อุปนิสัยและพฤติกรรมที่สำาคัญคือ การบริจาคทาน
  • 11. ๒.พระนางมัทรี พระนางมัทรี เป็นตัวละคร ประกอบอยู่ ในวรรณคดีเรื่องร่าย ยาวมหาเวสสันดรชาดกมีชื่อ เรียกต่างๆ กัน เช่น พระ สุณิสา ศรีสะใภ้ นาง แก้วกัลยาณี เป็น ต้น และเป็นพระมารดาของ กัน หา ชาลี มีอุปนิสัยที่สำาคัญคือ รัก ลูกรักสามี คอย
  • 12. ๓.พระชาลี พระชาลี เป็นตัวละครประกอบอยู่ ในวรรณคดีเรื่องร่ายยาวมหา เวสสันดรชาดกมีชอื่เรียกต่างๆ เช่น พ่อสายใจ พ่อหน่อน้อยภาคีไนยนาถ เป็นต้น เป็นพระเชษฐาของพระกัณห า เมื่อเวลาประสูติพระประยูรญาติได้ ทรงนำาตาข่ายทองมารองรับ จึงได้รับ พระราชทานนามว่า ชาลี แปลว่าผมูี้ ตาข่าย
  • 13. ๔.พระกัณหา พระกัณหา หรือ กัณหาชินา เป็น ตัวละครประกอบอยู่ในวรรณคดีเรื่อง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็นพระ ธิดาของพระเวสสันดรและพระนา งมัทรี เป็นพระนัดดาของพระเจ้ากรุง สญชัยและพระนางผุสดี และเป็นพระ กนิษฐาของพระชาลี พระกัณหาเป็น ผู้หนึ่งที่ทำาให้พระเวสสันดรได้บา เพ็ญบุตรทานบารมีซึ่งเป็นทานอันยิ่ง ใหญ่ที่มนุษย์ทั้งหลายไม่สามารถทา ได้นอกจากมหาบุรุษผู้ทรงหวังพระ
  • 14. ๕.ชูชก ชูชก เป็นตัวละคร ประกอบอยู่ใน วรรณคดีเรื่องร่ายยาว มหาเวสสันดรชาดกเป็นผู้เกิดในตระกูล พราหมณ์โภวาทิกชาติซึ่งเป็น พราหมณ์ พวกที่ถือตน ว่ามีกำาเนิดสูงกว่าผู้อื่นมัก ใช้คำาว่า “โภ”แปลว่า “ผู้เจริญ” เป็นคำา ร้องเรียก แม้ชูชกจะเกิดใน ตระกูล พราหมณ์ที่ถือ ตนว่ามีกำาเนิดสูงกว่า ผู้ อื่นแต่ชูชกก็ยากจนเข็ญใจยิ่ง ต้อง เที่ยวขอทานเขาเลี้ยงชีพ มีรูปร่าง หน้าตาน่าเกลียด
  • 15. ลักษณะนิสัยของชูชกคือ มีความ ตระหนี่เหนียวแน่น ขอทานได้มาก เท่าไรก็เก็บไว้ไม่ยอมนำาไปใช้จ่าย มี ความโลภ รักและหลงเมีย ยอมให้ นางทุกอย่าง เป็นคนฉลาดแกมโกง มี เล่ห์เหลี่ยมมาก ฉลาดทงั้ในด้านการ พูดและกลอุบาย มีความละเอียด รอบคอบในการใช้กลอุบายและมี ความยึดมั่นในพิธีทางไสยศาสตร์
  • 16. ๓. วิเคราะห์ฉาก ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ มัทรี มีการกล่าวถึงฉากต่าง ๆ เช่น ฉากในป่า ฉากในเขาวงกต ซึ่งมีการ ใช้ภาพพจน์ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อให้ ผู้อ่านเห็นภาพได้ง่ายยงิ่ขึ้น
  • 18.
  • 19. ๑.คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ ๑.๑ ใช้ถ้อยคำาไพเราะ มีการ เล่นคำา เล่นสัมผัสอักษร มีการใช้ โวหารภาพพจน์ และการพรรณนาให้ เกิดความรู้สึกที่ละเอียดอ่อน รวมทั้ง เกิดจินตภาพชัดเจน ๑.๒ เนื้อหาของกัณฑ์มัทรีแสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ธรรมชาติกับอารมณ์ความรู้สึกของ ตัวละครได้อย่างชัดเจน จะเห็นได้ จากตอนที่เกิดเรื่องร้ายแก่พระนา
  • 20. การใช้ภาษา - การเลือกเสียงของคำา มีการเลียน เสียงธรรมชาติ - มีการใช้ลีลาจังหวะ เสียงหนักเบา เช่น ในบทโกรธ - มีการเลือกความหมายของคำาให้ เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและลักษณะ ของร้อยกรอง - มีการเล่นคำา เช่น การซำ้าคำา การเล่น อักษร การเล่นเสียง
  • 21. โวหารภาพพจน์ อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่ง เหมือนอีกสงิ่หนึ่ง เช่น “…ท้าวเธอก็ขังขึงตึงพระองค์ ดู เหมือนทรงพระขัดเคืองเต็มเดือด ด้วยอันใด นางก็เศร้าสร้อยสลด พระทัย ดั่งเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้ เจ็บจิต นี่เหลือทน อุปมาเหมือนคนไข้หนักแล้วมิหนำา ยังแพทย์เอายาพิษมาวางซำ้าให้ เวทนา เห็นชีวานี้คงจะไม่รอดไปสักกี่
  • 22. อติพจน์ คือ การกล่าวเกินจริง เช่น “…ฝ่ายฝูงเทพยทุกสถานพิมานไม้ ไศลเกริ่นเนินแนวพนาวาส ได้สดับ คำาประกาศสองกุมาร ทรงสงั่สาส์นจน สุดเสียง ดังทิพยาพิมานจะเอนเอียง อ่อนลงช้อยชด…” สัทพจน์ คือ การใช้คำาเลียนเสียง ธรรมชาติ เช่น “แต่ย่างเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียว หลัง”
  • 23. รสวรรณคดี เสาวรจนี (การชมความงาม) เช่น ใครได้เห็นเป็นขวัญตาเต็มหลงละลายทุกข์ ปลุกเปลื้องอารมณ์ชายให้เชยชื่น จะต้องนั่ง นอนเดินยืนก็ต้องอย่าง พร้อมด้วยเบญจางค จริตรูปจำาเริญโฉมประโลมโลกล่อแหลมวิไล ลักษณ์ พิโรธวาทัง/รุทรรส (รสแห่งความโกรธ) เช่น ทำาเป็นบีบนำ้าตาตีอกว่าลูกหาย ใครจะไม่รู้ แยบคายความคิดหญิงถ้าแม้นเจ้าอาลัยอยู่ด้วย ลูกจริงๆเหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเข้ามาแต่วี่วัน
  • 24. สัลลาปังคพิสัย (รสแห่งความโศกเศร้า) เช่น นางเสวยพระอาดูรพูนเทวษในพระอุรา นำ้า พระอัสสชุลนาเธอไหลนองคลองพระเนตร ทรง พระกันแสงแสนเทวษพิไรรำ่า ตั้งแต่ประถามยาม คำ่าไม่หย่อนหยุดแต่สักโมงยาม หาสยรส (รสแห่งความขบขัน) เช่น อนิจจามัทรีเอ่ย มาตายอเนจอนาถไร้ญาติที่ กลางดง ครั้นท้าวเธอคลายลงที่โศกศัลย์ จึ่งผัน พระพักตร์มาพิจารณก็รู้ยังไม่อาสัญ
  • 25. กรุณารส (รสแห่งความเมตตากรุณาที่เกิด ภายหลังความโศกเศร้า) เช่น เมื่อท้าวเธอมิได้เห็นพระเจ้าลูกก็จะทูลถาม ครั้นแจ้งว่าพราหมณ์มันพาไป นางก็จะอาลัย โลดแล่นไปตามติดไม่คิดตาย คิดไปแล้วใจหาย เห็นน่านนำ้าตาตก โอ้อกมัทรีเอ่ย จะเสวยพระ ทุกข์แทบชีวิตจะปลิดปลงด้วยพระลูกรักทั้ง สองพระองค์นี้แล้วแล ศานติรส (รสแห่งความสงบ) เช่น พระนางจึ่งตรัสว่า พระพุทธเจ้าข้าอันสอง กุมารนี้ เกล้ากระหมอ่นฉานได้อุตสาหะถนอม ย่อมพยาบาลบำารุงมา ขออนุโมทนาด้วยปิยบุตร ทานบารมี ขอให้นำ้าพระหฤทัยพระองค์จง
  • 26. ๒.คุณค่าทางด้านสังคมและ ความเชื่อ ด้านสังคม ๓.๑ ให้แง่คิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ของผู้หญิงในฐานะที่เป็นแม่และเป็น ภรรยาที่ดี ซงึ่เป็นสงิ่สำาคัญเหนือสงิ่อื่นใด ๓.๒ มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี สะท้อนแนวคิดสำาคัญเกี่ยวกับความรัก ของแม่ที่มีต่อลูกอย่างสุดชีวิต ๓.๓ ข้อคิด คติธรรม ที่สามารถนำาไป ใช้ในชีวิตประจำาวันของทุกคนได้ เกี่ยว กับการเป็นคสู่ามีภรรยาที่ดี การเสียสละ เป็นคุณธรรมที่น่ายกย่อง และการบริจาค ทาน เป็นการกระทำาที่สมควรได้รับการ
  • 27. ด้านความเชื่อ ความเชื่อเรื่องความฝัน : เห็นได้ จากตอนที่พระนางมัทรีตามหาสอง กุมารไม่พบ พระนางเสียใจมากเกรง ว่าลูกจะเป็นอันตรายเหมือนในความ ฝัน ดังคำาประพันธ์ว่า “…จึงตรัสว่าเจ้าดวงมณฑาทองทั้ง คู่ของแม่เอ๋ย หรือว่าเจ้าทิ้งขว้างวาง จิตไปเกิดอนื่ เหมือนแม่ฝันเมื่อคืนนี้ แล้วแล…”
  • 28. ความเชื่อเรื่องเทวดา : ปรากฏอยู่ หลายตอน แต่ที่ชัดเจนสุดคือ ตอนที่ เทพอันดับทั้ง ๓ องค์ นิมิตกายเป็น ราชสีห์และเสือไปนอนขวางทางเพื่อ ให้พระนางมัทรีเสด็จกลับอาศรมไม่ ได้ก่อนพระอาทิตย์ตก ดังคำาประพันธ์ ว่า
  • 29. “…ส่วนเทพยเจ้าจอมสากลจึงมีเทว ยุบลบังคับ แก่เทพยอันดับทั้งสามองค์ อัน ทรงมหิทธิฤทธิศักดาว่า ท่านจงพากัน นฤมิตบิดเบือนกายกลายอินทรีย์ เป็น พระยาราชสีห์สองเสือสามสัตว์สกัดหน้า นางพระยามัทรีไว้ต่อทิพากรคลาไคล คล้อยเย็น เห็นดวงพระจันทร์ขึ้นมาอยู่ รางๆ ท่านจึงลุกหลีกหนทางให้แก่นางงาม ส่วนเทพยเจ้าทั้งสามก็อำาลาลีลาศผาด แผลงจำาแลงเป็นพญาไกรสรราชผาดแผด เสียงสนั่น ดังสายอัสนีลั่นตลอดป่า องค์ หนงึ่เป็นพยัคฆ์พระยาเสือโคร่งคำารนร้อง อีกองค์หนึ่งเป็นเสือเหลืองเนื่องคะนอง ย่องหยัดสะบัดบาท ต่างองค์กระทำา
  • 30. สังเคราะห์ข้อคิด a. ทุกคนต้องประสบกับการสูญเสียสิ่งอัน เป็นที่รัก จึงต้องเตรียมใจและยอมรับ b. ความรักของแม่นนั้ยิ่งใหญ่ ยอมลำาบาก ได้ทุกอย่างเพื่อลูก ลูกจึงต้องทดแทน พระคุณแม่และรักแม่ให้มากเช่นเดียวกัน c. สามีภรรยาที่ดีควรร่วมทุกข์ร่วมสุขและ ส่งเสริมซึ่งกันและกัน ดังเช่นพระนางมัท รีที่ตามเสด็จมาดูแลปรนนิบัติพระ เวสสันดรโดยไม่คำานึงถึงความยาก ลำาบาก และส่งเสริมพระเวสสันดรในการ ทำาปิยบุตรทาน เราควรเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ