SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
จัดทำโดย
นายวรพจน์ วอดทอง รหัสนักศึกษา 5780115233
ปี 2 หมู่ 2 โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
วงจรการพัฒนาระบบ
System Development Life Cycle
วงจรกำรพัฒนำระบบ(System Development Life Cycle : SDLC)
เพื่อให้นักวิเคราะห์และทีมงานพัฒนาระบบทางานได้อย่างคล่องตัวมีลาดับขั้น และ
เป้าหมายที่แน่นอน นักวิเคราะห์ระบบควรจะทราบถึงว่า ระบบสารสนเทศนั้นพัฒนาขึ้นมา
อย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร นั่นก็คือนักวิเคราะห์ต้องรู้ว่าวงจรการพัฒนาระบบคืออะไร ดังนี้
วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle) เป็นวงจรที่แสดงถึง
กิจกรรมต่างๆ ในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ต้นจนเสร็จเป็นระบบงานที่ใช้ได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบ
ต้องทาความเข้าใจว่าในแต่ละขั้นตอนทาอะไรและทาอย่างไรโดยมีอยู่ 7 ขั้นตอนด้วยกันคือ
วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
ระยะที่ 1 กำรกำหนดปัญหำ หรือ กำรเข้ำใจปัญหำ (Problem Definition)
การกาหนดปัญหา เป็นขั้นตอนของการกาหนดขอบเขตของปัญหา สาเหตุของปัญหาจากการ
ดาเนินงานในปัจจุบัน ความเป็นไปได้กับการสร้างระบบใหม่ การกาหนดความต้องการระหว่าง
นักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งาน โดยข้อมูลเหล่านี้ได้จากการสัมภาษณ์ การรวบรวมข้อมูลจากการ
ดาเนินงานต่าง ๆ เพื่อทาการสรุปเป็นข้อกาหนดที่ชัดเจน ในขั้นตอนนี้หากเป็นโครงการที่มีขนาด
ใหญ่ อาจเรียกขั้นตอนนี้ว่า ขั้นตอนของการศึกษาความเป็นไปได้
ระยะที่ 2 กำรวิเครำะห์ (Analysis)
การวิเคราะห์เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์การดาเนินงานของระบบปัจจุบัน โดยการนาข้อกาหนดความ
ต้องการที่ได้มาจากขั้นตอนแรกมาวิเคราะห์ในรายละเอียด เพื่อทาการพัฒนาเป็นแบบจาลองตรรกะ ซึ่ง
ประกอบด้วย แผนภาพกระแสข้อมูล คาอธิบายการประมวลผลข้อมูล และแบบจาลองข้อมูล ในรูปแบบ
ของ ER-Diagram ทาให้ทราบถึงรายละเอียดขั้นตอนการดาเนินงานในระบบว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง มี
ความเกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กับสิ่งใด
ระยะที่ 3 กำรออกแบบ (Design)
การออกแบบเป็นขั้นตอนของการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ของตรรกะมาทาการออกแบบระบบ
โดยการออกแบบจะเริ่มจากส่วนของอุปกรณ์และเทคโนโลยีต่าง ๆ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นามา
พัฒนาการออกแบบจาลองข้อมูล การออกแบบรายงาน และการออกแบบจอภาพในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
การจัดทาพจนานุกรมข้อมูล
วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
ระยะที่ 4 กำรพัฒนำ (Development)
การพัฒนาเป็นขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการสร้างชุดคาสั่งหรือเขียนโปรแกรมเพื่อการ
สร้างระบบงาน โดยโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเทคโนโลยีใช้งานอยู่
ซึ่งในปัจจุบันภาษาระดังสูงได้มีการพัฒนาในรูปแบบของ 4GL ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกต่อการพัฒนา
รวมทั้งการมีวิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยต่าง ๆ มากมายให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม
ระยะที่ 5 กำรทดสอบ (Testing)
การทดสอบระบบ เป็นขั้นตอนของการทดสอบระบบก่อนที่จะนาไปปฏิบัติการใช้งานจริง ทีมงานจะ
ทาการทดสอบข้อมูลเบื้องต้นก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจาลองเพื่อตรวจสอบการทางานของระบบ หากมี
ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นก็จะย้อนกลับไปในขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมใหม่ โดยการทดสอบระบบนี้ จะมี
การตรวจสอบอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน คือ การตรวจสอบรูปแบบภาษาเขียน (Syntax) และการตรวจสอบ
วัตถุประสงค์งานตรงกับความต้องการหรือไม่
วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
ระยะที่ 6 กำรนำระบบไปใช้ (Implementation Phase)
ขั้นตอนต่อมาหลังจากที่ได้ทาการทดสอบ จนมีความมั่นใจแล้วว่าระบบสามารถทางานได้
จริงและตรงกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ จากนั้นจึงดาเนินการติดตั้งระบบเพื่อใช้งานจริง
ระยะที่ 7 กำรบำรุงรักษำ (Maintenance)
เป็นขั้นตอนของการปรับปรุงแก้ไขระบบหลังจากที่ได้มีการติดตั้งและใช้งานแล้วใน
ขั้นตอนนี้อาจเกิดจากจุดบกพร่องของโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง
หรือเกิดจากความต้องการของผู้ใช้งานที่ต้องการเพิ่มโมดูลในการทางานอื่น ๆ ซึ่งทั้งนี้ก็จะ
เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดความต้องการที่เคยตกลงกันก่อนหน้าด้วย ดังนั้นในส่วนงานนี้จะคิด
ค่าใช้จ่ายเพิ่มหรืออย่างไรเป็นเรื่องของรายละเอียดที่ผู้พัฒนาหรือนักวิเคราะห์ระบบจะต้อง
ดาเนินการกับผู้ว่าจ้าง
วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
แหล่งที่มำ
http://wongmessiah.blogspot.com/2011/11/sdlc.html
www.rbac.ac.th/site/assets/Science/Multimedia/da
ta/bc304/lession2.ppt
www.oocities.org/s_analysis/SDLC_new.html

Más contenido relacionado

Similar a วงจรพัฒนาระบบ

Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิตระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิตAmIndy Thirawut
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7apinyaboong
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7apinyaboong
 

Similar a วงจรพัฒนาระบบ (20)

Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Workshop03
Workshop03Workshop03
Workshop03
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
3
33
3
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิตระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต
ระบบสารสนเทศกิจกรรมนิสิต
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 

วงจรพัฒนาระบบ

  • 1. จัดทำโดย นายวรพจน์ วอดทอง รหัสนักศึกษา 5780115233 ปี 2 หมู่ 2 โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วงจรการพัฒนาระบบ System Development Life Cycle
  • 2. วงจรกำรพัฒนำระบบ(System Development Life Cycle : SDLC) เพื่อให้นักวิเคราะห์และทีมงานพัฒนาระบบทางานได้อย่างคล่องตัวมีลาดับขั้น และ เป้าหมายที่แน่นอน นักวิเคราะห์ระบบควรจะทราบถึงว่า ระบบสารสนเทศนั้นพัฒนาขึ้นมา อย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร นั่นก็คือนักวิเคราะห์ต้องรู้ว่าวงจรการพัฒนาระบบคืออะไร ดังนี้ วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle) เป็นวงจรที่แสดงถึง กิจกรรมต่างๆ ในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ต้นจนเสร็จเป็นระบบงานที่ใช้ได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบ ต้องทาความเข้าใจว่าในแต่ละขั้นตอนทาอะไรและทาอย่างไรโดยมีอยู่ 7 ขั้นตอนด้วยกันคือ
  • 3. วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) ระยะที่ 1 กำรกำหนดปัญหำ หรือ กำรเข้ำใจปัญหำ (Problem Definition) การกาหนดปัญหา เป็นขั้นตอนของการกาหนดขอบเขตของปัญหา สาเหตุของปัญหาจากการ ดาเนินงานในปัจจุบัน ความเป็นไปได้กับการสร้างระบบใหม่ การกาหนดความต้องการระหว่าง นักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งาน โดยข้อมูลเหล่านี้ได้จากการสัมภาษณ์ การรวบรวมข้อมูลจากการ ดาเนินงานต่าง ๆ เพื่อทาการสรุปเป็นข้อกาหนดที่ชัดเจน ในขั้นตอนนี้หากเป็นโครงการที่มีขนาด ใหญ่ อาจเรียกขั้นตอนนี้ว่า ขั้นตอนของการศึกษาความเป็นไปได้
  • 4. ระยะที่ 2 กำรวิเครำะห์ (Analysis) การวิเคราะห์เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์การดาเนินงานของระบบปัจจุบัน โดยการนาข้อกาหนดความ ต้องการที่ได้มาจากขั้นตอนแรกมาวิเคราะห์ในรายละเอียด เพื่อทาการพัฒนาเป็นแบบจาลองตรรกะ ซึ่ง ประกอบด้วย แผนภาพกระแสข้อมูล คาอธิบายการประมวลผลข้อมูล และแบบจาลองข้อมูล ในรูปแบบ ของ ER-Diagram ทาให้ทราบถึงรายละเอียดขั้นตอนการดาเนินงานในระบบว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง มี ความเกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กับสิ่งใด ระยะที่ 3 กำรออกแบบ (Design) การออกแบบเป็นขั้นตอนของการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ของตรรกะมาทาการออกแบบระบบ โดยการออกแบบจะเริ่มจากส่วนของอุปกรณ์และเทคโนโลยีต่าง ๆ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นามา พัฒนาการออกแบบจาลองข้อมูล การออกแบบรายงาน และการออกแบบจอภาพในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ การจัดทาพจนานุกรมข้อมูล วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
  • 5. ระยะที่ 4 กำรพัฒนำ (Development) การพัฒนาเป็นขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการสร้างชุดคาสั่งหรือเขียนโปรแกรมเพื่อการ สร้างระบบงาน โดยโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเทคโนโลยีใช้งานอยู่ ซึ่งในปัจจุบันภาษาระดังสูงได้มีการพัฒนาในรูปแบบของ 4GL ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกต่อการพัฒนา รวมทั้งการมีวิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยต่าง ๆ มากมายให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม ระยะที่ 5 กำรทดสอบ (Testing) การทดสอบระบบ เป็นขั้นตอนของการทดสอบระบบก่อนที่จะนาไปปฏิบัติการใช้งานจริง ทีมงานจะ ทาการทดสอบข้อมูลเบื้องต้นก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจาลองเพื่อตรวจสอบการทางานของระบบ หากมี ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นก็จะย้อนกลับไปในขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมใหม่ โดยการทดสอบระบบนี้ จะมี การตรวจสอบอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน คือ การตรวจสอบรูปแบบภาษาเขียน (Syntax) และการตรวจสอบ วัตถุประสงค์งานตรงกับความต้องการหรือไม่ วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
  • 6. ระยะที่ 6 กำรนำระบบไปใช้ (Implementation Phase) ขั้นตอนต่อมาหลังจากที่ได้ทาการทดสอบ จนมีความมั่นใจแล้วว่าระบบสามารถทางานได้ จริงและตรงกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ จากนั้นจึงดาเนินการติดตั้งระบบเพื่อใช้งานจริง ระยะที่ 7 กำรบำรุงรักษำ (Maintenance) เป็นขั้นตอนของการปรับปรุงแก้ไขระบบหลังจากที่ได้มีการติดตั้งและใช้งานแล้วใน ขั้นตอนนี้อาจเกิดจากจุดบกพร่องของโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง หรือเกิดจากความต้องการของผู้ใช้งานที่ต้องการเพิ่มโมดูลในการทางานอื่น ๆ ซึ่งทั้งนี้ก็จะ เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดความต้องการที่เคยตกลงกันก่อนหน้าด้วย ดังนั้นในส่วนงานนี้จะคิด ค่าใช้จ่ายเพิ่มหรืออย่างไรเป็นเรื่องของรายละเอียดที่ผู้พัฒนาหรือนักวิเคราะห์ระบบจะต้อง ดาเนินการกับผู้ว่าจ้าง วงจรกำรพัฒนำระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)