SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
4/25/16	
  	
  
1	
  
รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
•  น้องโบว์ วัยรุ่น 19 ปี หน้าตาสวยผิวพรรณดี
•  พ่อแม่แยกทางกันตั้งแต่โบว์อายุ 3 ขวบ
•  แม่มาเปิดร้านขายอาหาร พ่อมีครอบครัวใหม่
•  พ.ศ. 2553 โบว์เข้าเรียนในคณะมนุษยศาสตร์
•  โบว์ฝันว่าเมื่อเรียนจบจะหาเลี้ยงแม่ รู้สึกถึงความ
เหนื่อยยากของแม่ที่ต้องเลี้ยงดูโบว์แต่ลำพัง
•  พย.53 ขณะเข้ารับการจัดฟัน เริ่มปวดลิ้นและช่อง
ปาก หมอผ่าตัดส่งชิ้นเนื้อตรวจ พบเป็นมะเร็งที่ลิ้น
•  ในระหว่างรักษาโบว์มีกำลังใจเข้มแข็ง ต่อสู้กับผล
ข้างเคียงของยาเคมีบำบัดจนครบคอร์ส กพ.54
•  สค.54 โบว์กลับเข้าฝังแร่เนื่องจากโรคกลับเป็นซ้ำ
แต่ไม่ตอบสนอง ก้อนโตขึ้นเรื่อยๆ หายใจลำบาก
ได้รับการทำ tracheostomy และ retain NG tube
•  เริ่มอ่อนล้า
•  ธค.54 กลับเข้ารักษาอีกเนื่องจากก้อนที่คอด้าน
ขวาโตมากขึ้น เป็นหนองกลิ่นเหม็น
•  Fungating wound บริเวณคอด้านขวา ปวดมาก
•  หายใจลำบากจากมีเสมหะมาก
•  Continuous SC MO infusion
•  Gabapentin สำหรับneuropathic pain
•  ให้ fentanyl SC ก่อนทำแผล
•  Non-pharmacological pain management
Bleeding
Malodor
Exudate
• Apply sucalfate

locally
• Sofa-tulle
• Dressing with
Metronidazole inj.
• Dressing &
Protect 

surrounding skin
• Treat infection
4/25/16	
  	
  
2	
  
บอกความจริงกับน้องโบว์ น้องโบว์ทราบว่าเวลา
เหลือน้อย ต้องการเป้าหมายดูแลให้สุขสบาย
•  หนูอยากให้ทุกคนและเพื่อนๆ รู้ว่าหนูรักพวกเขา
•  หนูต้องขอโทษในบางสิ่งที่ทำให้ครอบครัวและเพื่อนเสียใจ
•  หนูอยากให้ครอบครัวและเพื่อนของหนูจดจำภาพที่งดงาม
ก่อนที่หนูจะป่วย
•  หนูอยากให้ครอบครัวรู้ว่าหนูไม่หวาดหวั่นต่อ..อะไรทั้งสิ้น
เพราะหนูไม่อยู่แล้ว จะได้ไปอย่างสงบและหมดห่วง
•  ถ้าหนูเป็นอะไรไป หนูอยากฝากให้ทุกคนช่วยหนูดังนี้
- ทำใจให้เข้มแข็ง
- นึกถึงช่วงเวลาดีดีที่เคยอยู่ด้วยกัน ไม่ต้องห่วงอะไรทั้งสิ้น
•  หนูอยากให้ครอบครัวได้รับรู้ว่าหนูรักและห่วงทุกคน ไม่
อยากให้เครียด ถึงเวลาของหนูแล้ว ไม่เร็วก็ช้าหนูก็ต้องไป
•  หลังการเข้ารักษา 3 สัปดาห์ อาการปวดรุนแรง
มากขึ้นเรื่อยๆ ต้องเพิ่ม MO เป็น 3 mg/h เพิ่ม
gabapentin เป็น 900 mg x 3 tab.
•  มีอาการอ่อนแรงลงมาก นอนมากขึ้น ซึม เริ่ม
feed อาหารไม่ได้ เจ็บปวดเวลาพลิกตะแคงตัว
ผู้ป่วยเข้าสู่ dying stage
•  เราทราบได้อย่างไรว่า
ผู้ป่วยกำลังจะตาย ?
•  อาการและอาการ
แสดงเป็นอย่างไร ?
•  เราจะให้การดูแล
อย่างไร?
4/25/16	
  	
  
3	
  
กรณีถ้าไม่มี reversible conditions ลักษณะ
เหล่านี้ช่วยบ่งชี้ว่าผู้ป่วยจะมีชีวิตอีกไม่กี่วัน:
•  อ่อนล้ามาก ไม่มีเรียวแรง à นอนติดเตียง
•  นอนเป็นส่วนใหญ่ การรับรู้ลดลง à โคม่าไม่รู้ตัว
•  ไม่มีสมาธิ à สับสน (à delirium)
•  ไม่สามารถกลืนเม็ดยาได้ หรือกลืนลำบาก
•  ดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้น้อยมาก
Ellenshaw JE, et al. J Pain Symp Management, 1995
•  คาดการณ์ว่าผู้ป่วยจะมีอาการอะไรบ้าง วางแผน
การรักษาล่วงหน้า แก้ปัญหาตามอาการที่มี
•  ประเมินอาการอย่างสม่ำเสมอ
•  ทบทวนยาต่างๆที่ผู้ป่วยได้รับอยู่ในขณะนั้น

- ยาตัวใดควรใช้ต่อ ตัวใดควรเอาออก

- พิจารณาวิธีการบริหารยาที่เหมาะสม
•  หยุดการรักษาที่ไม่จำเป็น
•  สื่อสารและเตรียมครอบครัวผู้ป่วย ให้คำอธิบาย
ให้การประคับประคองจิตใจ
•  หยุดยาที่ไม่จำเป็น เช่น anti-hypertensives,
vitamins, statins, diuretics, laxatives
•  ในผู้ป่วย insulin-dependent หยุดฉีดเมื่อผู้ป่วย
เริ่มไม่รู้สึกตัว หรือให้ once daily regimen
•  หยุดการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ไม่จำเป็น
•  หยุด IV fluid/NG feeding
•  หยุดการพลิกตัวป้องกันแผลกดทับ
•  หยุดวัด VS ให้ติดตามความสุขสบายของผู้ป่วย
•  คาดการว่าอาจมีอาการใดและให้การจัดการ
อาการ
•  เปลี่ยนรูปแบบการให้ยา
–  Rectal, subcutaneous (SC), intravenous
–  ไม่เริ่มยาใหม่ที่เป็น long-acting เช่น
fentanyl patch (ออกฤทธิ์ช้า)
•  ไม่แทง IV ใหม่ ถ้าของเดิม leak ให้เปลี่ยนมา
ให้ SC
•  ยาที่ควรให้ต่อ เช่น analgesics, anti-emetics,
anxiolytics
•  จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบ
•  Mouth, eyes, skin care
•  Bowel & bladder care
•  เตรียมตัวผู้ป่วยกลับบ้าน ถ้าเป็นสิ่งที่ผู้ป่วย/
ครอบครัวต้องการ
•  ให้การประคับประคองครอบครัว
4/25/16	
  	
  
4	
  
•  ความปวด
•  อาการหายใจลำบาก
•  อาการสับสน ทุรนทุราย
•  คลื้นใส้ อาเจียน
•  การกระตุก ชัก
•  การหายใจเสียงดัง
•  ปฏิกริยาของครอบครัว
•  ยังมีความจำเป็นต้องให้ต่อแม้ว่าผู้ป่วยจะไม่มี
อาการตอบสนอง
•  อาจปรับขนาดยาลง ถ้าปัสสวะเริ่มออกน้อย
•  การหยุดยาทันทีอาจทำให้อาการปวดกลับมา
ใหม่หรือเกิด withdrawal symptoms
•  เปลี่ยนรูปแบบการให้ยาจากการกินทางปากมา
เป็น sub-cut, IV หรือ rectal
จะปรับขนาดยาแก้ปวดที่ผู้ป่วยใช้อยู่อย่างไร
ยังมีความจำเป็นต้องให้ต่อหรือไม่ ?
•  ผู้ป่วยที่ไม่เคยได้ MO มาก่อน ถ้ามีอาการปวด
§ ให้ MO ทาง SC 3-5 mg q4h prn
§ ถ้าใช้ >2 doses/24h เปลี่ยนให้แบบต่อเนื่อง
ทาง SC ใช้ syringe driver หรือให้ SC q4h.
•  ผู้ป่วยที่ได้ oral MO อยู่แล้ว
§ ถ้าไม่มีอาการปวด เปลี่ยนให้ยาขนาด

equivalent dose แบบต่อเนื่องทาง SC ใช้
syringe driver หรือให้ SC q4h.
§ ถ้าผู้ป่วยมีอาการปวดให้เพิ่มขนาดขึ้น 30-50%

Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence
•  ผู้ป่วยที่ใช้ fentanyl patches

à ให้ใช้ต่อ และให้ MO prn SC ใน 24h แรก

à เปลี่ยนเป็นให้ MO ต่อเนื่องทาง SC ใช้
syringe driver
•  ใช้ co-analgesic สำหรับอาการปวดที่คุม
ลำบาก 

à Bone pain - NSAID suppository.

à Muscle spasm – diazepam suppository.

à Neuropathic pain – ketamine SC.
•  ปรึกษา pain/palliative care team ถ้าควบคุม
ความปวดไม่ได้
Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence
แก้ไขสาเหตุที่แก้ไขได้ :
•  Pain/withdrawal of opioids à opioids
•  Opioid toxicity à opioid switching +
hydration.
•  Hypoxia à oxygen
•  Brain metastasis à dexamethasone.
•  Full bladder à retain urinary catheter
Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence
ถ้าผู้ป่วยมี agitation

à Midazolam 2.5-10 mg SC q 4 h PRN.

à If used >2 doses/d à cont SC ใช้ syringe
driver
Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence
4/25/16	
  	
  
5	
  
Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence
•  เป็นหัวใจสำคัญ ช่วยให้สุขสบาย สื่อสารพูดคุย
•  ผู้ป่วยที่ได้ oxygen ผู้ป่วยที่หายใจทางปาก และผู้
ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ควรเช็ดหรือหยอดน้ำให้ปากชุ่ม
ชื้นทุกชั่วโมง
•  ให้จิบน้ำบ่อยๆ อมน้ำแข็ง
•  ทาริมฝีปากด้วยวาสลิน
•  ใช้แปรงสีฟันขนาดเล็กทำความสะอาดปาก
•  ในผู้ป่วยที่ agitate อาจเกิดจาก urinary
retention
•  การหยุดหรือลด IV fluid จะช่วยให้ปัสสวะออก
น้อยลง ดูแลง่ายขึ้น
•  ผู้ป่วยที่ท้องผูกมากอาจทำให้มี urinary
retention ได้
•  เช็ดตัวลดไข้
•  เปิดพัดลม หรือเครื่องปรับอากาศ
•  ให้ paracetamol หรือ NSAID (diclofenac/
indomethacin) suppositories
•  ไม่จำเป็นต้องให้ antibiotics
•  ควรให้ออกซิเจน ถ้าผู้ป่วยมีอาการหายใจ
ลำบากมาก่อน
•  การดูดเสมหะมักไม่ช่วยให้ผู้ป่วยที่หายใจ
เสียงดัง หายใจดีขึ้น
•  การดูดเสมหะทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
•  ถ้ามี IV อยู่แล้วให้ลดปริมาณ IV ลง
•  ถ้าไม่มี IV ให้จิบน้ำทางปาก
•  Mouth care
•  กรณีครอบครัววิตกกังวล อาจให้ IV แบบ
subcutaneous infusion
4/25/16	
  	
  
6	
  
•  การลดความต้องการอาหารและน้ำเป็นภาวะปกติ
ของผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต
•  ผู้ป่วยไม่ได้อดอาหารจนตาย ร่างกายผู้ป่วยไม่
สามารถรับอาหารได้ต่อไป
•  การให้อาหารและน้ำทางสายยางหรือหลอดเลือด
ไม่ได้ช่วยพยากรณ์โรคและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย
•  การให้อาจทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
•  การที่ผู้ป่วยไม่อยากน้ำหรืออาหารไม่ได้ทำให้ผู้
ป่วยไม่สุขสบาย
• ลด aspiration pneumonia
• ลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
• ลดภาวะการติดเชื้อหรือลดการแตกของผิวหนัง
• เพิ่ม survival duration
ไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่ช่วยสนับสนุนว่าการ
ให้อาหารและน้ำทางสายยาง (non-oral feeding /
hydration) ในผู้ป่วยที่ใกล้เสียชีวิตจะช่วย
Ganzini, L. “Artificial Nutrition and Hydration at the End of Life: Ethics and Evidence.” Palliative and
Supportive Care. 2006; 4: 135 - 143
Dy, M. “Enteral and Parenteral Nutrition in Terminally Ill Cancer Patients: a Review of the
Literature.” American Journal of Hospice and Palliative Medicine. 2006; 23 (5): 369-377
ข้อเสีย
• ความเสี่ยงต่อการเกิด aspiration pneumonia
ใกล้เคียงกับการให้อาหารทางปาก
• การใส่สายยางให้อาหารทำให้ไม่สุขสบาย ต้อง
คอยยึดแขนผู้ป่วยไม่ให้ดึงสายออก
• อาจทำให้มีอาการปวดท้อง ท้องอืดจากระบบทาง
เดินอาหารไม่ทำงาน
Ganzini, L. “Artificial Nutrition and Hydration at the End of Life: Ethics and Evidence.” Palliative and
Supportive Care. 2006; 4: 135 - 143
Dy, M. “Enteral and Parenteral Nutrition in Terminally Ill Cancer Patients: a Review of the
Literature.” American Journal of Hospice and Palliative Medicine. 2006; 23 (5): 369-377
•  “Death rattle” เป็นภาวะที่ทำให้ผู้ดูแลผู้ป่วยวิตก
กังวลแต่ตัวผู้ป่วยเองไม่ได้ทุกข์ทรมานจากภาวะนี้
•  อธิบายให้ครอบครัวผู้ป่วยเข้าใจว่าเสียงดังกล่าวเกิด
จากผู้ป่วยไม่สามารถกลืนน้ำลายได้ ไม่ใช่การสำลัก
•  อย่าให้สารน้ำมากเกินไป
•  หลีกเลี่ยงการดูดเสมหะในคอในผู้ป่วยที่ยังรู้สึกตัวดี
•  จับผู้ป่วยนอนตะแคงแล้วดูดหรือเช็ดน้ำลายจากปาก
•  อาจให้ยาลดเสมหะโดยให้ยากลุ่ม 

antimuscarinic 

- Hyoscine butylbromide 

(Buscopan 20-40 mg prn ทุก 4 ชม.) 

Atropine 0.4 mg SC/IV 1.2-2.4 mg/24h.

Atropine 1% ophthalmic soln 4 drops SL q4h.
Indications for palliative sedation
•  Agitated delirium
•  Breathlessness
•  Pain
คือการทำให้ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยที่กำลังจะเสีย
ชีวิตลดลง ทั้งนี้เพื่อให้พ้นจากความทุกข์ทรมานที่
ไม่สามารถจัดการได้
4/25/16	
  	
  
7	
  
Midazolam
•  5-10 mg SC/IV stat repeated 1-2 h. if necessary
•  Maintain with CSCI/CIVI 0.5-2.5 mg/h., doubled
every 1-2 h. if effect insufficient; possibly
combined with a bolus.
•  If a patient is on opioids and/or antipsychotics, the
medication should be repeated prior to sedation
and maintained during sedation.
•  Elderly patients 0.5-1 mg/h. is preferable
Oncoline. Cancer Clinical Practice Guideline
•  เป็นเวลาที่มีความสำคัญอย่างมาก
•  แม้จะมีการเตรียมตัวดีอย่างไร ครอบครัวมักจะ
อยู่ในภาวะช็อค
•  บอกกับครอบครัวโดยตรงว่าผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว
•  แสดงความเสียใจ
•  ให้เวลาครอบครัวในการอยู่กับผู้ตาย
•  อำนวยความสะดวก
•  จดหมายรับรองการตาย
•  การเตรียมรถ
•  การทำใบมรณะบัตร
•  ติดต่อพิธีกรรม
•  โทรศัพท์ติดตามผู้สูญเสีย
•  เอา NG tube ออก ยุติการให้อาหารและ IV fluid
•  MO 3 mg/h + Ketamine 5mg/h CSI
•  Atropine 0.4mg q 6 hrs
•  Mouth care
•  หยุดพลิกตัว
•  ให้การประคับประคองมารดา
•  กล่าวคำอำลา
•  สื่อสารให้ครอบครัวทราบว่าเวลาเหลือน้อยแล้ว
•  อธิบายให้ทราบว่า เราไม่สามารถทำนายเวลา
ของการเสียชีวิตได้
•  อธิบายการเปลี่ยนแปลงในระยะใกล้เสียชีวิต
•  อธิบายขั้นตอนหรือการดูแลจัดการอาการ
•  แนะนำให้ครอบครัวหมุนเวียนกันมาดูแล
•  ให้สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
•  แสดงความห่วงใย เปิดโอกาสให้ถามคำถาม
การดูแลที่มีประสิทธิภาพ ที่เข้าอกเข้าใจ
และอ่อนโยนในช่วงระยะก่อนผู้ป่วยเสียชีวิต
เป็นสิ่งที่มีความสำคัญที่สุด
ช่วงวัน ชั่วโมง นาทีสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วย จะเป็น
ช่วงที่จะอยู่ในความทรงจำของครอบครัวไปชั่วชีวิต และ
การที่ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างไร มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อ
ชีวิตที่เหลือของคนอื่นๆในครอบครัว

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
31 apocalipsa revelatia lui isus cristos
31 apocalipsa revelatia lui isus cristos31 apocalipsa revelatia lui isus cristos
31 apocalipsa revelatia lui isus cristos
Nelu Nemesniciuc
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
My Parents
 
Evanghelia eseniana-a-pacii
Evanghelia eseniana-a-paciiEvanghelia eseniana-a-pacii
Evanghelia eseniana-a-pacii
eugen petrache
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
techno UCH
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
Kanti Bkk
 

La actualidad más candente (20)

Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
31 apocalipsa revelatia lui isus cristos
31 apocalipsa revelatia lui isus cristos31 apocalipsa revelatia lui isus cristos
31 apocalipsa revelatia lui isus cristos
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
Lise bourbeau-corpul-tau
Lise bourbeau-corpul-tauLise bourbeau-corpul-tau
Lise bourbeau-corpul-tau
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Evanghelia eseniana-a-pacii
Evanghelia eseniana-a-paciiEvanghelia eseniana-a-pacii
Evanghelia eseniana-a-pacii
 
Contemplaţia in viaţa duhovnicească a creştinului ortodox
Contemplaţia in viaţa duhovnicească a creştinului ortodoxContemplaţia in viaţa duhovnicească a creştinului ortodox
Contemplaţia in viaţa duhovnicească a creştinului ortodox
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
DSME Brochure
DSME BrochureDSME Brochure
DSME Brochure
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
Gerard Encausse stiinta magilor
Gerard Encausse   stiinta magilorGerard Encausse   stiinta magilor
Gerard Encausse stiinta magilor
 
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
 

Similar a PC10:Last hours of life

Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
Bow Aya
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
Nithimar Or
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
Watcharapong Rintara
 

Similar a PC10:Last hours of life (20)

Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
Orthopedic bone and joint infection cd
Orthopedic   bone and joint infection cdOrthopedic   bone and joint infection cd
Orthopedic bone and joint infection cd
 
Km pal pnk jan 2010
Km pal pnk jan 2010Km pal pnk jan 2010
Km pal pnk jan 2010
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉัน
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 

Más de CAPD AngThong

Más de CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 

PC10:Last hours of life

  • 1. 4/25/16     1   รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น •  น้องโบว์ วัยรุ่น 19 ปี หน้าตาสวยผิวพรรณดี •  พ่อแม่แยกทางกันตั้งแต่โบว์อายุ 3 ขวบ •  แม่มาเปิดร้านขายอาหาร พ่อมีครอบครัวใหม่ •  พ.ศ. 2553 โบว์เข้าเรียนในคณะมนุษยศาสตร์ •  โบว์ฝันว่าเมื่อเรียนจบจะหาเลี้ยงแม่ รู้สึกถึงความ เหนื่อยยากของแม่ที่ต้องเลี้ยงดูโบว์แต่ลำพัง •  พย.53 ขณะเข้ารับการจัดฟัน เริ่มปวดลิ้นและช่อง ปาก หมอผ่าตัดส่งชิ้นเนื้อตรวจ พบเป็นมะเร็งที่ลิ้น •  ในระหว่างรักษาโบว์มีกำลังใจเข้มแข็ง ต่อสู้กับผล ข้างเคียงของยาเคมีบำบัดจนครบคอร์ส กพ.54 •  สค.54 โบว์กลับเข้าฝังแร่เนื่องจากโรคกลับเป็นซ้ำ แต่ไม่ตอบสนอง ก้อนโตขึ้นเรื่อยๆ หายใจลำบาก ได้รับการทำ tracheostomy และ retain NG tube •  เริ่มอ่อนล้า •  ธค.54 กลับเข้ารักษาอีกเนื่องจากก้อนที่คอด้าน ขวาโตมากขึ้น เป็นหนองกลิ่นเหม็น •  Fungating wound บริเวณคอด้านขวา ปวดมาก •  หายใจลำบากจากมีเสมหะมาก •  Continuous SC MO infusion •  Gabapentin สำหรับneuropathic pain •  ให้ fentanyl SC ก่อนทำแผล •  Non-pharmacological pain management Bleeding Malodor Exudate • Apply sucalfate
 locally • Sofa-tulle • Dressing with Metronidazole inj. • Dressing & Protect 
 surrounding skin • Treat infection
  • 2. 4/25/16     2   บอกความจริงกับน้องโบว์ น้องโบว์ทราบว่าเวลา เหลือน้อย ต้องการเป้าหมายดูแลให้สุขสบาย •  หนูอยากให้ทุกคนและเพื่อนๆ รู้ว่าหนูรักพวกเขา •  หนูต้องขอโทษในบางสิ่งที่ทำให้ครอบครัวและเพื่อนเสียใจ •  หนูอยากให้ครอบครัวและเพื่อนของหนูจดจำภาพที่งดงาม ก่อนที่หนูจะป่วย •  หนูอยากให้ครอบครัวรู้ว่าหนูไม่หวาดหวั่นต่อ..อะไรทั้งสิ้น เพราะหนูไม่อยู่แล้ว จะได้ไปอย่างสงบและหมดห่วง •  ถ้าหนูเป็นอะไรไป หนูอยากฝากให้ทุกคนช่วยหนูดังนี้ - ทำใจให้เข้มแข็ง - นึกถึงช่วงเวลาดีดีที่เคยอยู่ด้วยกัน ไม่ต้องห่วงอะไรทั้งสิ้น •  หนูอยากให้ครอบครัวได้รับรู้ว่าหนูรักและห่วงทุกคน ไม่ อยากให้เครียด ถึงเวลาของหนูแล้ว ไม่เร็วก็ช้าหนูก็ต้องไป •  หลังการเข้ารักษา 3 สัปดาห์ อาการปวดรุนแรง มากขึ้นเรื่อยๆ ต้องเพิ่ม MO เป็น 3 mg/h เพิ่ม gabapentin เป็น 900 mg x 3 tab. •  มีอาการอ่อนแรงลงมาก นอนมากขึ้น ซึม เริ่ม feed อาหารไม่ได้ เจ็บปวดเวลาพลิกตะแคงตัว ผู้ป่วยเข้าสู่ dying stage •  เราทราบได้อย่างไรว่า ผู้ป่วยกำลังจะตาย ? •  อาการและอาการ แสดงเป็นอย่างไร ? •  เราจะให้การดูแล อย่างไร?
  • 3. 4/25/16     3   กรณีถ้าไม่มี reversible conditions ลักษณะ เหล่านี้ช่วยบ่งชี้ว่าผู้ป่วยจะมีชีวิตอีกไม่กี่วัน: •  อ่อนล้ามาก ไม่มีเรียวแรง à นอนติดเตียง •  นอนเป็นส่วนใหญ่ การรับรู้ลดลง à โคม่าไม่รู้ตัว •  ไม่มีสมาธิ à สับสน (à delirium) •  ไม่สามารถกลืนเม็ดยาได้ หรือกลืนลำบาก •  ดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้น้อยมาก Ellenshaw JE, et al. J Pain Symp Management, 1995 •  คาดการณ์ว่าผู้ป่วยจะมีอาการอะไรบ้าง วางแผน การรักษาล่วงหน้า แก้ปัญหาตามอาการที่มี •  ประเมินอาการอย่างสม่ำเสมอ •  ทบทวนยาต่างๆที่ผู้ป่วยได้รับอยู่ในขณะนั้น
 - ยาตัวใดควรใช้ต่อ ตัวใดควรเอาออก
 - พิจารณาวิธีการบริหารยาที่เหมาะสม •  หยุดการรักษาที่ไม่จำเป็น •  สื่อสารและเตรียมครอบครัวผู้ป่วย ให้คำอธิบาย ให้การประคับประคองจิตใจ •  หยุดยาที่ไม่จำเป็น เช่น anti-hypertensives, vitamins, statins, diuretics, laxatives •  ในผู้ป่วย insulin-dependent หยุดฉีดเมื่อผู้ป่วย เริ่มไม่รู้สึกตัว หรือให้ once daily regimen •  หยุดการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ไม่จำเป็น •  หยุด IV fluid/NG feeding •  หยุดการพลิกตัวป้องกันแผลกดทับ •  หยุดวัด VS ให้ติดตามความสุขสบายของผู้ป่วย •  คาดการว่าอาจมีอาการใดและให้การจัดการ อาการ •  เปลี่ยนรูปแบบการให้ยา –  Rectal, subcutaneous (SC), intravenous –  ไม่เริ่มยาใหม่ที่เป็น long-acting เช่น fentanyl patch (ออกฤทธิ์ช้า) •  ไม่แทง IV ใหม่ ถ้าของเดิม leak ให้เปลี่ยนมา ให้ SC •  ยาที่ควรให้ต่อ เช่น analgesics, anti-emetics, anxiolytics •  จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบ •  Mouth, eyes, skin care •  Bowel & bladder care •  เตรียมตัวผู้ป่วยกลับบ้าน ถ้าเป็นสิ่งที่ผู้ป่วย/ ครอบครัวต้องการ •  ให้การประคับประคองครอบครัว
  • 4. 4/25/16     4   •  ความปวด •  อาการหายใจลำบาก •  อาการสับสน ทุรนทุราย •  คลื้นใส้ อาเจียน •  การกระตุก ชัก •  การหายใจเสียงดัง •  ปฏิกริยาของครอบครัว •  ยังมีความจำเป็นต้องให้ต่อแม้ว่าผู้ป่วยจะไม่มี อาการตอบสนอง •  อาจปรับขนาดยาลง ถ้าปัสสวะเริ่มออกน้อย •  การหยุดยาทันทีอาจทำให้อาการปวดกลับมา ใหม่หรือเกิด withdrawal symptoms •  เปลี่ยนรูปแบบการให้ยาจากการกินทางปากมา เป็น sub-cut, IV หรือ rectal จะปรับขนาดยาแก้ปวดที่ผู้ป่วยใช้อยู่อย่างไร ยังมีความจำเป็นต้องให้ต่อหรือไม่ ? •  ผู้ป่วยที่ไม่เคยได้ MO มาก่อน ถ้ามีอาการปวด § ให้ MO ทาง SC 3-5 mg q4h prn § ถ้าใช้ >2 doses/24h เปลี่ยนให้แบบต่อเนื่อง ทาง SC ใช้ syringe driver หรือให้ SC q4h. •  ผู้ป่วยที่ได้ oral MO อยู่แล้ว § ถ้าไม่มีอาการปวด เปลี่ยนให้ยาขนาด
 equivalent dose แบบต่อเนื่องทาง SC ใช้ syringe driver หรือให้ SC q4h. § ถ้าผู้ป่วยมีอาการปวดให้เพิ่มขนาดขึ้น 30-50%
 Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence •  ผู้ป่วยที่ใช้ fentanyl patches
 à ให้ใช้ต่อ และให้ MO prn SC ใน 24h แรก
 à เปลี่ยนเป็นให้ MO ต่อเนื่องทาง SC ใช้ syringe driver •  ใช้ co-analgesic สำหรับอาการปวดที่คุม ลำบาก 
 à Bone pain - NSAID suppository.
 à Muscle spasm – diazepam suppository.
 à Neuropathic pain – ketamine SC. •  ปรึกษา pain/palliative care team ถ้าควบคุม ความปวดไม่ได้ Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence แก้ไขสาเหตุที่แก้ไขได้ : •  Pain/withdrawal of opioids à opioids •  Opioid toxicity à opioid switching + hydration. •  Hypoxia à oxygen •  Brain metastasis à dexamethasone. •  Full bladder à retain urinary catheter Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence ถ้าผู้ป่วยมี agitation
 à Midazolam 2.5-10 mg SC q 4 h PRN.
 à If used >2 doses/d à cont SC ใช้ syringe driver Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence
  • 5. 4/25/16     5   Ellershaw, Care of the dying: A pathway to excellence •  เป็นหัวใจสำคัญ ช่วยให้สุขสบาย สื่อสารพูดคุย •  ผู้ป่วยที่ได้ oxygen ผู้ป่วยที่หายใจทางปาก และผู้ ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ควรเช็ดหรือหยอดน้ำให้ปากชุ่ม ชื้นทุกชั่วโมง •  ให้จิบน้ำบ่อยๆ อมน้ำแข็ง •  ทาริมฝีปากด้วยวาสลิน •  ใช้แปรงสีฟันขนาดเล็กทำความสะอาดปาก •  ในผู้ป่วยที่ agitate อาจเกิดจาก urinary retention •  การหยุดหรือลด IV fluid จะช่วยให้ปัสสวะออก น้อยลง ดูแลง่ายขึ้น •  ผู้ป่วยที่ท้องผูกมากอาจทำให้มี urinary retention ได้ •  เช็ดตัวลดไข้ •  เปิดพัดลม หรือเครื่องปรับอากาศ •  ให้ paracetamol หรือ NSAID (diclofenac/ indomethacin) suppositories •  ไม่จำเป็นต้องให้ antibiotics •  ควรให้ออกซิเจน ถ้าผู้ป่วยมีอาการหายใจ ลำบากมาก่อน •  การดูดเสมหะมักไม่ช่วยให้ผู้ป่วยที่หายใจ เสียงดัง หายใจดีขึ้น •  การดูดเสมหะทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย •  ถ้ามี IV อยู่แล้วให้ลดปริมาณ IV ลง •  ถ้าไม่มี IV ให้จิบน้ำทางปาก •  Mouth care •  กรณีครอบครัววิตกกังวล อาจให้ IV แบบ subcutaneous infusion
  • 6. 4/25/16     6   •  การลดความต้องการอาหารและน้ำเป็นภาวะปกติ ของผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต •  ผู้ป่วยไม่ได้อดอาหารจนตาย ร่างกายผู้ป่วยไม่ สามารถรับอาหารได้ต่อไป •  การให้อาหารและน้ำทางสายยางหรือหลอดเลือด ไม่ได้ช่วยพยากรณ์โรคและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย •  การให้อาจทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย •  การที่ผู้ป่วยไม่อยากน้ำหรืออาหารไม่ได้ทำให้ผู้ ป่วยไม่สุขสบาย • ลด aspiration pneumonia • ลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย • ลดภาวะการติดเชื้อหรือลดการแตกของผิวหนัง • เพิ่ม survival duration ไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่ช่วยสนับสนุนว่าการ ให้อาหารและน้ำทางสายยาง (non-oral feeding / hydration) ในผู้ป่วยที่ใกล้เสียชีวิตจะช่วย Ganzini, L. “Artificial Nutrition and Hydration at the End of Life: Ethics and Evidence.” Palliative and Supportive Care. 2006; 4: 135 - 143 Dy, M. “Enteral and Parenteral Nutrition in Terminally Ill Cancer Patients: a Review of the Literature.” American Journal of Hospice and Palliative Medicine. 2006; 23 (5): 369-377 ข้อเสีย • ความเสี่ยงต่อการเกิด aspiration pneumonia ใกล้เคียงกับการให้อาหารทางปาก • การใส่สายยางให้อาหารทำให้ไม่สุขสบาย ต้อง คอยยึดแขนผู้ป่วยไม่ให้ดึงสายออก • อาจทำให้มีอาการปวดท้อง ท้องอืดจากระบบทาง เดินอาหารไม่ทำงาน Ganzini, L. “Artificial Nutrition and Hydration at the End of Life: Ethics and Evidence.” Palliative and Supportive Care. 2006; 4: 135 - 143 Dy, M. “Enteral and Parenteral Nutrition in Terminally Ill Cancer Patients: a Review of the Literature.” American Journal of Hospice and Palliative Medicine. 2006; 23 (5): 369-377 •  “Death rattle” เป็นภาวะที่ทำให้ผู้ดูแลผู้ป่วยวิตก กังวลแต่ตัวผู้ป่วยเองไม่ได้ทุกข์ทรมานจากภาวะนี้ •  อธิบายให้ครอบครัวผู้ป่วยเข้าใจว่าเสียงดังกล่าวเกิด จากผู้ป่วยไม่สามารถกลืนน้ำลายได้ ไม่ใช่การสำลัก •  อย่าให้สารน้ำมากเกินไป •  หลีกเลี่ยงการดูดเสมหะในคอในผู้ป่วยที่ยังรู้สึกตัวดี •  จับผู้ป่วยนอนตะแคงแล้วดูดหรือเช็ดน้ำลายจากปาก •  อาจให้ยาลดเสมหะโดยให้ยากลุ่ม 
 antimuscarinic 
 - Hyoscine butylbromide 
 (Buscopan 20-40 mg prn ทุก 4 ชม.) 
 Atropine 0.4 mg SC/IV 1.2-2.4 mg/24h.
 Atropine 1% ophthalmic soln 4 drops SL q4h. Indications for palliative sedation •  Agitated delirium •  Breathlessness •  Pain คือการทำให้ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยที่กำลังจะเสีย ชีวิตลดลง ทั้งนี้เพื่อให้พ้นจากความทุกข์ทรมานที่ ไม่สามารถจัดการได้
  • 7. 4/25/16     7   Midazolam •  5-10 mg SC/IV stat repeated 1-2 h. if necessary •  Maintain with CSCI/CIVI 0.5-2.5 mg/h., doubled every 1-2 h. if effect insufficient; possibly combined with a bolus. •  If a patient is on opioids and/or antipsychotics, the medication should be repeated prior to sedation and maintained during sedation. •  Elderly patients 0.5-1 mg/h. is preferable Oncoline. Cancer Clinical Practice Guideline •  เป็นเวลาที่มีความสำคัญอย่างมาก •  แม้จะมีการเตรียมตัวดีอย่างไร ครอบครัวมักจะ อยู่ในภาวะช็อค •  บอกกับครอบครัวโดยตรงว่าผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว •  แสดงความเสียใจ •  ให้เวลาครอบครัวในการอยู่กับผู้ตาย •  อำนวยความสะดวก •  จดหมายรับรองการตาย •  การเตรียมรถ •  การทำใบมรณะบัตร •  ติดต่อพิธีกรรม •  โทรศัพท์ติดตามผู้สูญเสีย •  เอา NG tube ออก ยุติการให้อาหารและ IV fluid •  MO 3 mg/h + Ketamine 5mg/h CSI •  Atropine 0.4mg q 6 hrs •  Mouth care •  หยุดพลิกตัว •  ให้การประคับประคองมารดา •  กล่าวคำอำลา •  สื่อสารให้ครอบครัวทราบว่าเวลาเหลือน้อยแล้ว •  อธิบายให้ทราบว่า เราไม่สามารถทำนายเวลา ของการเสียชีวิตได้ •  อธิบายการเปลี่ยนแปลงในระยะใกล้เสียชีวิต •  อธิบายขั้นตอนหรือการดูแลจัดการอาการ •  แนะนำให้ครอบครัวหมุนเวียนกันมาดูแล •  ให้สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล •  แสดงความห่วงใย เปิดโอกาสให้ถามคำถาม การดูแลที่มีประสิทธิภาพ ที่เข้าอกเข้าใจ และอ่อนโยนในช่วงระยะก่อนผู้ป่วยเสียชีวิต เป็นสิ่งที่มีความสำคัญที่สุด ช่วงวัน ชั่วโมง นาทีสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วย จะเป็น ช่วงที่จะอยู่ในความทรงจำของครอบครัวไปชั่วชีวิต และ การที่ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างไร มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อ ชีวิตที่เหลือของคนอื่นๆในครอบครัว