SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 141
Descargar para leer sin conexión
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
กับการพัฒนาครูสู่เส้นทางครูมืออาชีพ
โดย รจนา วงศ์ข้าหลวง
ผู้อานวยการสานักยกย่องเชิดชูเกียรติวิชาชีพ
รักษาการในตาแหน่งเลขาธิการคุรุสภา
กรอบการบรรยาย
ความเป็ นมาและบทบาทของคุรุสภา
หลักการของวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
การประกอบวิชาชีพควบคุม
การควบคุม กากับ ดูแลการประกอบวิชาชีพ
การพัฒนาวิชาชีพ
การยกย่องเชิดชูเกียรติวิชาชีพ/ผู้ประกอบวิชาชีพ
ความเป็ นครูมืออาชีพ/การพัฒนาสู่ครูมืออาชีพ
ความเป็ นมาของคุรุสภา
ปี พุทธศักราช ๒๔๘๘
 นายทวี บุณยเกตุ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ในขณะนั้น ได้เล็งเห็นถึงปั ญหาวิกฤตในวิชาชีพครู กล่าวคือ
คนดี คนเก่ง ไม่อยากเรียนครู และ
ครูเก่ง ครูดี ได้ละทิ้งอาชีพครูไปประกอบอาชีพอื่น
จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘
 สาระสาคัญของพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘
ให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่า “คุรุสภา” มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
 มีอานาจหน้าที่ให้ความเห็นเรื่องนโยบายการศึกษาและวิชาการทั่วไป
แก่กระทรวงศึกษาธิการ ควบคุมจรรยา มรรยาท และวินัยของครู
รักษาผลประโยชน์และส่งเสริมสวัสดิการ พัฒนาความรู้ ความสามารถ
คุณภาพและประสิทธิภาพของครู
 กล่าวโดยสรุปภารกิจของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู ฯ
๑. การส่งเสริมและพัฒนาครูและวิชาชีพครู
๒. การรักษาผลประโยชน์และส่งเสริมสวัสดิการครู
ความเป็ นมาของคุรุสภา (ต่อ)
ปี พุทธศักราช ๒๕๔๒ : พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 มาตรา ๕๓ กาหนดให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็ นองค์กรอิสระ ภายใต้การบริหาร
ของสภาวิชาชีพ ในกากับกระทรวง มีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรฐาน
วิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับดูแลการปฏิบัติตาม
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
 มาตรา ๗๓ ให้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติครู
พุทธศักราช ๒๔๘๘
ความเป็ นมาของคุรุสภา (ต่อ)
ปี พุทธศักราช ๒๕๔๖ : พระราชบัญญัติสภาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
พัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากร
ทางการศึกษา ให้มีคุณภาพและมาตรฐานเหมาะสมกับการเป็ นวิชาชีพชั้นสูง
ปรับสภาในกระทรวงศึกษาธิการเป็ นองค์กรวิชาชีพครู
สืบทอดประวัติศาสตร์และเจตนารมณ์ของการจัดตั้งคุรุสภา
ให้เป็ นสภาวิชาชีพครูต่อไป
สาระสาคัญของพระราชบัญญัติ : กาหนดให้มีองค์กร ๒ องค์กร
 สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า คุรุสภา มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
อยู่ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการกาหนด
มาตรฐานวิชาชีพ ควบคุม และรักษามาตรฐานวิชาชีพ
 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และ
บุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล อยู่ในกากับของ
กระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสวัสดิการ
สวัสดิภาพ และสิทธิประโยชน์ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
คุรุสภา : สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
 พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖
มาตรา ๗ : ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า “คุรุสภา”
มีวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้
ในพระราชบัญญัตินี้ มีฐานะเป็ นนิติบุคคล ในกากับของ
กระทรวงศึกษาธิการ
วัตถุประสงค์ของคุรุสภา (มาตรา ๘)
กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับ
ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
อานาจหน้าที่ของคุรุสภา (มาตรา ๙)
กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ควบคุมความประพฤติและการดาเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ให้เป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ
สนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ
พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
อานาจหน้าที่ของคุรุสภา (มาตรา ๙) (ต่อ)
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบันต่าง ๆ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ
รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความชานาญ
ในการประกอบวิชาชีพ
ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
เป็ นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
ออกข้อบังคับคุรุสภาเกี่ยวกับการดาเนินงานตามภารกิจที่กาหนดในกฎหมาย
อานาจหน้าที่ของคุรุสภา (มาตรา ๙) (ต่อ)
ให้คาปรึกษาหรือเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายหรือ
ปั ญหาการพัฒนาวิชาชีพ
ให้คาแนะนาหรือเสนอความคิดเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับการประกอบ
วิชาชีพ หรือการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ
ดาเนินการให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา
กาหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อกระทาการใด ๆ อันอยู่ในอานาจหน้าที่
ของคุรุสภา
การบริหารงานและการดาเนินงานของคุรุสภา
 คณะกรรมการคุรุสภา
 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
 สานักงานเลขาธิการคุรุสภา
1. ประธานกรรมการคุรุสภา - การสรรหา
องค์ประกอบและวิธีการได้มาซึ่งคณะกรรมการคุรุสภา
2. กรรมการโดยตาแหน่ง 8 คน ตามมาตรา 12 (2)
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน - การสรรหา
4. กรรมการจากคณบดี ฯ 4 คน- การเลือกกันเอง
5. กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพ 19 คน - การเลือกตั้ง
6. เลขาธิการคุรุสภา - เลขานุการ
1. ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ - รัฐมนตรีแต่งตั้ง
องค์ประกอบและวิธีการได้มาซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
2. กรรมการโดยตาแหน่ง 3 คน ตามมาตรา 21 (2)
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน - การสรรหา
4. กรรมการจากคณาจารย์ ฯ 2 คน- การเลือกกันเอง
5. กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพ 6 คน - การเลือกตั้ง
6. เลขาธิการคุรุสภา - กรรมการและเลขานุการ
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา
รับผิดชอบเกี่ยวกับการดาเนินงานของคุรุสภา
ประสานและดาเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย
จัดทารายงานประจาปี เกี่ยวกับการดาเนินงานเสนอต่อคุรุสภา
โดยมี เลขาธิการคุรุสภา บริหารกิจการของสานักงาน รวมทั้ง
ดาเนินการตามที่ประธานกรรมการ/คณะกรรมการคุรุสภา
ประธานกรรมการ/คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมอบหมาย
หลักการของความเป็ นวิชาชีพ
หลักการของความเป็ นวิชาชีพ
ให้บริการแก่สังคมที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงและจาเป็ น Social Service
ได้รับการศึกษาอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติก่อนเข้าสู่วิชาชีพ
Long Period of training
ประกอบวิชาชีพด้วยวิธีการแห่งปั ญญา Intellectual method
มีเสรีภาพในการใช้วิชาชีพ Profession Autonomy
มีจรรยาบรรณของวิชาชีพ Profession Ethics
มีสถาบันวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพ Professional Institution
ผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม
ครู
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ศึกษานิเทศก์
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
บทบัญญัติตาม พ.ร.บ.สภาครู
และบุคลากรทางการศึกษา
๒๕๔๖
สาระของมาตรฐานวิชาชีพ
ทางการศึกษา
บทบัญญัติตาม พ.ร.บ. สภาครู ฯ
มาตรา ๔๙ ให้มีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการปฏิบัติตน
มาตรา ๕๐ มาตรฐานการปฏิบัติตน ให้กาหนดเป็ นข้อบังคับ
ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ประกอบด้วย
จรรยาบรรณต่อตนเอง
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อสังคม
คุณวุฒิ
(ความรู้)
คุณภาพ
(ปฏิบัติงาน)
คุณธรรม
(การปฏิบัติตน)
ผู้ประกอบ
วิชาชีพ
ทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพ
มาตรฐานความรู้
และประสบการณ์วิชาชีพ
มาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน
มาตรฐานการปฏิบัติตน
(จรรยาบรรณของ
วิชาชีพ)
ครู
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ศึกษานิเทศก์
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ศึกษานิเทศก์
ครู ครู
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ศึกษานิเทศก์
(มาตรา 49)
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการปฏิบัติตน
(จรรยาบรรณของวิชาชีพ)
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
มาตรฐานความรู้
มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า
หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ดังต่อไปนี้
(๑) ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู
(๒) การพัฒนาหลักสูตร
(๓) การจัดการเรียนรู้
มาตรฐานความรู้ (ต่อ)
(๔) จิตวิทยาสาหรับครู
(๕) การวัดและประเมินผลการศึกษา
(๖) การบริหารจัดการในห้องเรียน
(๗) การวิจัยทางการศึกษา
(๘) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
(๙) ความเป็ นครู
มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครู
 ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญา
ทางการศึกษา เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี และผ่านเกณฑ์
การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน
(๒) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
๑. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ
๒. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน
๓. มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
๔. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
๕. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
๖. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (ต่อ)
๗. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ
๘. ปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
๙. ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
๑๐. ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
๑๑. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
๑๒. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์
มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ)
หมายถึง มาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับคุรุสภา
ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบด้วย
 จรรยาบรรณต่อตนเอง
 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
 จรรยาบรรณต่อ
ผู้รับบริการ
 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วม
ประกอบวิชาชีพ
 จรรยาบรรณต่อสังคม
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ
บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนา
ทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
จรรยาบรรณต่อตนเอง
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้อง รัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต
รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และ
เป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ
ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ
ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องส่งเสริมให้เกิด
การเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์
และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ
ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (ต่อ)
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี
ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (ต่อ)
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปั กษ์ต่อความเจริญทาง
กาย สติปั ญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม
ของศิษย์และผู้รับบริการ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (ต่อ)
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค
โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์
จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (ต่อ)
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์
โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม
สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตน
เป็ นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปั ญญา สิ่งแวดล้อม
รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และ
ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
จรรยาบรรณต่อสังคม
แบบแผนพฤติกรรม
ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
กาหนดตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรม
ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๐
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
 ประมวลพฤติกรรมที่เป็ นตัวอย่างของการประพฤติที่กาหนดขึ้น
ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพ
ต้องหรือพึงประพฤติปฏิบัติตาม ประกอบด้วย
พฤติกรรมที่พึงประสงค์กาหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
ต้องหรือพึงปฏิบัติตาม


พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์กาหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
ต้องหรือพึงละเว้น
แบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น 
 ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็ นแบบอย่างที่ดี
 ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพ
ตามเป้ าหมายที่กาหนด
 ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และ
สะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ
 ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้านวิชาชีพที่พัฒนาและก้าวหน้า
เป็ นที่ยอมรับมาใช้แก่ศิษย์และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ที่พึงประสงค์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น
 เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือสิ่งเสพติดจนขาดสติหรือ
แสดงกิริยาไม่สุภาพเป็ นที่น่ารังเกียจในสังคม
 ประพฤติผิดทางชู้สาวหรือมีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ
 ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความเอาใจใส
จนเกิดความเสียหายในการปฏิบัติงานตามหน้าที่
 ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดผลเสียหาย
แบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น 
 แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
 รักษาชื่อเสียงและปกป้ องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
.
อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ
เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น
 ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบวิชาชีพ
 ดูหมิ่น เหยียดหยาม ให้ร้ายผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ศาสตร์ในวิชาชีพ หรือองค์กรวิชาชีพ
 ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา
 ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รับผิดชอบ หรือไม่ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ
หรือแบบแผนของทางราชการจนก่อให้เกิดความเสียหาย
 คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็ นของตน
แบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น 
 ให้คาปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตา
กรุณา
อย่างเต็มกาลังความสามารถและเสมอภาค
 สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อปกป้ องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส
 ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตน เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการพัฒนา
ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล
 ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
 ให้ศิษย์และผู้รับบริการมีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้และเลือกวิธีปฏิบัติ
 เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟั ง
ความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กาลังใจอย่างกัลยาณมิตร
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น
 ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม
 ไม่ใส่ใจหรือไม่รับรู้ปั ญหาของศิษย์หรือผู้รับบริการจนเกิด
ผลเสียหายต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ
 ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผู้รับบริการ
 เปิ ดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการ เป็ นผลให้ได้รับ
ความอับอาย หรือเสื่อมเสียชื่อเสียง
 จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือผู้รับบริการปฏิบัติขัด
ต่อ
ศีลธรรมหรือกฎระเบียบ
แบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ด้านจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น 
 เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกัน ผนึกกาลังในการ
พัฒนาการศึกษา
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น
 ปิ ดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงานจนทาให้เกิดความเสียหาย
ต่องานหรือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
 ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้ร้ายผู้อื่น
ในความบกพร่องที่เกิดขึ้น
 สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือกลั่นแกล้งผู้ร่วม
ประกอบ
วิชาชีพให้เกิดความเสียหาย
เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิดความเสียหาย
ต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
แบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ด้านจรรยาบรรณต่อสังคม
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น 
 ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
 นาภูมิปั ญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมาเป็ นปั จจัยในการจัด
การศึกษาให้เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม
 เป็ นผู้นาในการวางแผนและดาเนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปั ญญาท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม
 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้และสามารถดาเนิน
ชีวิต
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น
 ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนที่จัด
เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม
 ไม่แสดงความเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์หรือพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปั ญญา หรือสิ่งแวดล้อม
 ปฏิบัติตนเป็ นปฏิปั กษ์ต่อวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชน
หรือสังคม
 ไม่ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการอนุรักษ์หรือพัฒนา
สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ขอรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
เข้าสู่วิชาชีพ
คุณภาพ - ต่อใบอนุญาต
- ประเมินความชานาญ
ตามระดับคุณภาพ
- ประเมินความชานาญเฉพาะด้าน
มาตรฐานการปฏิบัติตน
(จรรยาบรรณของวิชาชีพ)
เกียรติและศักดิ์ศรี - จิตวิญญาณของความเป็นครู
- การยอมรับของสังคม
การประกอบวิชาชีพควบคุม 
 บทบัญญัติตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา ๔๓ ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา เป็ นวิชาชีพควบคุมตาม
พระราชบัญญัตินี้ การกาหนดวิชาชีพควบคุมอื่น
ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพวิชาชีพควบคุม โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
ตามพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่กรณีอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
ผู้ที่เข้ามาให้ความรู้แก่ผู้เรียนเป็ นครั้งคราว
ในฐานะวิทยากรพิเศษทางการศึกษา
ผู้ที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอน แต่ในบางครั้ง
ต้องทาหน้าที่สอนด้วย
นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับการฝึกอบรมหรือผู้ได้รับใบอนุญาต
ปฏิบัติการสอน ซึ่งทาการฝึกหัดหรืออบรมในความควบคุมของ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเป็ นผู้ให้การศึกษาหรือฝีกอบรม
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้ที่ทาหน้าที่สอนในศูนย์การเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
หรือสถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และ
สถาบันสังคมอื่นเป็ นผู้จัด
คณาจารย์ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาในระดับ
อุดมศึกษาระดับปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน
ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
คณะกรรมการคุรุสภากาหนดบุคคลที่ไม่ต้องมี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ไว้ดังนี้
พระภิกษุที่ทาหน้าที่สอนหรือบริหารสถานศึกษา
ผู้สอนศาสนาที่ทาหน้าที่สอนในสถานศึกษา
ผู้สอนตามโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
ข้าราชการตารวจตะเวนชายแดนผู้ที่ทาหน้าที่สอนหรือ
บริหารโรงเรียนตารวจตะเวนชายแดน
ข้าราชการทหารสังกัดกระทรวงกลาโหมผู้ที่ทาหน้าที่สอน
หรือบริหารโรงเรียน ในที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย
ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริญญา
มาตรา ๔๖
ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตน
มีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
จากคุรุสภา และห้ามมิให้สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาต
เข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา
เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคุรุสภา
มาตรา ๔๗
ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับ
แห่งข้อจากัดและเงื่อนไขตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๔๘
ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประพฤติตนตาม
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพตามที่กาหนด
ในข้อบังคับของคุรุสภา
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
มีอายุไม่ต่ากว่า ๒๐ ปี บริบูรณ์
มีวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเท่า
หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตาม
หลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า
๑ ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอน
ตามที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
 ผู้บริหารสถานศึกษา
 ผู้บริหารการศึกษา
 ศึกษานิเทศก์
๑. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
๒. มีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ตามที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
ลักษณะต้องห้ามของผู้ขอรับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุม
เป็ นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสีย
หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
เป็ นคนไร้ความสามารถ
หรือเสมือนไร้ความสามารถ
เคยต้องโทษจาคุกในคดีที่คุรุสภาเห็นว่า
อาจนามาซึ่งความเสื่อมเสีย
เกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
จะต้องขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ก่อนวันหมดอายุใบอนุญาตไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วัน
ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๗
คุณสมบัติของผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนดใน
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
มีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
มีผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์ในการต่ออายุใบอนุญาต
ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีวุฒิการศึกษา หรือคุณวุฒิ
และประสบการณ์วิชาชีพอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
๑. มีวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า
หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
๒. มีวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี หรือมีวุฒิประกาศนียบัตร
บัณฑิตวิชาชีพครูที่คุรุสภารับรอง หรืออยู่ในระหว่าง
ศึกษาตามหลักสูตรดังกล่าว
๓. มีวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี และมีวุฒิประกาศนียบัตร
ที่สาเร็จการศึกษาก่อนประกาศคณะกรรมการคุรุสภา
เรื่อง คุณสมบัติของผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ใช้บังคับ
(ก่อนวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๒)
๔. มีวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี และผ่านการรับรองความรู้
ตามมาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา หรืออยู่ในระหว่าง
เสนอขอรับรอง
๕. มีวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี และได้ศึกษาความรู้วิชาชีพครู
จานวนไม่น้อยกว่า ๑๕ หน่วยกิต
๖. มีวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์ในการสอน
มาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี
๗. มีวุฒิต่ากว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์ในการสอน
มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรืออยู่ในระหว่างศึกษาให้มี
วุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษาที่คุรุสภารับรอง
สาหรับผู้ที่ไม่มีวุฒิการศึกษา หรือคุณวุฒิและประสบการณ์
วิชาชีพตามที่กาหนดดังกล่าว ให้เสนอคณะกรรมการคุรุสภา
พิจารณาอนุมัติเป็ นรายกรณี
การปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ต้องมีผลการปฏิบัติงานตามาตรฐานการปฏิบัติงาน
โดยมีการพัฒนาตนเองหรือมีกิจกรรมพัฒนาในด้านต่าง ๆ
ที่เป็ นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้
การบริหารจัดการสถานศึกษา การบริหารจัดการหน่วยงาน
รวมทั้งกิจกรรมที่ก่อประโยชน์ต่อการศึกษา โดยรวมไม่น้อยกว่า
๓ กิจกรรม ภายใน ๕ ปี โดยเป็ นกิจกรรมที่ปฏิบัติตั้งแต่วันที่
ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจนถึงปั จจุบัน และกิจกรรม
จะต้องไม่ซ้ากันทั้ง ๓ กิจกรรม ดังรายกิจกรรมพัฒนา ต่อไปนี้
๑. เข้ารับการศึกษาให้มีวุฒิเพิ่มขึ้นในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ
การประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
๒. เข้ารับอบรมและได้รับวุฒิบัตรแสดงความชานาญ
ในการประกอบวิชาชีพจากคุรุสภา
๓. ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติงานในหน้าที่
๔. ผ่านการประเมินหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาประเมิน
เพื่อให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้น
๕. การเป็ นวิทยากรในเรื่องที่เป็ นประโยชน์ต่อ
การจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา
๖. การเขียนตารา หรือบทความ หรือผลงานทางวิชาการ
ในเรื่องที่เป็ นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
หรือการจัดการศึกษา
๗. การสร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
หรือที่เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษา
๘. การทาวิจัยในเรื่องที่เป็ นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
และการจัดการศึกษา
๙. การได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลของคุรุสภา
หรือของหน่วยงานทางการศึกษาอื่น
๑๐. การเข้าฟั งการบรรยาย อภิปราย ประชุมปฏิบัติการ
ประชุมสัมมนา หรืออื่น ๆ โดยมีการลงทะเบียน และ
มีหลักฐานแสดงการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว
๑๑. การศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๑๒. การจัดทาผลงาน หรือกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อ
การจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา
การประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ผู้ประสงค์ขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา หรือ
ศึกษานิเทศก์ จะต้องเป็ นผู้ประพฤติตนตาม
จรรยาบรรณของวิชาชีพตามที่กาหนดไว้ใน
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘
บทกาหนดโทษผู้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต
การควบคุม กากับ
ดูแลการประกอบวิชาชีพ
การพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณกับวินัยข้าราชการ
มาตรา ๗๘ ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๔๓ คือ
ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาตจากคุรุสภา
 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือ
 ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือ
 หรือทั้งจาทั้งปรับ
บทกาหนดโทษผู้ประกอบวิชาชีพ
โดยไม่มีใบอนุญาต
มาตรา ๗๙ ผู้ใดฝ่ าฝืน
“มาตรา ๔๖ คือ แสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือ
พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากคุรุสภา
และสถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพ
โดยไม่ได้รับอนุญาตจากคุรุสภา” หรือ
มาตรา ๕๖ คือ ประกอบวิชาชีพควบคุม หรือแสดงให้ผู้อื่น
เข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุม
ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต
 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือ
 ปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือ
 หรือทั้งจาทั้งปรับ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ กับ การประกอบวิชาชีพ
ประพฤติปฏิบัติ ประพฤติผิด
ดารงอยู่ในวิชาชีพ
ได้รับการยกย่อง
เป็นที่ยอมรับ
ตักเตือน
ภาคทัณฑ์
พักใช้
เพิกถอน
การพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ
โดย
มาตรา
๕๑
มาตรา
๕๒
มาตรา
๕๓
มาตรา
๕๔
มาตรา
๕๕
มาตรา ๕๑
บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการ
ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ของผู้ได้รับใบอนุญาต มีสิทธิกล่าวหา
ผู้ได้รับใบอนุญาต
ทาเรื่องยื่นต่อ
คุรุสภา
กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐาน
วิชาชีพ หรือบุคคลอื่น มีสิทธิกล่าวโทษ
ผู้ประกอบวิชาชีพว่าประพฤติผิด
จรรยาบรรณของวิชาชีพ
แจ้งเรื่องต่อ
คุรุสภา
เมื่อคุรุสภาได้รับเรื่องการกล่าวหา/กล่าวโทษ
ให้เลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่องต่อ
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพโดยไม่ชักช้า
มาตรา ๕๒
ผู้ถูกกล่าวหา/กล่าวโทษมีสิทธิทาคาชี้แจงหรือ
นาพยานหลักฐานส่งให้คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
หรืออนุกรรมการ ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
จากประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรือ
ภายในเวลาที่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพกาหนด
มาตรา ๕๓
ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจ้ง
ข้อกล่าวหา/กล่าวโทษ ให้ผู้ถูกกล่าวหา/กล่าวโทษ
ทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน ก่อนเริ่มพิจารณา
มาตรา ๕๔
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีอานาจวินิจฉัยชี้ขาด ได้ดังนี้
(๑) ยกข้อกล่าวหา
(๒) ตักเตือน
(๓) ภาคทัณฑ์
(๔) พักใช้ใบอนุญาตได้ไม่เกิน ๕ ปี
(๕) เพิกถอนใบอนุญาต
ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
วินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา ๕๔ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕)
อาจอุทธรณ์คาวินิจฉัยต่อคณะกรรมการคุรุสภาได้
ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย
มาตรา ๕๕
ความสัมพันธ์ระหว่าง
จรรยาบรรณกับวินัยข้าราชการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๓๐
มาตรา ๕๗ วรรคสอง
มาตรา ๘๔
มาตรา ๑๐๗ (๖)
มาตรา ๑๐๙
มาตรา ๓๐
ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา สาหรับการเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพครู
และบุคลากรทางการศึกษา ผู้ซึ่งจะเข้ารับราชการ
เป็ นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้
ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป
ดังต่อไปนี้
... (๖) ไม่เป็ นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ
ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตามพระราชบัญญัตินี้
หรือตามกฎหมายอื่น หรือถูกสั่งพักหรือเพิกถอน
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด
ในกฎหมายองค์กรวิชาชีพนั้น ๆ
มาตรา ๕๗ วรรคสอง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ใดถูกพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตาม
กฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้นั้นอาจถูกเปลี่ยนตาแหน่งหรือย้ายตามที่
ก.ค.ศ. กาหนด เว้นแต่ถูกสั่งพักราชการ
หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
มาตรา ๘๔
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะอุตสาหะ
ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์
ของทางราชการ และต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน
มาตรา ๑๐๗ (๖)
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ออกจากราชการเมื่อถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ตามมาตรา ๑๐๙
มาตรา ๑๐๙
เมื่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่ง
เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และไม่มีกรณีเป็ นผู้ถูกสั่ง
ให้ออกราชการตามมาตราอื่น และผู้บังคับบัญชาพิจารณาเห็นว่า
ผู้นั้นมีความเหมาะสมที่จะบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งดังกล่าว
และไม่เป็ นผู้ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๓๐ และ มาตรา ๔๒
ให้ส่งเรื่องเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ไปดารงตาแหน่งอื่น
ที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ภายใน ๓๐ วัน
ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน ถ้าหน่วยงานการศึกษาใดไม่มี
ตาแหน่งว่างหรือตาแหน่งที่สามารถย้ายไปแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งได้ ผู้นั้นจะต้องถูกสั่งให้ออกจากราชการโดยพลัน
การพัฒนาวิชาชีพ
การพัฒนาวิชาชีพ
การพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ
การพัฒนาด้านจรรยาบรรณของวิชาชีพ
การส่งเสริมและพัฒนาด้านวิชาการและวิชาชีพ
การจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาวิชาชีพ
ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
การยกย่องเชิดชูเกียรติวิชาชีพ/
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
การยกย่องเชิดชูเกียรติวิชาชีพ/ผู้ประกอบวิชาชีพ
การประกาศเกียรติคุณเพื่อรับรางวัลคุรุสภา
การประกาศเกียรติคุณครูภาษาไทยดีเด่น
การประกาศเกียรติคุณครูภาษาฝรั่งเศสดีเด่น
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น
การประกาศเกียรติคุณเพื่อรับ
เครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี”
การยกย่องเชิดชูเกียรติวิชาชีพ/ผู้ประกอบวิชาชีพ
การประกาศเกียรติคุณครูอาวุโส
การมอบรางวัลหนึ่งแสนครูดี
การคัดสรรนวัตกรรมต้นแบบ
“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม”
การจัดทาหนังสือประวัติครู
การจัดงานวันครู
ความเป็ นครูมืออาชีพ/
การพัฒนาสู่ครูมืออาชีพ
องค์ประกอบที่สาคัญของความเป็ นมืออาชีพ
(Professional)
บุคคลนั้นต้องยึดถืออาชีพนั้น ๆ ให้สอดคล้องกับ
วิชาชีพของตน
บุคคลนั้นต้องมีความรู้ เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ
มีทักษะที่เหมาะสมต่อวิชาชีพนั้น ๆ
บุคคลนั้นต้องมีจิตวิญญาณต่ออาชีพ กล้ารับผิดชอบ
กล้าเผชิญต่อผลการกระทาอันเนื่องมาจาก
ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ
ความหมายของครูมืออาชีพ/อาชีพครู
ครูมืออาชีพ
ครูที่เป็ นครูด้วยใจรัก
มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน
ที่จะเป็ นครู ประพฤติตัวดี
วางตัวดี เอาใจใส่และ
ดูแลศิษย์ปฏิบัติหน้าที่
ด้วยจิตวิญญาณ
ของความเป็ นครู
อาชีพครู
ครูที่ใช้วิชาความรู้
ที่ร่าเรียนมา เป็ นเครื่องมือ
ในการหาเลี้ยงชีพ
ไม่ได้เป็ นครูด้วยใจรัก
หรือสมัครใจ
ลักษณะพื้นฐานในตนของครูมืออาชีพ
มีฉันทะ ต่ออาชีพครู
มีความเมตตาต่อเด็กและบุคคลรอบข้าง
มีความเป็ นกัลยาณมิตร
พร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ลักษณะของครูมืออาชีพ
รอบรู้
สอนดี
มีคุณธรรมและวินัย
ใฝ่ ก้าวหน้าและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
รอบรู้
รู้กฎหมาย
 รู้หลักสูตร/เนื้อหาวิชาที่สอน
 รู้เทคนิคการสอน
 รู้จิตวิทยา
 รู้หลักการวัดและประเมินผล
 รู้เรื่องวิชาชีพ/องค์กรวิชาชีพ
 รู้ข้อมูลข่าวสารรอบตัว
 รู้เรื่องการวิจัยและสารสนเทศ
สอนดี
 จัดกระบวนการเรียนรู้
โดยยึดผู้เรียนเป็ นสาคัญ
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนคิดปฏิบัติ/
เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
 จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นทุกเวลา
 จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ตนเอง
 สอนความเป็ นคนดี
ลักษณะของครูมืออาชีพ
มีคุณธรรมและวินัย
 ปฏิบัติตามมาตรฐานและ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ
 ปฏิบัติตามระเบียบวินัย
ข้าราชการครู
ปฏิบัติตนโดยยึดหลักคุณธรรม
และจริยธรรมของครู
ใฝ่ ก้าวหน้า/พัฒนา
 พัฒนาตนเอง
 พัฒนาความรู้
 พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
 พัฒนาผู้เรียน
 มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้ดี เก่ง
และมีสุข
ลักษณะของครูมืออาชีพ
ความสามารถของครูมืออาชีพ
สามารถประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์และการจัดระบบได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างอิสระ/มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้
พัฒนาความสัมพันธ์เชิงจรรยาบรรณ
สามารถติดตามการเรียนรู้ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
มีความรู้ที่ทันสมัย
ความสามารถของครูมืออาชีพ
เชื่อความสามารถในการเรียนของผู้เรียน
กระตือรือร้นในการฝึกผู้เรียนเข้าสู่ประสบการณ์แห่งการเรียนรู้
เรื่องที่ผู้เรียนเห็นว่ามีความสาคัญต่อชีวิตของตน
ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเชื่อมโยง เข้าใจความสัมพันธ์
ทั้งภายในและระหว่างสาระการเรียนรู้
ข้อควรปฏิบัติสาหรับครูมืออาชีพ
ตั้งตนอยู่ในคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
จัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีขั้นตอนถูกลาดับ
จับจุดสาคัญมาขยายให้เข้าใจเหตุผล
ตั้งจิตเมตตา สอนด้วยความปรารถนาดี
ไม่มีจิตเพ็งเล็ง มุ่งเห็นแก่อามิส
วางจิตตรง ไม่กระทบตนและผู้อื่น
กระบวนการพัฒนาการสอนสู่ครูมืออาชีพ
ประเมินตนเองเพื่อตรวจสอบจุดเด่น-จุดด้อย
พัฒนาความรู้ความสามารถรอบด้าน
จัดการเรียนรู้สู่ผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปผล/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เสนอผลงานสู่ความก้าวหน้าในวิชาชีพ
นานาทรรศนะ
ครูที่ผู้เรียนต้องการ
หรือครูในฝัน
ข้อคิดในการเตรียมตัวเป็ นครูที่ดี
ของ คุณหญิงเบญจา แสงมะลิ
๑. นักรัก รักเด็ก ในเวลาเดียวกันต้องรู้จักทาตัวให้เด็กรัก
๒. นักเล่น
ร้องเพลงเด็กง่าย ๆ ได้ มีอารมณ์ร่วมขณะร้องเพลงกับเด็ก
เป็ นคนยิ้มง่าย หัวเราะง่าย ร่วมตื่นเต้น ร่วมเล่นกับ
ทาท่าประกอบจังหวะเพลง รู้จักดัดแปลงท่าราให้เหมาะสม
กับวัยและความสามารถของเด็ก
๓. นักร้อง
๔. นักรา
๕. นักเล่า เล่านิทานให้เด็กฟั งได้ เพราะนิทานเป็ นสิ่งที่เด็กชอบ
๖. นักคิด คิดหาวิธีเร้าความสนใจ คิดกิจกรรมที่ส่งเสริมเด็ก
ให้เกิดการเรียนรู้
๗. นักทา
จัดสภาพแวดล้อม หาสื่อที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดความฝั น
จินตนาการ ให้เด็กได้เล่นสมมติ
ทาสื่อการเรียนการสอน ทาของเล่นสาหรับเด็ก
รู้จักตกแต่งสถานที่ สิ่งของเครื่องใช้ ให้ทุกอย่างสวยงาม
น่าดู น่าใช้ น่าสนใจ น่าฟั ง และน่าสัมผัส ให้เหมาะสมกับ
สภาพและความสนใจของเด็ก
๘. นักฝั น
๙. นักแต่ง
จะต้องเป็ นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เป็ นนักแต่งเพลง แต่งนิทาน ด้วย
ทัศนะเกี่ยวกับครูที่ดีของพุทธทาสภิกขุ
๑. ครูดี คือ ผู้นาทางวัตถุ
- การเป็ นผู้นาใน ๔ ประการ
เป็ นผู้นาในการแสวงหาอย่างถูกต้อง
เป็ นผู้นาในการเสวยผลอย่างถูกต้อง
 เป็ นผู้นาในการเป็ นอยู่อย่างถูกต้อง
 เป็ นผู้นาในการใช้ชีวิตให้เป็ นประโยชน์
ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น
ทัศนะเกี่ยวกับครูที่ดีของพุทธทาสภิกขุ
๒. เป็ นผู้นาทางวิญญาณ –
ความเป็ นผู้นาในเรื่องจิตใจ ๔ ประการ
 มีความเข้าใจในกฎอิทิปปัจจัยตา –มองเห็นตาม
ความเป็ นจริงว่า ทุกสิ่งเป็ นไปตามเหตุ-ปัจจัย
 มีความเข้าใจกฎตถตา - ทุกสิ่งเป็ นไปตาม
ธรรมชาติ
 มีความเป็ นอยู่อย่างไม่มีอุปสรรค
 มีความเป็ นอยู่อย่างไม่มีทุกข์
ทัศนะเกี่ยวกับครูที่ดีของพุทธทาสภิกขุ
๓. มีชีวิตเป็ นธรรม - อยู่ด้วยธรรมและเพื่อธรรม
มีธรรมที่พึงปรารถนา
ฆราวาสธรรม - สัจจะ ความจริง ทมะ ความข่มใจ
ขันติ ความอดทน จาคะ การเสียสละ การให้
อิทธิบาท ๔ - ฉันทะ ความพอใจ
วิริยะ- ความพากเพียร จิตตะ ความเอาใจใส่
วิมังสา ความสอดส่อง
ทัศนะเกี่ยวกับครูที่ดีของพุทธทาสภิกขุ
๔. มีอุดมคติ ๔ ประการ
ทางานเกินค่า
ทางานเพื่อหน้าที่มิใช่เพื่อตนเอง
ทาตนให้เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม
ทางานเพื่อให้ได้สิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษย์ควรจะได้
- เป็ นผู้มีธรรมและมีชีวิตเป็ นประโยชน์
ความหมายการสอนของครู
ของ
พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
แนะ การบอกให้รู้ในเรื่องที่จาเป็ นต้องรู้
นา
ห้ามในสิ่งที่เป็ นอันตราย และให้มีวินัยกากับ
ครูต้องทาดีให้ผู้เรียนเห็นเป็ นแบบอย่าง
สั่ง
สอน ทาให้ศิษย์เข้าใจเนื้อหาอย่างลึกซึ้ง
ฝึก
ฝน
อบ
รม
ฝึกศิษย์ให้สามารถนาความรู้มาปฏิบัติจนสามารถทาได้ ทาเป็ น
ฝึกศิษย์ให้มีความสามารถจนมีความเชี่ยวชาญ เป็ นศิลป์
ฝึกศิษย์ให้ประพฤติแต่สิ่งที่ดีงาม เพื่อเป็ นผู้ที่หอมด้วยศีลธรรม
ฝึกศิษย์ให้ขยันทาดี ขยันเรียน จนเป็ นนิสัย
หลักสิบประการของ
ความเป็ นครูดี
มุ่งมั่นวิชาการ : ศาสตร์ที่จะสอน ศาสตร์การสอน
ศาสตร์การพัฒนาคน
รักงานสอน
อาทรศิษย์
คิดดี
มีคุณธรรม
ชี้นาสังคม
อบรมจิตใจ
ใฝ่ความก้าวหน้า
วาจางาม
รักความเป็ นไทย
สมบัติที่ครูดีควรมี
เสือ กินของสะอาด ไม่กินของเน่า
สิงห์ หยิ่งในศักดิ์ศรี นาจ่าฝูง นาชุมชนพัฒนา
กระทิง ต่อสู้ไม่ย่อท้อ สู้งาน เอาการเอางาน
ครูแรด หนังเหนียว บึกบึน อดทน
คุณลักษณะของครูปฐมวัย
ต้องเป็ นเหมือน "ผึ้ง" - ขยัน
ต้องเป็ นเหมือน "เหยี่ยว" - สายตากว้างไกล
ต้องเป็ นเหมือน "นกฮูก" - สุขุมลุ่มลึก
ต้องเป็ นเหมือน "แรด" - อดทน
ลักษณะของครู
 ครูมาสาย คติประจาใจ คือ
- สอนน้อยหน่อย สายมากหน่อย อร่อยกาลังเหมาะ
 ครูค้าขาย คติประจาใจ คือ
- ครูที่มีความเพียร ต้องทาโรงเรียนให้เป็ นตลาด
ครูที่มีความสามารถ ต้องทาตลาดให้เป็ นโรงเรียน
 ครูคุณนาย คติประจาใจ คือ- อยู่อย่างคุณนาย
สบายทุกอย่าง หนทางสะดวก พรรคมากมี
ลักษณะของครู
 ครูสุราบาล คติประจาใจ คือ
- ศุกร์เมา เสาร์นอน อาทิตย์ถอน จันทร์เกียจคร้าน
อังคารหยุด พุธลา พฤหัสมาก้มหน้าไม่สู้คน
 ครูเกียจคร้าน คติประจาใจ คือ
- สอนมั่ง ไม่สอนมั่ง สตางค์เท่าเดิม
 ครูหัวโบราณ คติประจาใจ คือ
- คิดเป็ นก็คิดไป แก้ปัญหาเป็ นก็แก้ปัญหาไป
แต่ฉันจะสอนอย่างไร ใครอย่ามายุ่งกับฉัน
ลักษณะของครู
 ครูปากม้า คติประจาใจ คือ
- นินทาวันละมาก ๆ ปากผ่องใส
 ครูหน้าใหญ่ คติประจาใจ คือ
- ใหญ่ที่โรงเรียน ไปเป็ นเสมียนที่อาเภอ
เห่อเจ้านายได้สองขั้น
 ครูไร้อบาย คติประจาใจ คือ
- ทางานไม่เกี่ยงงอน สอนเต็มหลักสูตรอย่างเคร่งครัด
สิ่งที่ครูควรงดเว้น
 ไร้มารยาท
 ขาดการเตรียมตัว
 มั่วในหน้าที่
 มีจิตห่างธรรม
สิ่งที่ครูควรงดเว้น
 ชอบถลาล่วงวินัย
 มีใจรวนเร
 ไม่ชวนสร้างสรรค์
 ขยันแซวศิษย์
สิบประเภทครูที่น่าปรับปรุง
ครูอนาจาร ครูผู้คุม
ครูนักธุรกิจ ครูขี้เมาสิงห์อมควัน
ครูปากกรรไกร ครูในกะลา
ครูซาดิสต์ ครูงานเข้า
ครูเลือกที่รักมักที่ชัง ครูปากสว่าง
ลักษณะครูที่นักเรียนชอบ
๑. ใจดี พูดเพราะ
๒. พูดตลก สอนสนุก
๓. มีเหตุผล เข้าใจเด็กนักเรียน
๔. สอนตรงเวลา
๕. สอนนอกตาราเรียน
ลักษณะครูที่นักเรียนชอบ
๖. อธิบายได้ชัดเจน เข้าใจ ใช้ภาษาที่ง่าย เสียงดังฟังชัด
๗. มีวิธีการพูดที่น่าสนใจ สนุก ไม่พูดเร็วหรือช้า
หรือ Monotone
๘. กระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสอน
ถาม/ตอบ ให้คิด/ไม่ใช่ให้จา
๙. สนใจสังเกตผู้เรียนว่าเข้าใจหรือไม่ มิใช่เอาแต่สอน
ลักษณะครูที่นักเรียนไม่ชอบ
๑. ดุ เจ้าระเบียบ ทาโทษโดยไม่มีเหตุผล
๒. พูดมาก ขี้บ่น พูดเรื่องส่วนตัว
๓. สั่งงาน ให้การบ้านเยอะ
๔. สอนไม่ตรงเวลา
๕. ไม่ตั้งใจสอน
ลักษณะครูที่นักเรียนไม่ชอบ
๖. พูดเร็วมาก ๆ ไม่สนใจนักเรียนจะทันหรือไม่ทัน
เข้าหรือไม่เข้าใจ ไม่สื่อสารกับนักเรียน
๗. น้าเสียง Monotone ตลอดเวลา สอนไปเรื่อย ๆ
ไม่เน้นว่าจุดใดต้องรู้ ควรรู้ น่ารู้ จุดใดสาคัญ
๘. พูดวกวนไปมา ไม่สามารถอธิบายได้ชัดเจน
หน้าที่ของครูที่จาเป็ นมากที่สุด
 สอนและอบรม
 เตรียมการสอน
 หน้าที่ธุรการ เช่น ทาบัญชีเรียกชื่อ/สมุดประจาวัน
 แนะแนว
 ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
 ดูแลอาคารสถานที่
 ทาความเข้าใจเด็ก
๔ รู้ ๕ ว. สาหรับครูมืออาชีพ
๔ รู้ ๕ ว.
รู้จักรัก วินัย
รู้จักให้ วิชา
รู้จักอภัย วิธี
รู้จักเสียสละ วิจารณญาณ
เวลา
คากลอนการเป็ นครูของหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล
“การเป็นครูนั้นไซร้ไม่ลาบาก
แต่สอนดีนั้นยากเป็นหนักหนา
เพราะต้องใช้ศิลปะวิทยา
อีกมีความเมตตาอยู่ในใจ”
คาปฏิญาณตน (วันครู ๑๖ มกราคม)
ข้อ ๑ ข้าจะบาเพ็ญตนให้สมกับที่ได้ชื่อว่าเป็ นครู
ข้อ ๒
ข้าจะรักษาชื่อเสียงของคณะครู
และบาเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์แก่สังคม
ข้าจะตั้งใจฝึกสอนศิษย์ให้เป็ นพลเมืองดีของชาติ
ข้อ ๓
การติดต่องานของคุรุสภา
ช่องทางที่
๑
ติดต่อโดยตรงที่สานักงานเลขาธิการคุรุสภา
ช่องทางที่
๒
ติดต่อทางไปรษณีย์ จ่าหน้าซองว่า
“สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ๑๒๘/๑
ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กทม.๑๐๓๐๐”
ช่องทางที่
๓
ติดต่อ Call Center
หมายเลข ๐ ๒๓๐๔ ๙๘๙๙
ช่องทางที่
๔
ติดต่อทางเว็บไซด์ของคุรุสภา
www.ksp.or.th
จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จาก รก.เลขาธิ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"Jaru O-not
 
ใบเสนอราคาพี่แอ้
ใบเสนอราคาพี่แอ้ใบเสนอราคาพี่แอ้
ใบเสนอราคาพี่แอ้guest7365298
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุNattapon
 
คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561
คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561
คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาวt-surinrach
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนkany20101
 
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
 ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1Prapaporn Boonplord
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 

La actualidad más candente (20)

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
ใบเสนอราคาพี่แอ้
ใบเสนอราคาพี่แอ้ใบเสนอราคาพี่แอ้
ใบเสนอราคาพี่แอ้
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561
คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561
คู่มือการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ปี 2561
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาว
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
 
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
 ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
ใบความรู้+การขึ้นตกของดวงจันทร์+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f19-4page
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริงธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
 

Destacado

5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556Apiruk Kaewkanjanawan
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56Thanaporn Sangthong
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556Thanaporn Sangthong
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อพรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12Aon Lalita
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 

Destacado (20)

5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
 
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
 
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อพรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
 
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครูแนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 

Similar a จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จาก รก.เลขาธิ

เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยcomed
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยPreuksa AIA
 
แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...
แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...
แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...Totsaporn Inthanin
 
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 5616คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56krupornpana55
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี
๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี
๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯ
จักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯจักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯ
จักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯนายจักราวุธ คำทวี
 
6คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
6คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 566คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
6คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56krupornpana55
 
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา์Nanthawan Wongsapcharoen
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Kasem S. Mcu
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายJaturapad Pratoom
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1Totsaporn Inthanin
 

Similar a จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จาก รก.เลขาธิ (20)

เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
A50343134
A50343134A50343134
A50343134
 
แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...
แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...
แนวทางการดำเนินการการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในรูปแบบส...
 
Auee
AueeAuee
Auee
 
Auee
AueeAuee
Auee
 
สพป.สระบุรี เขต 2
สพป.สระบุรี เขต 2สพป.สระบุรี เขต 2
สพป.สระบุรี เขต 2
 
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 5616คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี
๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี
๒.๒ ประกาศคุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ผู้บริหารดู หมวด ๓ จักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯ
จักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯจักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯ
จักราวุธ ประกาศ กก.คุรุสภา สาระความรู้และสมรรถนะ ฯ
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
6คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
6คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 566คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
6คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
 
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
 
2417 1378
2417 13782417 1378
2417 1378
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 

Más de นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

Más de นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

จักราวุธ ใบประกอบวิชาชีพครู จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู ได้รับความอนุเคราะห์จาก รก.เลขาธิ