SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 47
Descargar para leer sin conexión
onstructivist Theories 
C 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN 
Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
นางสาวเสาวนา เสียงสนั่น 
575050198-0 
นางสาวนฤนาท คุณธรรม 
575050186-7 
นายวิญญ์ สาสุนันท์ 575050190-6 
นายสถาพร วงศ์รานุวัฒน์ 575050038-8 
นายสุระ น้อยสิม 575050197-2 
User 
Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
......เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วย การสร้างความรู้ ได้มีการ เปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด ที่ช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมี ส่วนช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และ ความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจ ของผู้เรียน
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์ 
1. ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้นที่สร้างขึ้นจาก ประสบการณ์ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและสามารถนาไปใช้เป็นฐานใน การแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่น ๆ ได้ 
2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่าง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และ โครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์ 
3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียนเอง ภายใต้ ข้อสมมติฐานต่อไปนี้ 
3.1 สถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 
3.2 ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจภายในให้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพื่อขจัดความ ขัดแย้งนั้น 
3.3 การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้การ มีปฎิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
1.1 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
......มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget แนวคิดของทฤษฎี นี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้ โดย การลงมือกระทา 
Piaget 
1. ผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือเรียกว่าเกิดการเสีย สมดุลทางปัญญา(Disequilibrium) 
2. ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring) ให้เข้าสู่ภาวะสมดุล (Equilibrium)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
Piaget 
3. ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring) ให้เข้าสู่ภาวะสมดุล(Equilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่ จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญา และ การ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) คือ ความรู้เดิมที่มีมาก่อนกับข้อมูลข่าวสารใหม่ 
4. ผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพ สมดุลย์ หรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิด การเรียนรู้ 
1.1 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
1.1 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
1.2 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
........ทฤษฎีที่มีรากฐานมาจากแนวคิดของ Vygotsky ซึ่งมี แนวคิดที่สาคัญที่ว่า "ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญ ในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา"รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับ ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาที่อาจมีข้อจากัด เกี่ยวกับช่วงของการพัฒนาที่เรียกว่า Zone of Proximal Development ถ้าผู้เรียนอยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development จาเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือในการ เรียนรู้ ที่เรียกว่า Scaffolding และ Vygotsky เชื่อว่า ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กับผู้อื่น........
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
Vygotskian หลักการ 4 ประการ ตามแนว Social Constructivism 
1. การเรียนรู้และการพัฒนา คือด้านสังคม ได้แก่ กิจกรรมการร่วมมือ (collaborative Activity) 
2. Zone of Proximal Development ควรสนองต่อแนวทางการจัดหลักสูตรและ การวางแผนบทเรียน 
3. การเรียนรู้ในโรงเรียนควรเกิดขึ้นในบริบทที่มีความหมาย และไม่ควรแยกจาการเรียนรู้ ละความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง (Real World) 
4. ประสบการณ์นอกโรงเรียน ควรจะมีการเชื่อมโยงนามาสู่ประสบการณ์ในโรงเรียนของผู้เรียน
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
Social Constructivism 
ภาษา สังคม วัฒนธรรม 
ร่วมมือกันแก้ปัญหา 
Zone of Proximal Development
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
เพิ่มแรงจูงใจ กิจกรรมในการเรียนรู้ 
ส่งเสริมการคิด อย่างมีวิจารณญาณ 
ส่งเสริมแบบการเรียนรู้ ที่หลากหลาย 
สนับสนุนการเสาะ แสวงหาความรู้ 
เหตุผลในการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาใช้ในการออกแบบการสอน
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับเทคโนโลยีการศึกษา 
1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ Cunningham 
Cunningham ได้เสนอหลักการสาคัญที่ใช้ในการออกแบบสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ตามแนวคิดของคอนสตรัคติวิสต์ คือ ภารกิจกรรมตามสภาพการ เรียนรู้ที่เป็นจริง ซึ่งแนวคิดนี้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยการให้ประสบการณที่ มีความหมายต่อผู้เรียนผู้เรียนจะสร้างความรู้ในการแก้ปัญหาที่ตรงกับสภาพ ความเป็นจริง.......
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับเทคโนโลยีการศึกษา 
หลักในการออกแบบตามแนวคิด 1. กระบวนการสร้างประสบการณ์ความรู้ 2. การสร้างประสบการณ์อย่างลึกซึ้งในรูปแบบที่หลากหลาย 3. การเรียนรู้ที่ฝังในสภาพที่เป็นจริงและบริบทการแก้ปัญหาที่ตรงกับสภาพจริง 4. การส่งเสริมและสนับสนุนการคิดด้วยตนเองในกระบวนการเรียนรู้ 5. การฝังการเรียนรู้ลงในประสบการณ์ทางสังคม 6. การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้รูปแบบที่หลากหลายในการนาเสนอ 7. การส่งเสริมและสนับสนุนการรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเองในกระบวนการ สร้างโครงสร้างทางปัญญา
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 
2. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ McLellan การเรียนรู้ที่เหมาะสมหรือที่เรียกว่า Situated Learning 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ McLellan การเรียนรู้ที่เหมาะสมหรือที่เรียกว่า Situated Learning ได้เน้นให้ ความสาคัญชองบริบท (contex) การเรียนรู้ที่เหมาะสม โดยสังเกตผู้เรียนในสาน การณ์การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ ผู้เรียนจะเป็นผู้แสดงการกระทาด้วยตนเอง โดยปราศจากการสนับสนุน หรือการแทรกแซง(Intervention)......
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.จงวิเคราะห์ผลงานการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ได้แก่ 
จารุณี ซามาตย์. (2552). โมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 
ตามประเด็น ดังนี้ 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบมีลักษณะ อย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
1. การสร้างการเรียนรู้ ( Learning Constructed) 
ความรู้จะถูกสร้างขึ้น จากประสบการณ์ 
การเรียนรู้เป็น กระบวนการสร้างสิ่งแทน ความรู้ ในสมองที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างขึ้น
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
2. การแปลความหมายของแต่ละคน ( Interpretation Personal) 
การเรียนรู้เป็นผลจากการแปล ความหมายตามประสบการณ์ ของแต่ละคน 
การเรียนรู้เป็นการแปล ความหมายตามสภาพจริง
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
3. การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทา ( Learning active) 
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ได้ จากการลงมือกระทา 
เป็นการสร้างความหมายที่ พัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานของ ประสบการณ์
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
5. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) 
การเรียนรู้ต้องเหมาะสมกับ บริบทของสภาพจริง 
สะท้อนบริบทที่เป็นสภาพจริง
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
6. การทดสอบเชิงบูรณาการ (Testing Integrated) 
บูรณาการเข้ากับภารกิจการ เรียน 
เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้ เกิดการคิดในเนื้อหาการเรียนรู้ เรื่องนั้นๆ
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
จากผลการวิเคราะห์ผลงานวิจัยของ จารุณี ซามาตย์.(2552). โมเดล สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยประยุกต์จากหลักการ Constructivist Learning Environment (CLEs) ที่มุ่งส่งเสริมความสามารถใน การแก้ปัญหาและพัฒนาความคิดรวบยอดที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน โดยการเรียนรู้เกิดจากปัญหา คาถาม กรณี โครงงานที่มีความซับซ้อน ปัญหาหรือจุดประสงค์เกิดจากผู้เรียนเอง การเรียนการสอนที่เกิดจากการ ประสบการณ์ที่อานวยความสะดวกต่อการสร้างความรู้ การเรียนรู้แบบตื่นตัวและ เน้นสภาพจริง ซึ่งมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้.........
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
คือ ปัญหาที่ผู้เรียนพยายามจะแก้ ซึ่งใช้ปัญหานี้เป็นแรงผลักดันให้เกิดการเรียนรู้อย่างตื่นตัวและการ สร้างความรู้จากสภาพจริง ซึ่งมีองค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบคือ 
- บริบทของปัญหา 
- การนาเสนอปัญหา 
- พื้นที่สาหรับลงมือแก้ปัญหา 
1. คาถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
คือ แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญที่สุดในค้นหาเพื่อช่วยการในแก้ไขปัญหา คือสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา เช่น world wide web หนังสือ หรือสถานการณ์ปัญหาที่มีความใกล้เคียงกัน 
2. แหล่งการเรียนรู้ (Resouce)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
คือ การเข้าใจในแต่ละปัญหานั้น เป็นการกระตุ้นประสบการณ์เกี่ยวกับปัญหานั้น ๆ และสร้างรูปแบบ ความคิดเกี่ยวกับปัญหา เพื่อเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ซึ่งช่วยสนับสนุนผู้เรียนได้ 2 ทาง คือ ช่วยให้ผู้เรียนจดจาได้ดี และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความยืดหยุ่นทางปัญญา 
3. กรณีใกล้เคียง
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
คือ การช่วยเหลือในการที่ผู้เรียนไม่สามารถลงมือกระทาภารกิจด้วยตนเองได้ อาจให้ การช่วยเหลือโดยการเปลี่ยนแปลงความยากของภารกิจขณะที่การฝึกฝนมุ่งเน้นในการ ปฏิบัติการภารกิจที่เป็นรายบุคคล 
4. ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
มีหน้าที่ให้การช่วยเหลือทางด้านสติปัญญาของผู้เรียน โดยการมีปฏิสัมพันธ์กับ CLEs อาจเป็นการช่วยผู้เรียนนาเสนอปัญหา หรือภารกิจได้ดีกว่า ประกอบด้วย 
- เครื่องมือสร้างการนาเสนอปัญหาหรือภารกิจ 
- เครื่องมือจาลองความรู้คงที่และความรู้ที่เป็นพลวัตร 
5. เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive Tools)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
การกระทากับตัวอย่างรวมไปถึงการอธิบายวิธีการแก้ปัญหาจากประสบการณ์ของผู้ที่ มีประสบการณ์การแก้ปัญหา การกระทากับปัญหาส่งเสริมการพัฒนาของสกีมา และ วิธีการแก้ปัญหา และผ่านทางโครงสร้างสถานการณ์ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงที่ สัมพันธ์กับปัญหา 
6. ห้องแล็ปความคิดสร้างสรรค์(Cognitive Thinking Lab)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
คือ การใช้คอมพิวเตอร์ในหลายวิธีในการติดต่อสื่อสาร เพื่อที่จะสนับสนุนให้เกิดการ ร่วมมือกันแก้ปัญหาระหว่างชุมชนกับผู้เรียน 
7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้(Collaboration)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 
เพื่อที่จะสร้างความเชี่ยวชาญในกระทาเริ่มต้น ในแต่ละขั้นของการกระทาที่เป็นความสามารถของ ผู้เรียน จะมีการปรับปรุงด้วยการฝึกสอนหรือการโค้ช โค้ชที่ดีจะกระตุ้นผู้และจูงใจผู้เรียน ให้วิเคราะห์ กระบวนการของผู้เรียน จัดเตรียมการสะท้อนผล และแนะนาให้ปฏิบัติ 
8. ศูนย์ให้คาแนะนา(Coaching)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
ยุคปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2552-2561) 
•พัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ สามารถเรียนด้วยตนเอง แสวงหาความรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต 
•พัฒนาแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อื่น สาหรับการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียน นอกโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 
•การเรียนรู้สาระวิชาควรเป็นการเรียนรู้จากการค้นคว้าของศิษย์เอง โดยครูช่วยแนะนาและช่วย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ 
•นอกจากสาระวิชาหลักแล้วการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะต้องมีทักษะ 
–ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ 
–ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 
–ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (3R x 4C)
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
ทักษะ 3R 
Reading 
Writing 
Arithemetics
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
ทักษะ 4C 
•ทักษะด้านการ สื่อสาร สารสนเทศ รู้เท่าทันสื่อ 
•ทักษาด้านความ ร่วมมือ การทาน เป็นทีม 
•ทักษะด้านการ สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม 
•คิดอย่างมี วิจารณญาณ 
•ทักษะในกร แก้ปัญหา 
Critical Thinking 
Creativity 
Communications 
Collaboration
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
โมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ที่ส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล 
Constructivist Web-base Learning Environments Model Promoting Problem Solving and Transfer of Learning
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1 
- Theorists 
- Designers 
- Developers 
- Evaluators 
- Researchers 
- Teacher 
- Learners 
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างนวัตกรรม 
ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้ในบริบทจริง 
- Literature review 
- Contextual study 
- Theoretical framework 
- Designing framework 
-การประเมินด้านผลผลิต -การประเมินบริบทการใช้ -การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา -การประเมินด้านความคิดเห็น -การประเมินผลสัมฤทธิ์ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) 
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
C 
onstructivist Theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
onstructivist Theories 
C 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 
201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN 
Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้guestfc034
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 

La actualidad más candente (19)

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 

Destacado

การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการkhamnueng_1
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 

Destacado (10)

การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
21st century skill for librarian
21st century skill for librarian21st century skill for librarian
21st century skill for librarian
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
Jean Piaget cognitive theory
Jean Piaget cognitive theoryJean Piaget cognitive theory
Jean Piaget cognitive theory
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 

Similar a 09 10-14 cognitive constructivismv2

เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar a 09 10-14 cognitive constructivismv2 (20)

เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
constructivist research
constructivist researchconstructivist research
constructivist research
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Más de Sathapron Wongchiranuwat

วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...Sathapron Wongchiranuwat
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Sathapron Wongchiranuwat
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Sathapron Wongchiranuwat
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionSathapron Wongchiranuwat
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2Sathapron Wongchiranuwat
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologySathapron Wongchiranuwat
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technologySathapron Wongchiranuwat
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technologySathapron Wongchiranuwat
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learningSathapron Wongchiranuwat
 

Más de Sathapron Wongchiranuwat (20)

วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Bloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital TaxonomyBloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital Taxonomy
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
 
Cognitive tools for open ended
Cognitive tools for open endedCognitive tools for open ended
Cognitive tools for open ended
 
Databases as cognitive tools
Databases as cognitive toolsDatabases as cognitive tools
Databases as cognitive tools
 
Aect standard 3 learning environments
Aect standard 3  learning environmentsAect standard 3  learning environments
Aect standard 3 learning environments
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instruction
 
Active Learning
Active LearningActive Learning
Active Learning
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
 
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATIONBERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 
[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 

09 10-14 cognitive constructivismv2

  • 1. onstructivist Theories C ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
  • 2. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน นางสาวเสาวนา เสียงสนั่น 575050198-0 นางสาวนฤนาท คุณธรรม 575050186-7 นายวิญญ์ สาสุนันท์ 575050190-6 นายสถาพร วงศ์รานุวัฒน์ 575050038-8 นายสุระ น้อยสิม 575050197-2 User Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University
  • 3. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ......เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วย การสร้างความรู้ ได้มีการ เปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด ที่ช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมี ส่วนช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และ ความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจ ของผู้เรียน
  • 4. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์ 1. ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้นที่สร้างขึ้นจาก ประสบการณ์ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและสามารถนาไปใช้เป็นฐานใน การแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่น ๆ ได้ 2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่าง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และ โครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น
  • 5. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์ 3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียนเอง ภายใต้ ข้อสมมติฐานต่อไปนี้ 3.1 สถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 3.2 ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจภายในให้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพื่อขจัดความ ขัดแย้งนั้น 3.3 การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้การ มีปฎิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
  • 6. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 1.1 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ......มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget แนวคิดของทฤษฎี นี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้ โดย การลงมือกระทา Piaget 1. ผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือเรียกว่าเกิดการเสีย สมดุลทางปัญญา(Disequilibrium) 2. ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring) ให้เข้าสู่ภาวะสมดุล (Equilibrium)
  • 7. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน Piaget 3. ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring) ให้เข้าสู่ภาวะสมดุล(Equilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่ จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญา และ การ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) คือ ความรู้เดิมที่มีมาก่อนกับข้อมูลข่าวสารใหม่ 4. ผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพ สมดุลย์ หรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิด การเรียนรู้ 1.1 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
  • 8. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 1.1 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
  • 9. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 1.2 แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ........ทฤษฎีที่มีรากฐานมาจากแนวคิดของ Vygotsky ซึ่งมี แนวคิดที่สาคัญที่ว่า "ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญ ในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา"รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับ ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาที่อาจมีข้อจากัด เกี่ยวกับช่วงของการพัฒนาที่เรียกว่า Zone of Proximal Development ถ้าผู้เรียนอยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development จาเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือในการ เรียนรู้ ที่เรียกว่า Scaffolding และ Vygotsky เชื่อว่า ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กับผู้อื่น........
  • 10. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน Vygotskian หลักการ 4 ประการ ตามแนว Social Constructivism 1. การเรียนรู้และการพัฒนา คือด้านสังคม ได้แก่ กิจกรรมการร่วมมือ (collaborative Activity) 2. Zone of Proximal Development ควรสนองต่อแนวทางการจัดหลักสูตรและ การวางแผนบทเรียน 3. การเรียนรู้ในโรงเรียนควรเกิดขึ้นในบริบทที่มีความหมาย และไม่ควรแยกจาการเรียนรู้ ละความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง (Real World) 4. ประสบการณ์นอกโรงเรียน ควรจะมีการเชื่อมโยงนามาสู่ประสบการณ์ในโรงเรียนของผู้เรียน
  • 11. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน Social Constructivism ภาษา สังคม วัฒนธรรม ร่วมมือกันแก้ปัญหา Zone of Proximal Development
  • 12. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน เพิ่มแรงจูงใจ กิจกรรมในการเรียนรู้ ส่งเสริมการคิด อย่างมีวิจารณญาณ ส่งเสริมแบบการเรียนรู้ ที่หลากหลาย สนับสนุนการเสาะ แสวงหาความรู้ เหตุผลในการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาใช้ในการออกแบบการสอน
  • 13. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับเทคโนโลยีการศึกษา 1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ Cunningham Cunningham ได้เสนอหลักการสาคัญที่ใช้ในการออกแบบสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ตามแนวคิดของคอนสตรัคติวิสต์ คือ ภารกิจกรรมตามสภาพการ เรียนรู้ที่เป็นจริง ซึ่งแนวคิดนี้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยการให้ประสบการณที่ มีความหมายต่อผู้เรียนผู้เรียนจะสร้างความรู้ในการแก้ปัญหาที่ตรงกับสภาพ ความเป็นจริง.......
  • 14. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับเทคโนโลยีการศึกษา หลักในการออกแบบตามแนวคิด 1. กระบวนการสร้างประสบการณ์ความรู้ 2. การสร้างประสบการณ์อย่างลึกซึ้งในรูปแบบที่หลากหลาย 3. การเรียนรู้ที่ฝังในสภาพที่เป็นจริงและบริบทการแก้ปัญหาที่ตรงกับสภาพจริง 4. การส่งเสริมและสนับสนุนการคิดด้วยตนเองในกระบวนการเรียนรู้ 5. การฝังการเรียนรู้ลงในประสบการณ์ทางสังคม 6. การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้รูปแบบที่หลากหลายในการนาเสนอ 7. การส่งเสริมและสนับสนุนการรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเองในกระบวนการ สร้างโครงสร้างทางปัญญา
  • 15. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 1. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน 2. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ McLellan การเรียนรู้ที่เหมาะสมหรือที่เรียกว่า Situated Learning ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ McLellan การเรียนรู้ที่เหมาะสมหรือที่เรียกว่า Situated Learning ได้เน้นให้ ความสาคัญชองบริบท (contex) การเรียนรู้ที่เหมาะสม โดยสังเกตผู้เรียนในสาน การณ์การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ ผู้เรียนจะเป็นผู้แสดงการกระทาด้วยตนเอง โดยปราศจากการสนับสนุน หรือการแทรกแซง(Intervention)......
  • 16. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.จงวิเคราะห์ผลงานการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ได้แก่ จารุณี ซามาตย์. (2552). โมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ตามประเด็น ดังนี้ 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบมีลักษณะ อย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 17. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 1. การสร้างการเรียนรู้ ( Learning Constructed) ความรู้จะถูกสร้างขึ้น จากประสบการณ์ การเรียนรู้เป็น กระบวนการสร้างสิ่งแทน ความรู้ ในสมองที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างขึ้น
  • 18. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 2. การแปลความหมายของแต่ละคน ( Interpretation Personal) การเรียนรู้เป็นผลจากการแปล ความหมายตามประสบการณ์ ของแต่ละคน การเรียนรู้เป็นการแปล ความหมายตามสภาพจริง
  • 19. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 3. การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทา ( Learning active) การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ได้ จากการลงมือกระทา เป็นการสร้างความหมายที่ พัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานของ ประสบการณ์
  • 20. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
  • 21. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 5. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) การเรียนรู้ต้องเหมาะสมกับ บริบทของสภาพจริง สะท้อนบริบทที่เป็นสภาพจริง
  • 22. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.1 ให้อธิบายกระบวนการในการออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 6. การทดสอบเชิงบูรณาการ (Testing Integrated) บูรณาการเข้ากับภารกิจการ เรียน เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้ เกิดการคิดในเนื้อหาการเรียนรู้ เรื่องนั้นๆ
  • 23. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร จากผลการวิเคราะห์ผลงานวิจัยของ จารุณี ซามาตย์.(2552). โมเดล สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยประยุกต์จากหลักการ Constructivist Learning Environment (CLEs) ที่มุ่งส่งเสริมความสามารถใน การแก้ปัญหาและพัฒนาความคิดรวบยอดที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน โดยการเรียนรู้เกิดจากปัญหา คาถาม กรณี โครงงานที่มีความซับซ้อน ปัญหาหรือจุดประสงค์เกิดจากผู้เรียนเอง การเรียนการสอนที่เกิดจากการ ประสบการณ์ที่อานวยความสะดวกต่อการสร้างความรู้ การเรียนรู้แบบตื่นตัวและ เน้นสภาพจริง ซึ่งมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้.........
  • 24. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร คือ ปัญหาที่ผู้เรียนพยายามจะแก้ ซึ่งใช้ปัญหานี้เป็นแรงผลักดันให้เกิดการเรียนรู้อย่างตื่นตัวและการ สร้างความรู้จากสภาพจริง ซึ่งมีองค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบคือ - บริบทของปัญหา - การนาเสนอปัญหา - พื้นที่สาหรับลงมือแก้ปัญหา 1. คาถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน
  • 25. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร คือ แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญที่สุดในค้นหาเพื่อช่วยการในแก้ไขปัญหา คือสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา เช่น world wide web หนังสือ หรือสถานการณ์ปัญหาที่มีความใกล้เคียงกัน 2. แหล่งการเรียนรู้ (Resouce)
  • 26. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร คือ การเข้าใจในแต่ละปัญหานั้น เป็นการกระตุ้นประสบการณ์เกี่ยวกับปัญหานั้น ๆ และสร้างรูปแบบ ความคิดเกี่ยวกับปัญหา เพื่อเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ซึ่งช่วยสนับสนุนผู้เรียนได้ 2 ทาง คือ ช่วยให้ผู้เรียนจดจาได้ดี และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความยืดหยุ่นทางปัญญา 3. กรณีใกล้เคียง
  • 27. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร คือ การช่วยเหลือในการที่ผู้เรียนไม่สามารถลงมือกระทาภารกิจด้วยตนเองได้ อาจให้ การช่วยเหลือโดยการเปลี่ยนแปลงความยากของภารกิจขณะที่การฝึกฝนมุ่งเน้นในการ ปฏิบัติการภารกิจที่เป็นรายบุคคล 4. ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)
  • 28. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร มีหน้าที่ให้การช่วยเหลือทางด้านสติปัญญาของผู้เรียน โดยการมีปฏิสัมพันธ์กับ CLEs อาจเป็นการช่วยผู้เรียนนาเสนอปัญหา หรือภารกิจได้ดีกว่า ประกอบด้วย - เครื่องมือสร้างการนาเสนอปัญหาหรือภารกิจ - เครื่องมือจาลองความรู้คงที่และความรู้ที่เป็นพลวัตร 5. เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive Tools)
  • 29. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร การกระทากับตัวอย่างรวมไปถึงการอธิบายวิธีการแก้ปัญหาจากประสบการณ์ของผู้ที่ มีประสบการณ์การแก้ปัญหา การกระทากับปัญหาส่งเสริมการพัฒนาของสกีมา และ วิธีการแก้ปัญหา และผ่านทางโครงสร้างสถานการณ์ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงที่ สัมพันธ์กับปัญหา 6. ห้องแล็ปความคิดสร้างสรรค์(Cognitive Thinking Lab)
  • 30. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร คือ การใช้คอมพิวเตอร์ในหลายวิธีในการติดต่อสื่อสาร เพื่อที่จะสนับสนุนให้เกิดการ ร่วมมือกันแก้ปัญหาระหว่างชุมชนกับผู้เรียน 7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้(Collaboration)
  • 31. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.2 วิเคราะห์หลักการที่ใช้ในการออกแบบทุกองค์ประกอบ ลงสู่การปฏิบัติการออกแบบ มีลักษณะอย่างไร และทฤษฎีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร เพื่อที่จะสร้างความเชี่ยวชาญในกระทาเริ่มต้น ในแต่ละขั้นของการกระทาที่เป็นความสามารถของ ผู้เรียน จะมีการปรับปรุงด้วยการฝึกสอนหรือการโค้ช โค้ชที่ดีจะกระตุ้นผู้และจูงใจผู้เรียน ให้วิเคราะห์ กระบวนการของผู้เรียน จัดเตรียมการสะท้อนผล และแนะนาให้ปฏิบัติ 8. ศูนย์ให้คาแนะนา(Coaching)
  • 32. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 33. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ยุคปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2552-2561) •พัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ สามารถเรียนด้วยตนเอง แสวงหาความรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต •พัฒนาแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อื่น สาหรับการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียน นอกโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย
  • 34. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
  • 35. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 •การเรียนรู้สาระวิชาควรเป็นการเรียนรู้จากการค้นคว้าของศิษย์เอง โดยครูช่วยแนะนาและช่วย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ •นอกจากสาระวิชาหลักแล้วการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะต้องมีทักษะ –ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ –ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี –ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (3R x 4C)
  • 36. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ทักษะ 3R Reading Writing Arithemetics
  • 37. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ทักษะ 4C •ทักษะด้านการ สื่อสาร สารสนเทศ รู้เท่าทันสื่อ •ทักษาด้านความ ร่วมมือ การทาน เป็นทีม •ทักษะด้านการ สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม •คิดอย่างมี วิจารณญาณ •ทักษะในกร แก้ปัญหา Critical Thinking Creativity Communications Collaboration
  • 38. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล โมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ที่ส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
  • 39. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 2.3 การออกแบบการสอนมีความสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล Constructivist Web-base Learning Environments Model Promoting Problem Solving and Transfer of Learning
  • 40. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1 - Theorists - Designers - Developers - Evaluators - Researchers - Teacher - Learners ขั้นตอนที่ 1 การสร้างนวัตกรรม ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้ในบริบทจริง - Literature review - Contextual study - Theoretical framework - Designing framework -การประเมินด้านผลผลิต -การประเมินบริบทการใช้ -การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา -การประเมินด้านความคิดเห็น -การประเมินผลสัมฤทธิ์ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) การออกแบบสื่อการเรียนรู้
  • 41. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
  • 42. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
  • 43. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
  • 44. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
  • 45. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
  • 46. C onstructivist Theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 3.จงออกแบบการสอนโดยนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐาน อธิบายวิธีการ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ รวมทั้ง อธิบายเหตุผลว่าส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร โดยเลือกเนื้อหาในรายวิชาที่รับผิดชอบหรือ สนใจ1
  • 47. onstructivist Theories C ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน 201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN Educational Technology, Faculty of Education, Khon Kaen University