SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 70
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 10

การดํารงชีวิตของพืช
Maintenance of Plant Life
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมือศึกษาบทเรียนนี้แล้วนักศึกษาสามารถ
่
1. อธิบายกลไกการลําเลียงนํ้า แร่ธาตุ และสารอาหารของพืช
2. อธิบายกลไกการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช
้
3. บอกโครงสร้างของดอกและชนิดของดอก
4. อธิบายกระบวนการสร้างเซลล์สบพันธุของพืช
ื
์
5. อธิบายการถ่ายละอองเรณูและการผสมพันธุของพืช
์
6. บอกส่วนประกอบและชนิดของผล
7. อธิบายการงอกและการเจริญเติบโตของพืช
8. อธิบายกลไกการตอบสนองของพืช
9. อธิบายการทํางานของสารเคมีต่อการตอบสนองของพืช
การดํารงชีวตของพืชมีก ระบวนการต่า ง ๆ ได้แ ก่ การลํา เลีย งสาร พืช ลํา เลีย ง
ิ
สารอนินทรียพวกนํ้าและแร่ธาตุจากดินโดยระบบท่อนํ้า (Xylem) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
์
เข้า ทางปากใบ สารอนิ น ทรีย์เ หล่ า นี้ พ ืช นํ า ไปใช้ใ นกระบวนการสัง เคราะห์ ด้ว ยแสง
(Photosysthesis) โดยการรวมกันทางเคมีของคาร์บอนไดออกไซด์และนํ้ามีพลังงานแสง
เป็ นตัวช่วย ได้เป็ นคาร์โบไฮเดรต และผลพลอยได้ คือ ออกซิเจนและนํ้า สารอาหารทีพช
่ ื
สร้างได้จะลําเลียงไปทางท่ออาหาร (Phloem) ไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช
กระบวนการเมแทบอลิซม พืชมีการสลายโมเลกุลของสารอาหารคาร์โบไฮเดรต
ึ
โดยการสันดาปด้วยออกซิเจน เพื่อนํ าพลังงานไปใช้ในกิจกรรมดําเนินชีวตเช่นเดียวกับ
ิ
สัต ว์ กระบวนการขับ ถ่ า ยของเสีย พืช มีก ารขับ ถ่ า ยของเสีย ในรูป แก๊ ส และไอนํ้ า เข้า สู่
บรรยากาศทางปากใบเป็ นส่วนใหญ่ พืชสามารถเคลื่อนไหวเพือตอบสนองต่อสิงเร้าได้ ทัง
่
่
้
สิงเร้าภายนอก เช่น แสงสว่าง และสิงเร้าภายใน คือ ฮอร์โมน พืชมีกระบวนการสืบพันธุ์
่
่
CU 474

413
ทังอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ กระบวนการเจริญเติบโตอาศัย เนื้อเยื่อเจริญทํา หน้ า ที่
้
แบ่งตัวเพิมจํานวน และเปลียนแปลงไปเป็ นเนื้อเยือถาวร เพือเพิมขนาดของลําต้น
่
่
่
่ ่

10.1 การลําเลียงในพืช
การลําเลียงนํ้าของพืช (Water Conduction)
บริเวณทีมการดูดนํ้ามากทีสด คือ บริเวณขนราก (Root Hair Zone) ซึงมีเซลล์
่ ี
ุ่
่
ขนรากทําหน้าทีสําคัญ ในดินนํ้ าจะเคลื่อนทีมาที่ผวรากโดยกระบวนการ Mass Flow
่
่
ิ
ซึงเป็ นการเคลื่อนทีของนํ้ าทีถูกผลักดันไปโดยความแตกต่างของความดันนํ้ าสองบริเวณ
่
่
่
คือ นํ้าบริเวณใกล้รากจะแพร่เข้าสูเซลล์ของรากตลอดเวลา ทําให้ปริมาณนํ้าบริเวณนี้ลดลง
่
ความดันของนํ้ าจึงลดลงตํ่ากว่าความดันของนํ้ าทีอยู่ห่างจากราก นํ้ าบริเวณนี้จงไหลมาที่
่
ึ
ผิวรากได้ โดยผ่านมาตามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินทีตดต่อกัน
่ ิ
นํ้ าในดินทีสมผัสกับผิวรากจะเข้าสู่ท่อนํ้ าในรากโดยผ่านเซลล์ชนต่าง ๆ คือ เอพิเดอร์
่ ั
ั้
มิส คอร์เทกซ์ เอนโดเดอร์มส และท่อนํ้า ด้วย 2 วิถทาง
ิ
ี
1. วิถอะโปพลาสต์ (Apoplast Pathway) นํ้าจะเคลื่อนทีจากเซลล์หนึ่งไปยังอีก
ี
่
เซลล์ โดยทาง Membrane หรือทางช่องว่างระหว่างเซลล์ ซึงนํ้าจะต้องเคลื่อนทีขามผ่าน
่
่ ้
Membrane ในแต่ละเซลล์ 2 ครัง และขณะที่น้ํ าอยู่ในเซลล์น้ํ าอาจจะเข้าและออกจาก
้
แวคิวโอลได้ดวย
้
2. วิถซมพลาสต์ (Symplast Pathway) นํ้าเคลื่อนทีจากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์ทอยู่
ี ิ
่
่ี
ข้างเดียว โดยผ่านทางรูผนังเซลล์ (Plastmodesma) ช่องทางนี้เป็ นทางติดต่อของไซโต
พลาสซึม ดังนัน นํ้าจึงเคลื่อนทีผานไซโตพลาสซึมจากเซลล์หนึ่งยังอีกเซลล์ วิถซมพลาสต์
้
่ ่
ี ิ
นํ้าสามารถผ่านเซลล์เอพิเดอร์มสเข้าสูคอร์เทกซ์ เอนโดเดอร์มส และไซเลมได้
ิ
่
ิ
การลําเลียงนํ้ าโดยวิถีอะโปพลาสต์ จะมาสิ้นสุดที่เซลล์เอนโดเดอร์มสเนื่องจาก
ิ
เซลล์ชนนี้มแถบไขมันพวกซูเบอริน (Suberin) เคลือบผนังเซลล์ทเรียกว่า แถบแคสปาั้ ี
่ี
เรียน (Casparian Stripe) ซึงไขมันไม่ละลายในนํ้า ทําให้น้ําผ่าน Membrane ไม่ได้ ดังนัน
่
้
นํ้ า ที่ลํา เลีย งมาโดยวิถีอ ะโปพลาสต์จ ะเข้า สู่เ อนโดเดอร์ม ิส ได้ด้ว ยวิถีซิม พลาสต์ หรือ
ช่องว่างของแถบแคสปาเรียนทีอาจเกิดขึนระหว่างการเกิดรากแขนง
่
้
อย่างไรก็ตาม พบว่า สารซูเบอรินจะมีแต่เฉพาะในเอนโดเดอร์มสของรากทีมอายุ
ิ
่ ี
มาก ซึงหยุดการเจริญเติบโตแล้ว และเป็ นบริเวณทีห่างจากปลายราก ซึงมีการดูดนํ้าน้อย
่
่
่
414

CU 474
ส่วนปลายรากที่อายุยงน้อยไม่พบซูเบอริน ดังนัน นํ้ าจึงเคลื่อนทีผ่านเซลล์บริเวณปลาย
ั
้
่
รากในปริมาณทีมาก
่

รูปที่ 10.1.1 วิถทางการลําเลียงนํ้าทางรากพืชสองเส้นทาง คือ อะโปพลาสต์และซิมพลาสต์
ี
(จาก George B. Johnson, 1997)

กระบวนการดูดนํ้าของพืช พืชดูดนํ้าเข้าสูเซลล์ดวย 2 วิธี ได้แก่
่
้
1. กระบวนการออสโมซิส (Osmosis) เป็ นวิธทพชดูดนํ้าได้เป็ นส่วนใหญ่โดยเริม
ี ่ี ื
่
จากเซลล์ขนราก ซึงมีสารละลายอยู่มากในไซโตพลาสซึมจึงมีแรงดันออสโมซิส (Osmotic
่
Pressure) สูงกว่านํ้าในดิน นํ้าจากดินจึงแพร่เข้าสูเซลล์ได้ เมือนํ้าเข้าสูเซลล์ ขนรากจะทํา
่
่
่
ให้ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์น้อยกว่าเซลล์ทอยู่ถดเข้าไป นํ้าจากเซลล์ขนรากจึง
่ี ั
แพร่เข้าสูเซลล์ใกล้เคียงได้ และในทํานองเดียวกันนี้น้ําจะสามารถแพร่ต่อไปยังเซลล์ถดไป
่
ั
ได้เรือย ๆ
่
2. กระบวนการแอกทีฟ แอพซอพชัน (Active Absorption) เป็ นกระบวนการดูดนํ้า
ที่พชใช้พลังงานซึ่งได้จากขบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์ดงนํ้ าจากบริเวณที่มความ
ื
ึ
ี
เข้มข้นน้อยกว่านํ้าในเซลล์เข้าสูเซลล์ได้ ซึงมักเกิดในบริเวณทีแห้งแล้ง นํ้าในดินมีน้อย
่
่
่
กลไกการลําเลียงนํ้าของพืช
การลําเลียงนํ้ าของพืชจากส่วนล่าง คือ ราก ขึ้นสู่ท่ีสูงคือ ลํา ต้นและใบของพืช
ั ั ่
ปจจุบนเชือว่าพืชมีกลไกการลําเลียงหลายวิธรวมกัน ได้แก่
ี่
1. แรงดันราก (Root Pressure) คือ แรงดันให้น้ําเคลื่อนทีต่อเนื่องกันจากรากเข้าสู่
่
ไซเลมจนถึงปลายยอดของพืช แรงดันนี้เป็ นกระบวนการ Active Absorption แรงดันรากมี
เพียง 2-5 บรรยากาศเท่านัน และเกิดเฉพาะกับพืชบางชนิดในสภาพพื้นดินที่มค วาม
้
ี
CU 474

415
ชุ่มชื้นมาก ดังนันแรงดันรากเพียงอย่างเดียวจึงไม่น่าจะเพียงพอที่จะดันให้น้ํ าขึนไปถึง
้
้
ยอดทีมความสูงมาก ๆ ได้ ต้องมีแรงดันอย่างอื่นมาช่วยดันให้น้ําขึนไปด้วย
่ ี
้
2. คะพิลลารี แอคชัน (Capillary Action) คือ การเคลื่อนทีของนํ้าในหลอดขนาด
่
เล็ก (Capillary Tube) ทีถูกดันให้ขนไปสูงกว่าระดับนํ้าในบริเวณเดียวกัน ซึงเกิดจากแรง
่
้ึ
่
ตึงผิวของโมเลกุลของนํ้ากับผนังด้านข้างของหลอดทีมแรงยึดเกาะกัน เรียกว่า Adhesion
่ ี
คะพิลลารี แอคชัน ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของนํ้ าในท่อเวสเซลที่ไหลต่อกันอย่างไม่ขาด
สาย เป็ นเพราะโมเลกุลของนํ้ามีแรงดึงดูดซึงกันและกัน คือ แรงโคฮีชน (Cohesion) และมี
่
ั
แรง Adhesion ยึดเกาะกับผิวของท่อเวสเซล นํ้าจะลําเลียงขึนไปได้สงมาก ๆ ท่อจะต้องมี
้
ู
ขนาดเล็กมาก แต่ท่อนํ้ าของพืชยังมีขนาดเล็กไม่พอทีจะทําให้เกิดคะพิลลารี แอคชัน นํ า
่
นํ้าไปถึงยอดพืชทีสงมาก ๆ ได้
ู่
3. ทรานสไปเรชัน พูล (Transpiration Pull) คือ แรงทีเกิดจากการคายนํ้าของพืช
่
ซึงเป็ นวิธลาเลียงนํ้าได้ดของพืชทุกชนิด ทุกขนาด ใบของพืชมีการคายนํ้าตลอดเวลาทําให้
่
ีํ
ี
เซลล์ของใบขาดนํ้าจึงเกิดแรงดึงนํานํ้าจากข้างล่างขึนมาทดแทนได้อย่างต่อเนื่อง
้
การคายนํ้าทีใบทําให้เซลล์ทใบขาดนํ้า จึงมีแรงดันออสโมซิสสูงขึน ส่วนแรงดันเต่ง
่
่ี
้
(Turgor Pressure) จะลดลงเรือย ๆ จนมีค่าเป็ นศูนย์ ใบจะเริมเหียว แต่ยงคายนํ้าได้อก
่
่ ่
ั
ี
ถ้าสิงแวดล้อมอํานวยทําให้ค่า Turgor Pressure เป็ นลบ ใบจะเหียวจนเห็นได้ชดเจน
่
่
ั
ขณะเดียวกัน Osmotic Pressure จะยิงเพิมมากขึน จึงมีแรงดัน (Tension) ดึงนํ้าจาก
่ ่
้
ข้างล่างขึนมาด้านบน เซลล์ดานล่างจะขาดนํ้ าจึงเหียว ทําให้ดูดนํ้าจากเซลล์ล่างถัดไปได้
้
้
่
อีกต่อเนื่องกันไป แสดงว่าการคายนํ้ ามากทําให้มแรงดึงมากขึน นํ้ าจึงขึนสู่ทสงได้ พบว่า
ี
้
้ ่ี ู
แรงดึงทีเกิดจากการคายนํ้าของพืชมีมากถึง 200-300 บรรยากาศ
่
การดึงนํ้ าขึนสู่ทสูงย่อมต้องใช้แรงมาก เนื่องจากมีการเสียดทานของเซลล์ต่าง ๆ
้ ่ี
แต่พบว่า สายนํ้าไม่ขาดตอนเลย แสดงว่าโมเลกุลของนํ้ามีแรงดึงดูดกัน (Cohesion) มาก
ซึงพบว่า มีประมาณ 150 บรรยากาศ
่
แรงทังสามชนิด คือ แรงจากการคายนํ้ า (Transpiration Pull) แรงดึงของนํ้ า
้
(Tention) และแรงยึดเกาะของโมเลกุลของนํ้า (Cohesion) ทําให้น้ําในลําต้นพืชสามารถ
ลําเลียงนํ้าจากด้านล่างขึนไปสูยอดสูง ๆ ได้ โดยไม่ขาดสาย
้
่
Dixon และ Joly ได้ตงทฤษฎี Transpiration Cohesion Tension Theory ในปี
ั้
ั ั
1894 ซึงใช้อธิบายการลําเลียงนํ้าของพืช และเชือถือกันมากทีสดจนถึงปจจุบน
่
่
ุ่
416

CU 474
การลําเลียงธาตุอาหารของพืช (Translocation of Minerals)
พืชส่วนใหญ่ ดูดเกลือแร่ในรูปของไอออน และเลือกดูดไอออนชนิดต่าง ๆ ด้วย
อัตราเร็วไม่เท่ากัน และมีการแข่งขัน วิธการดูดเกลือแร่ของพืชทําได้หลายวิธี
ี
1. การแพร่ (Diffusion) ปกติในดินจะมีเกลือแร่มากกว่าในเซลล์เสมอ ดังนัน เกลือ
้
แร่จากดินจึงแพร่เข้าสูเซลล์ได้ เมื่อเซลล์หนึ่งรับเกลือแร่เข้ามาทําให้มความเข้มข้นสูงกว่า
่
ี
เซลล์ถดไป จึงแพร่ผานต่อกันไปได้อย่างต่อเนื่อง
ั
่
2. การแลกเปลียนอิออน (Ion Exchange) เป็ นวิธดดเกลือแร่โดยมีการแลกเปลียน
่
ี ู
่
+
่
ไอออนกับผิวราก ทีรากจะมี H เป็ นส่วนใหญ่ ซึงได้มาจากคาร์บอนไดออกไซด์ในการ
่
หายใจของเซลล์ทเี่ ข้ารวมกับนํ้าเป็ นกรดคาร์บอนิค (H2CO3) แล้วแตกตัวให้ H+ ยึดเกาะ
กับผิวรากและเคลื่อนทีในวงจํากัด บริเวณผิวรากจึงมีแรงดึงดูดระหว่างประจุบวกกับประจุ
่
่
ลบ และสามารถแลกเปลียนไอออนกันได้ เช่น ในสารละลายทีม ี K+ มาก แล้วเคลื่อนทีเข้า
่
่
+
+
ี
่
่ี ิ
ไปอยู่บริเวณราก K ก็มโอกาสทีจะถูกจับไว้ทผวรากได้เช่นเดียวกับ H และโอกาสที่ H+
+
+
่
และ K จะหลุดออกจากรากก็มเี ท่ากัน ถ้า H หลุดออก K+ ก็สามารถจะเข้าไปแทนทีได้
เช่นกัน ส่วนการแลกเปลียนโดยการดูดประจุลบ เกิดจากการเข้าแทนที่ OH- หรือ HCO3่
ซึงมีอยูในรากเป็ นส่วนใหญ่ การแลกเปลียนไอออนทําให้ pH ของนํ้าในดินเปลียนแปลงไป
่
่
่
่
ด้วย ถ้ามีการแลกเปลียนประจุบวกมาก pH ของนํ้าในดินจะเป็ นกรดมากขึน
่
้
3. กระบวนการแอกทีฟ แอพซอพชัน และการสะสมไอออน (Active Absorption
and Ion Accumulation) การดูดเกลือแร่โดยวิธี Active Absorption ส่วนใหญ่เกิดทีบริเวณ
่
เนื้อเยื่อเจริญของราก ซึ่งเป็ น บริเวณที่มอตราการหายใจสูง มีพลังงานมาก จึงดูดและ
ี ั
สะสมเกลือแร่มาก

การลําเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients)

พืชทําการสังเคราะห์ดวยแสงทีใบได้น้ํ าตาล แล้วเปลียนเป็ นแป้ง ส่งไปตามโฟลเอม
้
่
่
ไปเลียงส่วนต่าง ๆ ของพืช
้
การทดลองทีแสดงว่าพืชลําเลียงอาหารไปตามท่อโฟลเอม อาจทําได้โดยการควัน
่
่
และลอกเปลือกของลําต้นพืชใบเลี้ยงคู่ออก ทิ้งไว้ 2-3 สัปดาห์ จะสังเกตเห็นบริเวณรอย
่
ควันตอนบนโปงออก เนื่องจากอาหารทีลาเลียงลงมาจากยอดมาสะสมอยูมาก
่
่ํ
่

CU 474

417
ราบิโดและเบอร์ (Rabideau & Burr) ทําการทดลองโดยให้ C13O2 กับใบพืช 4
กลุ่ ม ที่ทํ า ลายโฟลเอมของลํ า ต้น บริเ วณต่ า ง ๆ ด้ว ยไอนํ้ า ร้อ นหรือ ขี้ผ้ึง ร้อ น ต้น ที่ 1
ไม่ทําลายโฟลเอม ต้นที่ 2 ทําลายโฟลเอมบริเวณเหนือใบทดลอง ต้นที่ 3 ทําลายโฟลเอม
บริเวณใต้ใบทดลอง และต้นที่ 4 ทําลายโฟลเอมบริเวณเหนือและใต้ใบทดลอง
เมือให้ C13O2 กับใบพืชในระยะเวลาหนึ่ง แล้วตรวจหา C13 ในโมเลกุลของนํ้าตาล
่
ผลการทดลอง พบว่า
ต้นที่ 1 พบทุกส่วนของลําต้น
ต้นที่ 2 พบเฉพาะส่วนทีอยูใต้รอยโฟลเอมทีถูกทําลาย
่ ่
่
ต้นที่ 3 พบเฉพาะลําต้นเหนือรอยโฟลเอมทีถูกทําลาย
่
ต้นที่ 4 พบเฉพาะบริเวณลําต้นทีอยู่ระหว่างรอยโฟลเอมทีถูกทําลาย แสดงว่า
่
่
โฟลเอมเป็ นท่อสําหรับลําเลียงสารอาหารจากใบไปส่วนต่าง ๆ ของลําต้น

รูปที่ 10.1.2 การทดลองการลําเลียงนํ้าตาลในท่อลําเลียงอาหารของพืช

กลไกการลําเลียงสารอาหารของพืช
สมมติฐ านที่อ ธิบ ายกลไกการลํา เลีย งสารอาหารของพืช ที่ย อมรับ กัน ทัวไปใน
่
ั ั
ปจจุบน คือ Mass Flow Hypothesis ซึงอธิบายว่าสารอาหารถูกลําเลียงไปในท่อโฟลเอม
่
เกิ ด จากการผลั ก ดั น โดยความแตกต่ า งของความดั น ภายในท่ อ สมมติ ฐ านนี้ ม ี
นักวิทยาศาสตร์ได้ทําการศึกษาวิจยเพื่อสนับสนุ น ดังเช่น M.H Zimmerman ได้สงเกต
ั
ั
การใช้ปากของเพลียอ่อนเจาะเข้าไปในท่อโฟลเอมของพืช เพื่อดูดของเหลวจากท่อจนล้น
้
ออกมาทางก้น (Honen dew) การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของของเหลวทีไม่ผ่าน
่
ลําตัวของเพลียน่ าจะเป็ นสิงทีน่าเชื่อถือมากกว่า เขาจึงตัดส่วนของลําตัวเพลียโดยการทํา
้
่ ่
้
ให้สลบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และตัดตัวเพลี้ยด้วยแสงเลเซอร์ ของเหลวที่ได้จาก
่
ปากเพลียพบว่า ส่วนใหญ่เป็ นนํ้าตาลซูโครส ดังนันถ้าให้ 14CO2 ทางใบกับพืชเพือทําการ
้
้
้
สังเคราะห์ดวยแสง ซึงจะได้ซูโครสทีม ี 14C เป็ นองค์ประกอบ และเมื่อให้เพลียอ่อนแทง
้
่
่
418
CU 474
ปากในโฟลเอมตําแหน่ งต่าง ๆ ก็จะหาอัตราการเคลื่อนที่ของนํ้ าตาลในโฟลเอมได้ จาก
การทดลอง พบว่า นํ้าตาลในโฟลเอมสามารถเคลื่อนทีดวยอัตราประมาณ 100 เซนติเมตร
่ ้
ต่อ ชัวโมง จากผลการทดลองนี้ทําให้คดได้ว่าการเคลื่อนทีของนํ้าตาลในโฟลเอมคงไม่ใช่
่
ิ
่
กระบวนการแพร่ธรรมดา ต้องมีพลังงานเข้ามาเกียวข้องอยูดวย
่
่ ้
ในทฤษฎี Mass Flow ซึงเสนอโดย Ernst Munch ในปี ค.ศ. 1930 อธิบายการไหล
่
ของของเหลวในเซลล์ลําเลียงอาหารว่ามีแรงผลักดันทีเกิดจากความแตกต่างของความดัน
่
ระหว่างแหล่งสร้าง (Source) กับแหล่งเก็บ (Sink) ซึงความแตกต่างของความดันเกิดจาก
่
การลําเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่งสร้าง และการลําเลียงอาหารออกจากโฟลเอมที่
แหล่งเก็บ พืชจะใช้พลังงานในการลําเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมทีแหล่งสร้าง ทําให้ความ
่
เข้มข้นของสารละลายในโฟลเอมเพิมมากขึน ความเข้มข้นของนํ้าในเซลล์โฟลเอมจึงลดลง
่
้
นํ้ า จากเซลล์ไ ซเลมข้า งเคียงจึงแพร่เ ข้า สู่เซลล์โ ฟลเอม ทํา ให้เ ซลล์ม ีแรงดัน เต่ง (T.P)
เพิมขึ้น ในขณะเดียวกันการลําเลียงอาหารออกจากโฟลเอมไปที่เซลล์แหล่งเก็บ (Sink
่
Cell) ทําให้ความเข้มข้นของนํ้าในเซลล์โฟลเอมเพิมมากขึน เนื่องจากสารละลายมีความ
่
้
เข้มข้นลดลง ทําให้น้ํ าแพร่ไปยังเซลล์ไซเลมทีอยู่ขางเคียง แรงดันเต่งในโฟลเอมจึงลดลง
่ ้
แรงดันเต่งทีแหล่งสร้างกับทีแหล่งเก็บจึงแตกต่างกันทําให้เกิดการแพร่ของสารจากเซลล์
่
่
แหล่งสร้างมายังเซลล์แหล่งเก็บได้ ซึงไม่ตองใช้พลังงาน
่ ้

รูปที่ 10.1.3 การลําเลียงสารอาหารจากแหล่งสร้างมายังแหล่งเก็บในโฟลเอม
(จาก Campbell et al, 2003 และ Taiz and Zeiger, 2002)

CU 474

419
แม้ว่าการลําเลียงอาหารจะใช้กลไกความแตกต่างของความดันเป็ นแรงผลักดันให้
สารละลายในโฟลเอม เคลื่อนทีเป็ นระยะทางไกลแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive) แต่พชก็ยง
่
ื ั
ต้องใช้พลังงาน (Active) ในการนําสารละลายเข้าและออกจากโฟลเอมในปริมาณมากเพื่อ
สร้างความแตกต่างของความดันที่จะเป็ นแรงผลักดันในการลําเลียงจากใบที่เป็ นแหล่ง
สร้างไปยังรากซึงเป็ นแหล่งเก็บ
่
แต่มขอสงสัยว่าในโฟลเอมทีเป็ น Sieve Tube เป็ นเซลล์ทมชวตบริเวณแผ่นตะแกรง
ี ้
่
่ี ี ี ิ
(Sieve Plate) ยังมีสายไซโตพลาสซึมทีจะขัดขวางการลําเลียงสาร จึงไม่น่าจะผ่านได้เร็ว
่
นอกจากนี้ยงพบว่าบางครัง Turgor Pressure ในเซลล์รากก็ไม่ได้มค่าน้อยไปกว่าใบ จึงไม่
ั
้
ี
ั
เป็ นปจจัยทีจะทําให้เกิดแรงผลักดันทีจะลําเลียงสารได้รวดเร็ว และยังอาจเป็ นการลําเลียง
่
่
จากรากไปที่ใ บก็ไ ด้ เพราะพบว่า การลํ า เลีย งสารอาหารของพืช มีท ง สองทิศ ทาง คือ
ั้
ลําเลียงขึนและลง
้
นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาวิจย เพื่ออธิบายข้อสงสัย เหล่า นี้ เพื่อสนับสนุ นทฤษฎี
ั
Mass Flow ดังนี้
1. Sieve Tube Member มีรตะแกรง (Sieve Plate Pore) เป็ นช่องเปิ ด ไม่ได้อุด
ู
ตันในขณะทีเซลล์ยงมีชวต ซึงนักวิทยาศาสตร์ได้ทําการศึกษาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ชนิด
่
ั ีิ ่
พิเศษ (Confocal Laser Scanning Microscope) กับเทคนิคการให้สารสีเรืองแสงกับ
สารละลายในโฟลเอมเพื่อติดตามการเคลื่อนที่ของสารอาหาร ทําให้ทราบว่าสารอาหาร
สามารถลําเลียงผ่านรูตะแกรงของเซลล์ Sieve Tube Member ได้
2. ไม่พบการลําเลียงสองทิศทางทีเกิดในเซลล์ท่ออาหารเดียวกัน นักวิทยาศาสตร์
่
ทําการทดลองโดยใช้สารเคมี 2 ชนิดทําเครื่องหมายกับ 2 ใบทีตดกัน แต่ละใบมีสารเคมีท่ี
่ ิ
ต่างกัน แล้วตรวจหาสารเคมีท่ีโฟลเอมของใบทังสอง อีกการทดลองหนึ่ง ผู้ทดลองทํา
้
เครืองหมายด้วยสารเคมีทขอ แล้วตรวจหาสารทีดานบนและล่าง จากผลการทดลองพบว่า
่
่ี ้
่ ้
พืชมีการลําเลียงสองทิศทางในโฟลเอมทีอยูกนคนละมัดของท่อลําเลียง หรือในมัดเดียวกัน
่ ่ ั
แต่ต่างเซลล์กน
ั
3. อัต ราการลํ า เลีย งสารอาหารในโฟลเอมไม่ ต อบสนองต่ อ การใช้พ ลัง งาน
นัก วิทยาศาสตร์ทํา การทดลองโดยทํา ให้บ างส่ว นของก้า นใบได้ร บ อุ ณ หภูมท่ีต่ํา ลงถึง
ั
ิ
่
ี
้
1 C อย่างรวดเร็ว เพือทําให้เอนไซม์ไม่ทํางานจึงไม่มการสร้างพลังงาน พบว่า การยับยัง
การลําเลียงสารอาหารออกจากใบเป็ นเพียงระยะสัน อัตราการลําเลียงจะค่อย ๆ กลับคืนสู่
้
420

CU 474
ระดับปกติ แม้ว่าความเย็นนี้จะยังทําให้อตราการหายใจทีกานใบยังคงลดลงน้อยกว่าปกติ
ั
่ ้
90 % ก็ตาม แสดงว่าการลําเลียงสารอาหารในโฟลเอมมีการใช้พลังงานน้อยมาก
4. ความแตกต่างของความดันมากพอทีจะผลักดันสารละลายให้เคลื่อนทีได้ใน
่
่
ระยะใกล้ นักวิทยาศาสตร์ทดลองความดันโดยใช้เครื่องมือ Micromano Meter หรือ
Pressure Transducer ต่อเข้ากับปากเพลี้ยอ่อนทีเจาะเข้าไปในโฟลเอม ซึ่งจะมีของ
่
เหลวไหลออกมา ค่าทีวดได้ถอว่าใกล้เคียงความเป็ นจริง เนื่องจากปากของเพลี้ยจะเจาะ
่ ั
ื
เซลล์เพีย งเซลล์เดีย วและรอบปากเพลี้ย จะไม่ม ีร อยรัว จากการทดลองวัด ความดัน ที่
่
บริเวณแหล่งสร้าง (Source) กับแหล่งเก็บ (Sink) พบว่า แรงดันในเซลล์ใกล้เคียงแหล่ง
สร้างมีมากกว่าเซลล์ใกล้เคียงแหล่งเก็บ ซึ่งจากการคํา นวณแรงดันของบริเวณทังสอง
้
นักวิทยาศาสตร์พบว่า มีความแตกต่างของแรงดันมาพอทีจะผลักดันให้มการไหลของ
่
ี
ชีวมวลไปทางโฟลเอมได้

การคายนํ้าของพืช (Transpiration)
นํ้าทีพชดูดเข้าไปทางราก จะถูกลําเลียงผ่านลําต้นไปทีใบเพื่อใช้ในกระบวนการเม
่ ื
่
แทบอลิซมเพียงเล็กน้อยเท่านัน นํ้าส่วนใหญ่จะถูกกําจัดออกไปในรูปของไอนํ้าทางปากใบ
ึ
้
เรียกว่า การคายนํ้ า ซึ่งจะเกิดในเวลากลางวันที่พชมีการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนในเวลา
ื
กลางคืนเป็ นเวลาทีปากใบปิ ด พืชจะกําจัดนํ้ าออกทางท่อไฮดราโทด (Hydrathode) ที่
่
บริเวณปลายใบในรูปของหยดนํ้า เรียกว่า กัตเตชัน (Guttation)
การคายนํ้าของพืชส่วนใหญ่เป็ นการแพร่ของไอนํ้า ซึงเกิดได้หลายบริเวณ ได้แก่
่
1. การคายนํ้าทางปากใบ (Stomatal Transpiration) เกิดมากทีสด
ุ่
2. การคายนํ้าทางผิวใบ (Cuticular Transpiration) เป็ นการคายนํ้าทีผวใบ ซึงมี
่ ิ
่
คิวติเคิล ฉาบอยู่ทผวเซลล์เอพิเดอร์มส เป็ นการคายนํ้ าได้น้อย เนื่องจากมีสารพวกไขมัน
่ี ิ
ิ
(Wax) เคลือบอยู่ ป้องกันการแพร่ของไอนํ้า
3. การคายนํ้ าทางรอยแตกของลําต้นทีเรียกว่า ตา (Lenticular Transpiration)
่
เกิดขึนน้อยมาก เนื่องจาก Lenticel มีน้อย และเป็ นส่วนของ Cork Cell ด้วย
้

CU 474

421
กลไกการคายนํ้าของพืช
ั
เซลล์สปนจี (Spongy Cell) ในชัน Mesophyl ของใบมีการจัดเรียงตัวอย่างหลวม ๆ
้
ทําให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์มากและมีชองอากาศใหญ่ (Air Space) ทีอยู่ถดจากเซลล์
่
่ ั
เอพิเดอร์มสด้านล่าง ซึงตรงกับปากใบ เซลล์ส
ิ
่
ั
ป น จีจ ะสัม ผัส กับ อากาศภายนอก ไอนํ้ า ใน
ช่ อ งว่ า งจึง แพร่ อ อกมาข้า งนอกได้ ในเวลา
กลางวันปากใบจะเปิ ด เนื่องจากเซลล์คุมมีการ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้น้ํ าตาล ทําให้เซลล์คุมมี
สารละลายเข้ม ข้น กว่ า เซลล์ ข้า งเคีย ง จึง มี
แรงดันออสโมซิส (O.P) เพิมขึน นํ้ าในเซลล์
่ ้
ข้างเคียงจึงแพร่เข้าสูเซลล์คุมได้ ทําให้มแรงดัน
่
ี
เต่ง (T.P.) ในเซลล์สงขึน ทําให้เซลล์เต่ง แต่
ู ้
รูปที่ 10.1.4 การปิดเปิดของปากใบ
(จาก George B. Johnson, 1997)
เนื่องจากผนังด้านนอกของเซลล์บางกว่าด้าน
ใน จึงดันให้ผนังด้านนอกโค้งออกมากกว่าด้าน
ใน ปากใบจึงเปิ ดกว้าง ไอนํ้ าในช่องอากาศจึงแพร่ออกมาด้านนอก ใบมีการคายนํ้ ามากก็
ส่งผลให้รากดูดนํ้ามากเพือชดเชยกับปริมาณนํ้าทีเสียไป ใบจึงเต่งอยูเสมอ
่
่
่
ปัจจัยที่ควบคุมการคายนํ้าของพืช
การคายนํ้ าของพืชจะเกิดมากหรือน้อย เร็วหรือช้า ขึนอยู่กบสภาพแวดล้อมของ
้
ั
พืช ได้แก่
1. แสงสว่าง ในสภาพที่มความเข้มของแสงมาก จะมีผลทําให้ปากใบเปิ ดกว้าง
ี
เนื่องจากเซลล์คุมมีการสังเคราะห์ดวยแสงมากใบจึงคายนํ้ ามาก นอกจากนี้แสงสว่างยังมี
้
ผลทํ า ให้อุ ณ หภู ม ิข องบรรยากาศรอบใบสูง ทํ า ให้น้ํ า รอบ ๆ ใบกลายเป็ น ไอมากขึ้น
ใบจึงคายนํ้ามาก
2. อุณหภูม ิ เมื่ออุณหภูมของบรรยากาศรอบ ๆ ใบสูง จะทําให้อุณหภูมของนํ้ าใน
ิ
ิ
ใบสูงขึนด้วย นํ้ าจึงเปลียนสภาพเป็ นไอได้ง่ายและเร็ว ขณะเดียวกันอุณหภูมของอากาศ
้
่
ิ
ภายนอกใบสูง จะช่วยให้อากาศสะสมไอนํ้าได้มาก ไอนํ้าภายในใบจึงระเหยออกมาได้มาก
3. ความชืน ในบรรยากาศทีมความชืนตํ่า ซึงหมายถึงอากาศแห้งมีไอนํ้าน้อย เช่น
้
่ ี
้
่
เวลากลางวัน หรือ ฤดู ร้ อ น ความแตกต่ า งของความชื้น ในใบกับ นอกใบจะมีม าก
422

CU 474
ทําให้การคายนํ้ าเกิดได้เร็วและมาก ในทางกลับกันถ้าอากาศมีความชืนสูง เช่น ขณะฝน
้
ตกใหม่ ๆ เช้ามืด หรือฤดูฝน ใบจะคายนํ้าได้น้อยลง
4. ลม ขณะทีมลมพัดแรง จะพัดพาไอนํ้าไปจากบริเวณรอบใบ ทําให้เกิดความแห้ง
่ ี
ทีรอบใบ ไอนํ้าจากในใบจึงระเหยออกมาสะสมมาก แต่ถาลมพัดแรงมากจนเป็ นพายุ ปาก
่
้
ใบจะปิ ด การคายนํ้าจะลดลง ถ้าลมสงบไอนํ้าภายในกับภายนอกใบไม่แตกต่างกันมาก ใบ
จะคายนํ้าได้ตลอดเวลา ในอัตราทีต่ากว่ามีลมพัด
่ ํ
5. ปริม าณนํ้ า ในดิน ถ้า ในดิน มีน้ํ า มาก รากจะดูด นํ้ า มาก และลํ า เลีย งไปที่ใ บ
ตลอดเวลา ทําให้ใบต้องคายนํ้ามาก ในทางตรงข้ามกับสภาพดินทีแห้งแล้ง พืชดูดนํ้าน้อย
่
ใบก็จะคายนํ้าได้น้อย
6.โครงสร้างของใบ พืชแต่ละชนิดมีลกษณะโครงสร้างของใบแตกต่างกัน ซึงมักจะ
ั
่
เป็ นการปรับตัวตามสภาพของแหล่งทีอยู่ดวย เช่น พืชทะเลทราย (Xerophyte) มีการ
่ ้
ปรับตัวโดยการเปลียนแปลงโครงสร้างของใบ เพื่อลดการคายนํ้า เช่น มีปากใบบุ๋มลึกเข้า
่
ไปในเนื้อใบ เพือทําให้เกิดแอ่งเล็ก ๆ ขังนํ้า เรียกว่า Shunken Stoma นํ้าในแอ่งจะทําให้
่
บรรยากาศรอบใบอิมตัวด้วยความชืนและไอนํ้ า ใบจึงคายนํ้ าได้ยาก เป็ นการลดการคาย
่
้
นํ้ า นอกจากนี้ยงมีการลดขนาดของใบ หรือดัดแปลงใบไปเป็ นหนาม เพื่อลดปากใบให้
ั
น้อยลงหรือไม่ม ี ส่วนพืชที่อยู่ในที่ชุ่มชื้น (Hydrophyte) มักมีปากใบเรียบหรือนู นขึน
้
(Raised Stoma) และมีแผ่นใบขนาดใหญ่ ทําให้คายนํ้าได้มาก พืชบกทีขนในทีมความชืน
่ ้ึ
่ ี
้
ปานกลาง (Mesophyte) มักมีแผ่นใบปานกลาง มีการคายนํ้าแตกต่างกันขึนอยู่กบจํานวน
้
ั
ปากใบของพืช
การวัดการคายนํ้าของพืช
พืชแต่ละชนิดมีการคายนํ้าทีแตกต่างกัน อัตราการคายนํ้าจึงไม่เท่ากัน การคายนํ้า
่
ของพืชคิดเป็ นนํ้ าหนักหรือปริมาตรต่อหน่ วยเวลา วิธวดทําได้หลายวิธี แต่วธทใช้กนมาก
ีั
ิ ี ่ี ั
คือ วัดด้วยโปโตมิเตอร์ (Potometer Method) ซึงเป็ นเครืองมือทีประกอบด้วย หลอดแก้ว
่
่
่
บรรจุน้ํ ามีกงไม้เสียบกับจุกยางทีปากหลอด จากหลอดแก้วมีแขนยื่นออกไป 2 ข้าง แขน
ิ่
่
ด้า นซ้า ยติด กับ กรวยที่ม ีก๊ อ กปิ ด เปิ ด สํา หรับ เติม นํ้ า เข้า หลอดแก้ว แขนด้า นขวาเป็ น
หลอดแก้วทีมรขนาดเล็กมาก (Capillary Tube) มีมาตราส่วนแบ่งเป็ นปริมาตรทีมความ
่ ีู
่ ี
ละเอียด ปลายหลอดงอจุมอยูในแก้วบรรจุน้ําสี
่ ่

CU 474

423
รูปที่ 10.1.5 โปโตมิเตอร์สาหรับวัดอัตราการคายนํ้าของพืช (จาก John W. Kimball, 1965)
ํ

การทดลองหาอัตราการคายนํ้ าของพืช ก่อนทําการทดลองนํ าถ้วยบรรจุน้ํ าออก
จากปลาย Capillary Tube ก่อน เพื่อให้เกิดฟองอากาศเข้าสู่หลอด เมื่อใบพืชคายนํ้ า
ฟองอากาศจะเคลื่อนทีใช้เป็ นตัวชีวดบนมาตราส่วน เพื่อบอกปริมาตรของไอนํ้าทีพชคาย
่
้ั
่ ื
ออกไปทางใบ ต่อจากนี้จงจุมปลายหลอด Capillary ลงไปในถ้วยนํ้าสี ทีหลอดแก้วใหญ่ จะ
ึ ่
่
มีต้นไม้ทงต้น หรือ เฉพาะกิ่ง เสีย บแน่ นทะลุแผ่น จุก ยาง มีห ลอดไฟฟ้ า ให้แสงสว่า งอยู่
ั้
ภายนอก เมื่อเตรียมเครื่องมือเสร็จเรียบร้อยแล้ว เริมจับเวลาที่ฟองอากาศ เคลื่อนที่ใน
่
Capillary อ่านปริมาตรของนํ้าทีถูกดูดเข้าสูลาต้นแล้วระเหยออกทางใบ วัดพืนทีของใบพืช
่
่ํ
้ ่
ทังหมด นํ ามาคํานวณหาอัตราการคายนํ้าของพืชต่อพืนทีผวใบ 1 ตารางหน่ วยในเวลา 1
้
้ ่ ิ
หน่วย
ตัวอย่าง ทดลองการคายนํ้ าของพืชโดยใช้โปโตมิเตอร์ทหลอดแคปพิลลารีมเส้น
่ี
ี
ผ่านศูนย์กลางของรูภายใน 0.8 มิลลิเมตร ยาว 30 เซนติเมตร จัดเตรียมเครื่องมือดังภาพ
ในเวลา 1 นาที ฟองอากาศในหลอดเคลื่อนทีไปเป็ นระยะทาง 7 เซนติเมตร อัตราการคาย
่
นํ้าของกิงไม้ททดลองเป็ นเท่าใด
่
่ี
เส้นผ่านศูนย์กลางของรูหลอดแคปพิลลารี = 0.8 มิลลิเมตร
= 0.08 เซนติเมตร
พืนทีหน้าตัดของรูภายในหลอด
้ ่
= πr2

=

22 x ( 0.08 ) 2 ตารางเซนติเมตร
2
7

ปริมาตรของนํ้าในหลอดแคปพิลลารี = 7 x 22 (0.04)2 ลูกบาศก์เซนติเมตร
= 0.3527ลูกบาศก์เซนติเมตร
∴ อัตราการคายนํ้าของกิงไม้ทดลอง = 0.352 ลูกบาศก์เซนติเมตร / นาที
่
424

CU 474
การคายนํ้าในรูปหยดนํ้าของพืช (Guttation)
การคายนํ้าของพืชทีออกมาเป็ นหยดนํ้า ส่วนใหญ่เกิดบริเวณปลายใบและขอบใบที่
่
เป็ นรอยหยักแหลม และมักเกิดเนื่องจากสภาพแวดล้อมภายนอกไม่เอืออํานวยให้เกิดการ
้
คายนํ้าในรูปของไอนํ้า เช่น อากาศมีความชืนสูง อิมตัวด้วยไอนํ้า ลมสงบ อุณหภูมต่ํา และ
้
่
ิ
ไม่มแสงสว่าง ทําให้ปากใบไม่เปิ ด แต่รากมีการดูดนํ้ าตลอดเวลา นํ้ า ที่ถูกดันขึ้นมาจะ
ี
สินสุดทีปลายของท่อเทรคีด (Tracheid) ปลายเส้นใบ ซึงจะติดต่อกับเซลล์พาเรนไคมาที่
้
่
่
จัดเรียงตัวอย่างหลวม ๆ บางช่วงบางตอนมีรูทอาจต่อเนื่องไปถึงปลายใบที่มปากใบอยู่
่ี
ี
ด้ว ย ดัง นั น ในเวลากลางคืน ที่ป ากใบปิ ด ก็ย ัง มีรู เ ล็ก ๆ เปิ ด อยู่ เรีย กว่ า ไฮดรา-โทด
้
(Hydrathode) นํ้ าจะดันผ่านเซลล์พาเรนไคมามายังรูทปลายใบหรือขอบใบได้กลายเป็ น
่ี
หยดนํ้า

10.2 การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)
อาจกล่าวได้ว่าพลังของสิงมีชวต คือ แสงอาทิตย์ทงนี้เนื่องจากพลังงานทีสงมีชวต
่ ีิ
ั้
่ ิ่ ี ิ
ใช้ในการดํารงชีวตทังหมด ล้วนได้มาจากดวงอาทิตย์ทจบไว้โดยพืชและสาหร่ายผ่านทาง
ิ ้
่ี ั
กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง ทุกชีวตจึงดํารงอยู่ได้ดวยพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ ใน
้
ิ
้
แต่ละวันพลังงานจากแสงอาทิตย์ทสองลงมายังพืนโลก มีจานวนมหาศาล นักวิทยาศาสตร์
่ี ่
้
ํ
ประมาณไว้วามีถง 1 ล้านเท่าของอะตอมมิกบอมบ์ ทีนําไปทิงทีเกาะฮิโรชิมา แต่พชสีเขียว
่ ึ
่
้ ่
ื
และสาหร่า ยจับ พลังงานนี้ ไ ว้เพีย ง 1 เปอร์เ ซ็น ต์เ ท่า นัน ก็เ พีย งพอที่จ ะใช้ส ร้า งอาหาร
้
ั
แบ่งปนให้กบทุกชีวตบนโลกสามารถดํารงชีพอยูได้
ั
ิ
่

ภาพรวมของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงเกิดขึนทีใบของพืชเป็ นส่วนใหญ่ ทีเซลล์ใบของพืช
้
้ ่
่
มีออร์แกเนลล์ทเี่ รียกว่า คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็ นแหล่งสําคัญทีทาให้กระบวนการ
่ ํ
ดําเนินไปได้ตลอด ซึ่งไม่มโครงสร้า งใดในเซลล์พชที่จะทดแทนได้ นักวิทยาศาสตร์ได้
ี
ื
ทําการศึกษาค้นคว้าจนพบความจริงว่า กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงจะดําเนินไปใน 3
้
ขัน คือ 1) จับพลังงานจากแสงอาทิตย์ 2) ใช้พลังงานสร้างสารเก็บพลังงาน คือ ATP และ
้
NADPH และ 3) ใช้ ATP เป็ นพลังงานในการสร้างโมเลกุลของพืชจาก CO2 ในอากาศ
โดยมีการศึกษาปฏิกรยาการสังเคราะห์ดวยแสง ดังนี้
ิิ
้
CU 474

425
ในปี ค.ศ. 1932 Robin Hill ได้ทําการแยกคลอโรพลาสต์ออกจากเซลล์ผกโขม
ั
นํามาทดลองปฏิกรยาการแตกตัวของนํ้ าด้วยแสง โดยผ่านแสงไปในของผสมของเกลือเฟ
ิิ
อริกและคลอโรพลาสต์ แล้วพบว่า เกลือเฟอริกเปลียนเป็ นเกลือเฟอรัสกับ ออกซิเจน
่
4Fe3+ + 4H2O Light

Chloroplast

4Fe2+ + 4H+ + O2 + H2O

และพบว่าในปฏิกรยาที่ไม่มเกลือเฟอริกจะไม่เกิดออกซิเจน ในปฏิกิรยาที่เกลือเฟอริก
ิิ
ี
ิ
เปลี่ย นเป็ น เกลือ เฟอรัสได้ เนื่ อ งจากได้ร บ อิเ ลคตรอนจากนํ้ า ที่แ ตกตัว เมื่อ มีค ลอโรั
พลาสต์ แ ละแสง ส่ ว นออกซิเ จนที่เ กิด ขึ้น ในปฏิกิร ิย าแสดงว่ า มีเ กลือ เฟอริก เป็ น ตัว
ออกซิไดซ์ หรือตัวรับไฮโดรเจน (Hydrogen Acceptor)
สารทีทาหน้าทีเป็ นตัวรับไฮโดรเจนอาจมีหลายชนิด เช่น Ferric Cyanide และ
่ ํ
่
Methylene Blue เป็ นต้น แต่ในพืชมี Nicotinamide Adenosine Dinucleotide Phosphate
่ ่
่
(NADP+) ซึงอยูในรูปของออกซิแดนท์ เป็ นตัวรับไฮโดรเจน เมือรับไฮโดรเจนเข้ามาจะ
เปลียนรูปเป็ น รีดกแตนท์ (Reductant) คือ NADPH
่
ั
จากการทดลองนี้นกวิทยาศาสตร์จงเกิดแนวคิดว่าปฏิกรยาการสังเคราะห์ดวยแสง
ั
ึ
ิิ
้
น่ าจะมีขนตอนการปล่อยออกซิเจนและขันตอนที่เกี่ยวข้องกับคาร์บอนไดออกไซด์ ดังที่
ั้
้
Danial Arnon และคณะ (ค.ศ. 1651) ได้ทําการทดลองเพื่อติดตามขันตอนการ
้
+
เกิดปฏิกรยาโดยผ่านแสงลงไปในสารผสมของ ADP, Pi, NADP , H2O และ Chloroplast
ิิ
พบว่า สารเคมีทเี่ กิดขึน คือ ATP, NADPH และ O2 ดังสมการ
้
ADP + Pi + NADP+ + H2O

Light
ATP + NADPH + H+ + O2
Chloroplast

และพบว่าถ้าผ่านแสงลงไปในของผสมทีมเี ฉพาะ ADP, Pi และ H2O ก็จะได้ ATP เพียง
่
อย่างเดียว ซึ่งแสดงว่า การสร้าง ATP และ NADPH ย่อมขึนอยู่กบปจจัยทีให้กบ
้
ั ั
่ ั
คลอโรพลาสต์ในสภาพทีตองมีแสง
่ ้
ี
เมือหาการทดลองโดยให้ ATP, NADPH และ CO2 แก่คลอโรพลาสต์โดยไม่มแสง
่
ผลทีเกิดขึน คือ โมเลกุลนํ้าตาล ดังสมการ
่ ้
CO2 + ATP + NADPH
426

Chloroplast Sugar + ADP + Pi + NADP+
CU 474
แสดงว่าในขันตอนการสร้างโมเลกุลของพืช คือ นํ้าตาลของคลอโรพลาสต์ตองมี
้
้
ั
ํ
ปจจัย คือ CO2, ATP และ NADPH โดยไม่จาเป็ นต้องมีแสง
จากการทดลองอาจสรุปได้ว่า กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืชในขันตอนที่
้
้
มีการจับพลังงานจากแสงอาทิตย์นําไปใช้สร้างสารเก็บพลังงาน คือ ATP และ NADPH จะ
เกิดในสภาวะทีมแสง เป็ นปฏิกรยาทีตองใช้แสง (Light Dependent Reaction) ซึงเป็ น
่ ี
ิิ ่ ้
่
ขันตอนแรก ส่วนขันตอนที่ 2 เป็ นการนํ าพลังงานจากแสงในรูปของ ATP มาใช้เปลียน
้
้
่
CO2 ให้เป็ นโมเลกุลนํ้ าตาลจะเกิดในสภาวะที่ไม่ต้องมีแสงมาเกี่ยวข้องหรือมืด เป็ น
ปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง (Light - Independent or Dark Reaction)
ิิ ่ ้
โดยภาพรวมของกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง อาจสรุปได้จากสมการ ดังนี้
้
6CO2 + 12H2O + Light energy

Carbon Water
dioxide

C6H12O6 + 6H2O + 6O2

Glucose

Water Oxygen

คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) คือ ออร์แกเนลล์ของพืชทีเป็ นแหล่งเกิดกระบวนการ
่
สังเคราะห์ดวยแสงของพืช โครงสร้างประกอบด้วย เยื่อ 2 ชัน เยื่อชันนอกเรียบ เยื่อชันใน
้
้
้
้
ยื่นเข้าไปข้างใน มีลกษณะเป็ นถุงกลมแบนคล้ายเหรียญ เรียกว่า ไทลาคอยด์ (Thylakoid)
ั
ไทลาคอยด์จานวนมากมีการจัดเรียงตัวโดยวางซ้อนกันเป็ นตัง เรียกว่า กรานุ่ม (Granum)
ํ
้
แต่ละคลอโรพลาสต์ม ี 40-60 กรานุ่ ม แต่ละกรานุ่ มเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างที่เรียกว่า
สโตรมา ลาเมลลา (Stroma Lamella) ซึงจะพบเฉพาะในพืชชันสูง รอบ ๆ เยื่อไทลาคอยด์
่
้
เป็ นสารกึงเหลว (Semifluid) เรียกว่า สโตรมา (Stroma) ประกอบด้วย เอนไซม์ DNA
่
RNA และไรโบโซม ทําให้คลอโรพลาสต์สามารถสร้างโปรตีนของตัวเองได้ในบางกรณี
และสามารถแบ่งตัว (Division) ได้ ไทลาคอยด์เป็ นทีอยู่ของสารสีพวกคลอโรฟิลและสารสี
่
ประกอบอื่น ๆ โดยที่ผ ิว ของไทลาคอยด์ม ีก ารจัด กลุ่ ม สารสีช นิ ด เดีย วกัน เป็ น ร่ า งแห
เรียกว่า ระบบแสง (Photosystem)

CU 474

427
รูปที่ 10.2.1 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
(จาก George B. Johnson 1995 The Living World หน้า 92, 93)

สารสี (Pigment)
สารสี (Pigment) คือ โมเลกุลของสารทีสามารถดูดพลังงานแสงได้ มีหลายชนิด
่
แต่ละชนิดมีความสามารถดูดพลังงานแสงในช่วงคลื่นทีแตกต่างกัน แสงทีตาคนมองเห็น
่
่
กับแสงทีตาสัตว์มองเห็นอาจเป็ นแสงในช่วงคลื่นทีต่างกัน เนื่องจากตาของคนและสัตว์ม ี
่
่
สารสีทแตกต่างกันนันเอง แสงทีตาคนมองเห็น (Visible Light) คือ แสงทีมความยาวคลื่น
่ี
่
่
่ ี
ทีสารสีในตา คือ เรตินล (Retinal) สามารถดูดได้ ซึงอยู่ระหว่าง 380 นาโนเมตร (สีมวง)
่
ั
่
่
ถึ ง 750 นาโนเมตร (สีแ ดง) ในขณะที่ส ัต ว์ อ่ื น ๆ ใช้ ส ารสีใ นการมองเห็ น แถบสี
(Spectrum) ทีแตกต่างกัน เช่น ตาแมลงมีสารสีทดดแสงช่วงคลื่นสันกว่าเรตินลของคน ซึง
่
่ี ู
้
ั
่
เป็ นสาเหตุททาให้ผงสามารถมองเห็นแสง Ultraviolet (UV) ได้ในขณะทีตาของคนมองไม่
่ี ํ
้ึ
่
เห็น แต่แมลงก็ไม่สามารถมองเห็นแสงสีแดงเหมือนอย่างทีคนเห็น สารสีทสาคัญทีพชใช้
่
่ี ํ
่ ื
ดูดพลังงานแสง คือ คลอโรฟิ ล เป็ นสารสีทแม้ว่าจะดูดชนิดของโฟตอนได้น้อยกว่าเรตินัล
่ี
ของคน แต่กมประสิทธิภาพในการจับโฟตอนได้มากกว่า เนื่องจากโมเลกุลมีแมกเนเซียม
็ ี
เป็ นองค์ประกอบ ซึงใช้จบกับโฟตอน
่ ั
428

CU 474
สารสีทใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงในสิงมีชวตชนิดต่าง ๆ มีหลายชนิด
่ี
้
่ ีิ
ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 10.2.1 สารสีในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของสิงมีชวต
้
่ ีิ
ชนิดของสิงมีชวต
่ ีิ
ยูคาริโอต
มอสส์ เฟิรน
์
พืชดอก
สาหร่ายสีเขียว
สาหร่ายสีน้ําตาล
สาหร่ายสีแดง
โปรคาริโอต
สาหร่าย
สีเขียวแกมนํ้าเงิน
ซัลเฟอร์ เพอร์เพิล
แบคทีเรีย
กรีน แบคทีเรีย

คลอโรฟิล
a b c d

a

แบคเทอริโอคลอโรฟิล
คาโร
b c
d
e g ตินอยด์

ไฟโค
บิลน
ิ

+ + - -

+

-

+ + - + - + + - - +

+
+
+

+

+ - - +

+

+

+
+

-

- + หรือ + +
- + หรือ + หรือ + -

คลอโรฟิ ล (Chlorophyll)
คลอโรฟิ ล (Chlorophyll)
เป็ นสารสีท่ีมสเขียว เปลี่ยนแปลงมาจากโปรโตี ี
คลอโรฟิล (Protochlorophyll) เมือถูกแสง โมเลกุลมีโลหะแมกนีเซียม (Mg) ทีจบอยู่กบ
่
่ั
ั
ไนโตรเจน อยู่กลางโมเลกุ ลที่เป็ นวงแหวนคาร์บอน และมีส่วนหางที่เป็ นสารประกอบ
คาร์บอนกับไฮโดรเจน (Hydrocarbon Tail) คลอโรฟิ ลมี 4 ชนิด คือ คลอโรฟิ ล เอ บี ซี
และดี แต่ละชนิดมีโครงสร้างเคมีต่างกันทีกลุ่มด้านข้างเท่านัน และสามารถดูดแสงในช่วง
่
้
ั
คลื่นทีต่างกัน โมเลกุลของคลอโรฟิ ลจะฝงตัวอยู่บนโมเลกุลโปรตีนทีเป็ นองค์ประกอบของ
่
่
เยือไทลาคอยด์
่

CU 474

429
รูปที่ 10.2.2 โครงสร้างโมลกุลของคลอโรฟิล เอ และ บี (ก) และแบบจําลองตําแหน่งของคลอโรฟิลบนโปรตีน
ทีเยือไทลาคอยด์ (ข) (จาก Purves et al. , 2003. Life : The Science of Biology, 7th Edition ในโครงการ
่ ่
ตําราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. 2551, ชีววิทยา 2 หน้า 64)

แคโรทีนอยด์ (Carotenoid)
แคโรทีนอยด์ เป็ นสารสีทมสสมแดง ไม่ละลายนํ้า มี 2 ชนิด คือ แคโรทีน (Carotene)
่ี ี ี ้
มีสสม และแซนโทฟิล (Xanthophyll) มีสเี หลือง ซึงมักอยู่รวมกันกับคลอโรฟิลในคลอโรพ
ี้
่
่
ลาสต์ แต่พชบางชนิดมีแคโรที นอยด์อยู่ในโครโมพลาสต์ (Chromoplast) เช่น แครอท
ื
มะเขือเทศ และผลไม้ทมสเี หลือง เป็ นต้น แคโรทีนอยด์เป็ นสารสีประกอบ มีหน้าทีช่วยดูด
่ี ี
่
พลังงานแสงช่วงคลื่น 400-500 นาโนเมตร ส่งให้คลอโรฟิ ลเอ ซึ่งเป็ นช่วงคลื่นที่แคโรที
นอยด์ดูดได้ดทสุดในขณะทีคลอโรฟิ ล เอ ดูดได้น้อย นอกจากนี้ยงช่วยป้องกันไม่ให้คลอ
ี ่ี
่
ั
โรฟิลถูกทําลายจากแสงในปฏิกรยาโฟโตออกซิเดชัน (Photo Oxidation) อีกด้วย
ิิ
ไฟโคบิ ลิน (Phycobilin)
ไฟโคบิลน เป็ นสารสีทพบเฉพาะในสาหร่ายสีแดงและสาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน มี
ิ
่ี
2 ชนิด คือ ไฟโคอีรทน (Phycoerythin) มีสารสีแดง ดูดแสงช่วงคลื่น 495-565 นาโนเมตร ซึง
ี ิ
่
เป็ นสีเขียว พบในสาหร่ายสีแดง อีกชนิดหนึ่ง คือ ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) เป็ นสาร
430

CU 474
สีน้ําเงิน ดูดแสงช่วงคลืน 550-615 นาโนเมตร พบในสาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ไฟโคบิลน
่
ิ
เป็ นสารสีประกอบโดยทําหน้าทีดดพลังงานแสงส่งให้กบคลอโรฟิล เอ
่ ู
ั
แบคทีริโอคลอโรฟิ ล (Bacteriochlorophyll)
แบคทีรโอคลอโรฟิ ล เป็ นสารสีทพบในแบคทีเรียทีสงเคราะห์ดวยแสงได้เป็ นสารสี
ิ
่ี
่ ั
้
ทีดูดพลังงานแสงได้ดในช่วงคลื่น 358 ซึงเป็ น Ultraviolet และ 772 นาโนเมตร ซึงเป็ น
่
ี
่
่
Infrared นอกจากนี้แบคทีเรียพวก Green-Sulfur Bacteria เช่น คลอโรเบียม (Chlorobium)
สามารถดูดพลังงานแสงได้ดทชวงคลืน 650 นาโนเมตร และ 660 นาโนเมตร
ี ่ี ่ ่

รูปที่ 10.2.3 การดูดแสงของโมเลกุลสารสีชนิดต่าง ๆ ทีความยาวคลื่นต่าง ๆ
่
th
(จาก Purves et al. , 2003. Life : The Science of Biology, 7 Edition ในโครงการตําราวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. 2551, ชีววิทยา 2 หน้า 65)

การจับพลังงานจากแสงอาทิ ตย์
แสงมีคุณสมบัตเิ ป็ นทังคลืนและอนุภาค พลังงานแสงอยู่ในรูปของอนุ ภาคทีเรียกว่า
้ ่
่
โฟตอน (Photon) แต่ละโฟตอนมีพลังงานทีเรียกว่า ควอนตัม (Quantum) ซึงแปรผกผัน
่
่
กับความยาวคลื่นแสง คือ เมื่อแสงมีความยาวคลื่นสันจะมีระดับพลังงานสูง พลังงานแสง
้
คํานวณได้จากสมการ E = hv (Quantum) เมือ h เป็ นค่าคงที่ (Planck’s Constant ; h =
่
-34
6.626 x 10 Js)
แสงอาทิต ย์ บ างช่ ว งคลื่น มีโ ฟตอนมาก ทํ า ให้ ม ีร ะดับ พลัง งานสู ง มาก เช่ น
รังสีเอกซ (x-rays) และแสงอัลตราไวโอเลต (UV) บางช่วงคลื่นทีมโฟตอนน้อยจะมีระดับ
่ ี
CU 474

431
พลังงานตํ่า เช่น คลื่นวิทยุมโฟตอนน้อยมาก โดยทัวไปแสงทีมพลังงานสูงจะมีความยาว
ี
่
่ ี
คลื่นแสงสันกว่าแสงทีมพลังงานตํ่า ตาของคนสามารถรับแสงทีมโฟตอนอยู่ในระดับปาน
้
่ ี
่ ี
กลาง เรียกว่า แสงทีมองเห็น (Visible Light) เนื่องจากตาของคนสามารถดูดโฟตอนของ
่
แสงชนิดนัน ๆ ได้ ในพืชแม้จะดูดโฟตอนของแสงได้มากชนิดกว่าตาของคน แต่ชวงคลื่นที่
้
่
พืชดูดเป็ นหลัก คือ สีน้ํ าเงินและสีแดง และสะท้อนกลับสีเขียว การทีตาของเราเห็นใบไม้
่
เป็ นสีเขียว เป็ นเพราะใบของพืชจะดูดคลื่นแสงทังหมด ยกเว้นคลื่นแสง 500-600 นาโน
้
เมตร ซึ่งเป็ นสีเขียวจะสะท้อนกลับ และสารสีท่ตาจะดูดเอาไว้ ทําให้สมองรับรู้ว่าเป็ นสี
ี
เขียว

รูปที่ 10.2.4 สารสีของตาดูดแสงสีเขียวทีสะท้อนกลับจากใบพืช
่
(จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 94)

แสงทีตามองเห็นเป็ นสัดส่วนทีน้อยมากของโฟตอนในแสงอาทิตย์ เรียกช่วง โฟตอน
่
่
ของแสงทีเห็นว่า Electromagnetic Spectrum แสงทีมความยาวคลื่นสันทีสด และโฟตอน
่
่ ี
้ ุ่
มีพลังงานสูงทีสด คือ รังสีแกมมา (Gamma-rays) มีชวงคลื่นน้อยกว่า 1 นาโนเมตร และ
ุ่
่
คลืนแสงทีมพลังงานตํ่าทีสดมีความยาวคลืนเป็ นพันเมตรได้แก่ คลืนวิทยุ
่
่ ี
ุ่
่
่

432

CU 474
รูปที่ 10.2.5 โฟตอนของพลังงานทีแตกต่างกัน : Electromagnetic Spectrum
่
(จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 94)

การจับพลังงานแสงของสารสีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเลคตรอน
ในโมเลกุลของสารสี เมือได้รบพลังงานแสง อิเลคตรอนทีเคลื่อนทีในวงโคจรรอบนิวเคลียส
่ ั
่
่
ของอะตอม เป็ นสิงบ่งบอกถึงระดับพลังงานในโมเลกุลของสาร กล่าวคือ ในสภาวะปกติ
่
(Ground State) อิเลคตรอนจะรักษาระยะห่างระหว่างนิวเคลียสกับอิเลคตรอนให้คงที่ ซึง
่
จะมีค่าพลังงานน้อย เมื่อโมเลกุลของสารสีได้รบแสงสว่างโฟตอนจะพุ่งชนอิเลคตรอนพร้อม
ั
กับถ่ายทอดพลังงานให้ ทําให้อเลคตรอนเคลื่อนทีเร็วขึนและห่างออกจากวงโคจร โมเลกุล
ิ
่ ้
ของสารสีอยู่ในภาวะตื่นตัว (Excited State) กลายเป็ นสารสีทถูกกระตุ้น (Activate
่ี
Pigment) และทํางานได้โดยมีพลังงานเพิมขึน
่ ้
Pigment Molecule (P) + Quantum (hv)

Activate Pigment (P+)

สารสีท่ีอ ยู่ใ นสภาวะตื่น ตัว นี้ ไ ม่อ ยู่ต ว จะกลับ เข้า สู่ส ภาวะปกติโ ดยอิเ ลคตรอน
ั
ปลดปล่อยพลังงานทีดดไว้ออก เพือเคลือนทีกลับเข้าสูวงโคจรเดิม ซึงมีระดับพลังงานปกติ
่ ู
่ ่ ่
่
่
สารสีสามารถปลดปล่อยพลังงานทีได้รบมาจากแสงโดยการเรืองแสง (Fluorescence) เช่น
่ ั
คลอโรฟิ ล เอ ดูดแสงทีความยาวคลื่น 660 มิลลิไมโครเมตร จะเปล่งแสงในช่วงความยาว
่
คลื่นมากกว่า 700 มิลลิไมโครเมตร ซึ่งเป็ นช่วงคลื่นสีแดง ทังนี้เนื่องจากแสงที่ดูด ไว้ม ี
้
พลังงานสูงกว่าแสงที่เปล่งออกมา พลังงานบางส่วนสูญเสียไปในรูปของความร้อน แสง
และกระบวนการทางเคมี นอกจากนี้อิเลคตรอนที่อยู่ในภาวะตื่นตัว อาจหลุดออกจาก
CU 474

433
โมเลกุลของสารสี ก่อนจะเข้าสูวงโคจรเดิม โดยมีสารประกอบหลายชนิดเป็ นตัวรับอิเลคตรอนที่
่
จะถ่ายทอดกันไปเป็ นทอด ๆ เรียกว่า ตัวรับอิเลคตรอน (Electron Acceptor) ซึงเป็ นสาร
่
พวก Coenzyme ได้แก่ Ferridoxin NADP และ Cytochrome
สารสีส่วนใหญ่ทําหน้าที่รบพลังงานแสงและส่งต่อให้โมเลกุลอื่นถ่ายทอดกันเป็ น
ั
ทอด ๆ ไปจนถึงโมเลกุลทีเป็ นศูนย์กลางการรับแสง (Reaction Center) ดังนัน สารสีสวน
่
้
่
ใหญ่จงเปรียบเสมือนกับตัวรับสัญญาณ (Antenna) ของวิทยุโทรทัศน์ทสงภาพและเสียงไป
ึ
่ี ่
ทีเครืองรับ
่ ่

รูปที่ 10.2.6 การรับและถ่ายทอดพลังงานของสารสีไปยังศูนย์กลางปฏิกรยาเคมี
ิิ
th
(จาก Purves et al. , 2003. Life : The Science of Biology, 7 Edition ในโครงการตําราวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. 2551, ชีววิทยา 2 หน้า 67)

สารสีในคลอโรพลาสต์ จะรวมกันเป็ นหน่วยสังเคราะห์แสง (Photosynthetic Unit
หรือ Quantasome) ย่อย ๆ บนไทลาคอยด์ของกรานุ่มแต่ละหน่วยประกอบด้วยคลอโรฟิล
400-600 โมเลกุล มีศูนย์กลางการรับแสง (Reaction Center) 2 ระบบ คือ ระบบแสง I
(Photosystem I, PS I) และระบบแสง II (Photosystem II, PS II)
PS I มีสารสีระบบ I (Pigment System I) เป็ นตัวรับแสง ประกอบด้วย คลอโรฟิล
เอ ชนิดที่ดูดพลังงานแสงความยาวคลื่น 683 นาโนเมตร กับ คลอโรฟิ ล เอพิเศษ ที่ดูด
พลังงานแสงความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร เรียกสารสีระบบ I ว่า P 700 ซึงหมายถึง
่
โมเลกุลคลอโรฟิลทีทาหน้าทีเป็ นศูนย์กลางการรับแสงของระบบแสง I
่ ํ
่
PS II มีสารสีระบบ II (Pigment System II) เป็ นตัวรับแสง ประกอบด้วย คลอโรฟิล เอ
ชนิดทีดูดพลังงานแสงความยาวคลื่น 673 นาโนเมตร กับคลอโรฟิ ล บี เป็ นส่วนใหญ่ และ
่
สารสีอ่น ๆ เช่น แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลน เรียกสารสีระบบ II ว่า P 680 ซึงหมายถึง
ื
ิ
่
434
CU 474
โมเลกุลคลอโรฟิลทีทาหน้าทีเป็ นศูนย์กลางการรับแสง ของระบบแสง II (P เป็ นอักษรย่อ
่ ํ
่
ของ Pigment และใช้ค่าความยาวคลื่นแสงทีดดพลังงานแสงได้มากทีสด เป็ นค่าของระบบ
่ ู
ุ่
สารสี)
PS II ดูดพลังงานแสงคลื่นสันกว่า PS I ในแต่ละระบบแสงมีคลอโรฟิล ประมาณ
้
200-300 โมเลกุล

ปฏิกิริยาเคมีในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง มีปฏิกรยาเคมีแบ่งเป็ น 2 ตอนทีเกิดขึนอย่างต่อเนื่อง
้
ิิ
่ ้
คือ ปฏิกรยาทีตองใช้แสง และปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง ดังนี้
ิิ ่ ้
ิิ ่ ้
ปฏิ กิริยาที่ต้องใช้แสง (Light Dependent Reaction)
ปฏิกรยาทีตองใช้แสง เป็ นกระบวนการทีพชตรึง (Fixation) พลังงาน เพือเปลียนเป็ น
ิิ ่ ้
่ ื
่ ่
พลังงานเคมีเก็บอยู่ในสารประกอบ ATP และ NADPH สําหรับใช้ในกระบวนการตรึง CO2
ในปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง ATP เป็ นสารทีมพนธะเคมีพลังงานสูง (High Energy Bond)
ิิ ่ ้
่ ี ั
ทีเซลล์ใช้ในกิจกรรมสําคัญ 4 อย่าง ได้แก่ ในปฏิกรยาเคมีตามทีเซลล์ตองการ การขนส่ง
่
ิิ
่
้
สารข้ามเยื่อเซลล์หรือออร์แกเนลล์ และการเคลื่อนที่ขององค์ประกอบภายในเซลล์ ส่วน
ิิ ่ ้
NADPH เป็ นสารทีพชใช้ในการตรึงและรีดวส์ CO2 ในปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง
่ ื
ิ
ปฏิกรยาทีตองใช้แสง ประกอบด้วย 2 ปฏิกรยา คือ Photolysis หรือ Hill Reaction
ิิ ่ ้
ิิ
เป็ นปฏิกรยาทีพลังงานแสงทําให้น้ําแตกตัว และมีการเคลื่อนย้ายอิเลคตรอนจากโมเลกุล
ิิ ่
่
ิิ
ของนํ้าไปรีดวส์ NADP+ เพือสร้าง NADPH อีกปฏิกรยา คือ Photophosphorylation เป็ น
ิ
ปฏิกรยาทีพชนําพลังงานแสงไปใช้สร้าง ATP โดยการเพิมหมูฟอสเฟต (Pi) ให้กบ ADP
ิิ ่ ื
่ ่
ั
กระบวนการตรึงพลังงานแสงบนเยื่อไทลาคอยด์ต้อ งอาศัยสารที่ป ระกอบด้ว ย
โปรตีน 4 กลุ่ม ได้แก่ ระบบแสง I ระบบแสง II ATP Synthase ซึงเป็ นเอนไซม์ ในปฏิกรยาการ
่
ิิ
สร้าง ATP และสารทีทาหน้าทีเป็ นตัวรับและถ่ายทอดอิเลคตรอน ได้แก่ Cytochrome b6
่ ํ
่
Cytochrom f และ Plastocyanin
การถ่ายทอดอิเลคตรอนในปฏิกรยาทีตองใช้แสง เกิดได้ 2 แบบ ได้แก่
ิิ ่ ้
1. การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักร (Cyclic Electron Transfer) เป็ นการ
ถ่ายทอดอิเลคตรอนในระบบแสง I เพียงระบบเดียว เมือ P 700 ถูกกระตุนด้วยพลังงาน
่
้
แสง 2 โฟตอน (hv) 2 อิเลคตรอนของสารสีจะอยู่ในภาวะตื่นตัว ทําให้ค่าศักย์ไฟฟ้าเปลียน
่
CU 474

435
จาก +0.4 ev ไปเป็ น -0.6 ev ซึงเป็ นค่าทีใกล้เคียงกับสารรับอิเลคตรอนชนิดแรกทีไม่
่
่
่
ทราบแน่ ชดว่าเป็ นสารอะไร (x) คลอโรฟิ ลจึงถ่ายทอดอิเลคตรอนให้สาร x ซึงจะมีสาร
ั
่
ตัวรับและถ่ายทอดกันเป็ นทอด ๆ คือ Feridoxin Cytochrome-b6 Cytochrome-f และ
Plastocyanin แล้วกลับไปที่ P 700 การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักรพลังงานที่
ปลดปล่อยจากอิเลคตรอนนํ าไปสร้าง ATP ได้ 1 โมเลกุล และไม่มการสร้าง NADPH
ี
้
เนื่องจากไม่มการแตกตัวของนํ้าจึงไม่ม ี O2 เกิดขึนด้วย
ี
การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักรเกิดจาก ระบบแสง II ไม่ทํางาน หรือขาด
ประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเกิดจากการถูกยับยังด้วยสารเคมี หรือได้รบแสงช่วงคลื่นมากกว่า
้
ั
690 นาโนเมตร การยับยังระบบแสง II ส่งผลให้ประสิทธิภาพการสังเคราะห์ดวยแสงลดลง
้
้
+
ิิ ่
่ี
ิ
ด้วย NADP จากปฏิกรยาทีไม่ใช้แสงลดลงไปด้วย จึงเป็ นสาเหตุททําให้อเลคตรอนบาง
ส่วนจากระบบแสง I กลับมาที่ Cytochrome f และ ระบบแสง I ตามลําดับ

รูปที่ 10.2.7 การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักร
(จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 96)

2. การถ่ายทอดอิเลคตรอนไม่เป็ นวัฎจักร (Non Cyclic Electron Transfer) เป็ น
การถ่ายทอดอิเลคตรอนผ่านทัง PS-I และ PS-II และมีการแตกตัวของนํ้าในปฏิกรยา
้
ิิ
Phololysis โดยเริมจากสารสีใน PS-I และ PS-II ได้รบการกระตุนจากพลังงานแสง 2
่
ั
้
โฟตอนพร้อมกัน P 700 ใน PS-I จะถ่ายทอดอิเลคตรอนให้สาร x (Ferridoxin Reducing
Substant) และถ่ายทอดให้กบ Ferridoxin และ NADP+ ทํา P 700 ขาดอิเลคตรอนไป
ั
การทีจะคงสภาพเป็ นโมเลกุลทีให้อเลคตรอนของ P 700 ไว้ จึงต้องรับอิเลคตรอนจากสาร
่
่ ิ
อื่นทีมค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าทีต่ํากว่า สารดังกล่าวนี้คอ Plastocyanin (Pc) ขณะเดียวกัน
่ ี
่
ื
436

CU 474
Pc ก็จะรับอิเลคตรอนจาก PS-II มาทดแทนโดย P 680 ทีได้รบการกระตุนจากพลังงาน
่ ั
้
แสง 2 โฟตอน ถ่ายทอด 2 อิเลคตรอนให้กบสาร Q (Plastoquinone Reducing Substant)
ั
และส่งต่อให้กบตัวรับอื่นตามลําดับ คือ Plastoquinone (Pq) Cytochrome b559
ั
Cytochrome-f และ Plastocyanin (Pc)
PS-II เมื่อสูญเสียอิเลคตรอนไปแล้วจะคงสภาพของโมเลกุล ผูให้อเลคตรอนโดย
้ ิ
รับอิเลคตรอนจากการแตกตัวของนํ้าใน PS-II ในปฏิกรยา Photolysis ทีม ี Mn2- และ Clิิ
่
เป็ นตัวกระตุนโดยตรงและมีแสงเป็ นตัวช่วยกระตุนทางอ้อม ดังสมการ
้
้
H2O

Light 2H+ + 2e + ½ O
2
Mn2- , Cl-

2H+ จะส่งผ่านไปยัง Pq และเข้ารวมกับ NADP+ พร้อมกับรับอิเลคตรอนมาจาก
PS-I ได้เป็ น NADPH + H+ ดังสมการ
NADP+ + 2H+ + 2e-

NADPH + H+

2 อิเลคตรอน จะไปทดแทนอิเลคตรอนใน PS-I โดยถ่ายทอดไปทาง PS-II ซึงมีการ
่
ปลดปล่อยพลังงานทีนําไปสร้าง ATP ได้ 2 โมเลกุล
่

รูปที่ 10.2.8 การถ่ายทอดอิเลคตรอนไม่เป็ นวัฎจักรในการสร้าง ATP (ก)
และการถ่ายทอดอิเลคตรอนผ่านสารทีมโปรตีนเป็ นองค์ประกอบในการสร้าง ATP (ข)
่ ี
(จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 96, 97)

CU 474

437
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10
Biology Chapter10

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรWichai Likitponrak
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 

Similar a Biology Chapter10

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์Jinwara Sriwichai
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 

Similar a Biology Chapter10 (20)

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 

Más de Garsiet Creus

โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...Garsiet Creus
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ Garsiet Creus
 
ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อแนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อGarsiet Creus
 
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ  แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. Garsiet Creus
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.Garsiet Creus
 
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) interB.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) interGarsiet Creus
 
ช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบGarsiet Creus
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์Garsiet Creus
 

Más de Garsiet Creus (20)

โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
 
ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
 
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อแนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
 
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
 
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ  แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
 
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) interB.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
 
TEST Aptitude2
TEST Aptitude2TEST Aptitude2
TEST Aptitude2
 
TEST Aptitude
TEST AptitudeTEST Aptitude
TEST Aptitude
 
ช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
Wave
WaveWave
Wave
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 

Biology Chapter10

  • 1. บทที่ 10 การดํารงชีวิตของพืช Maintenance of Plant Life วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เมือศึกษาบทเรียนนี้แล้วนักศึกษาสามารถ ่ 1. อธิบายกลไกการลําเลียงนํ้า แร่ธาตุ และสารอาหารของพืช 2. อธิบายกลไกการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช ้ 3. บอกโครงสร้างของดอกและชนิดของดอก 4. อธิบายกระบวนการสร้างเซลล์สบพันธุของพืช ื ์ 5. อธิบายการถ่ายละอองเรณูและการผสมพันธุของพืช ์ 6. บอกส่วนประกอบและชนิดของผล 7. อธิบายการงอกและการเจริญเติบโตของพืช 8. อธิบายกลไกการตอบสนองของพืช 9. อธิบายการทํางานของสารเคมีต่อการตอบสนองของพืช การดํารงชีวตของพืชมีก ระบวนการต่า ง ๆ ได้แ ก่ การลํา เลีย งสาร พืช ลํา เลีย ง ิ สารอนินทรียพวกนํ้าและแร่ธาตุจากดินโดยระบบท่อนํ้า (Xylem) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ์ เข้า ทางปากใบ สารอนิ น ทรีย์เ หล่ า นี้ พ ืช นํ า ไปใช้ใ นกระบวนการสัง เคราะห์ ด้ว ยแสง (Photosysthesis) โดยการรวมกันทางเคมีของคาร์บอนไดออกไซด์และนํ้ามีพลังงานแสง เป็ นตัวช่วย ได้เป็ นคาร์โบไฮเดรต และผลพลอยได้ คือ ออกซิเจนและนํ้า สารอาหารทีพช ่ ื สร้างได้จะลําเลียงไปทางท่ออาหาร (Phloem) ไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช กระบวนการเมแทบอลิซม พืชมีการสลายโมเลกุลของสารอาหารคาร์โบไฮเดรต ึ โดยการสันดาปด้วยออกซิเจน เพื่อนํ าพลังงานไปใช้ในกิจกรรมดําเนินชีวตเช่นเดียวกับ ิ สัต ว์ กระบวนการขับ ถ่ า ยของเสีย พืช มีก ารขับ ถ่ า ยของเสีย ในรูป แก๊ ส และไอนํ้ า เข้า สู่ บรรยากาศทางปากใบเป็ นส่วนใหญ่ พืชสามารถเคลื่อนไหวเพือตอบสนองต่อสิงเร้าได้ ทัง ่ ่ ้ สิงเร้าภายนอก เช่น แสงสว่าง และสิงเร้าภายใน คือ ฮอร์โมน พืชมีกระบวนการสืบพันธุ์ ่ ่ CU 474 413
  • 2. ทังอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ กระบวนการเจริญเติบโตอาศัย เนื้อเยื่อเจริญทํา หน้ า ที่ ้ แบ่งตัวเพิมจํานวน และเปลียนแปลงไปเป็ นเนื้อเยือถาวร เพือเพิมขนาดของลําต้น ่ ่ ่ ่ ่ 10.1 การลําเลียงในพืช การลําเลียงนํ้าของพืช (Water Conduction) บริเวณทีมการดูดนํ้ามากทีสด คือ บริเวณขนราก (Root Hair Zone) ซึงมีเซลล์ ่ ี ุ่ ่ ขนรากทําหน้าทีสําคัญ ในดินนํ้ าจะเคลื่อนทีมาที่ผวรากโดยกระบวนการ Mass Flow ่ ่ ิ ซึงเป็ นการเคลื่อนทีของนํ้ าทีถูกผลักดันไปโดยความแตกต่างของความดันนํ้ าสองบริเวณ ่ ่ ่ คือ นํ้าบริเวณใกล้รากจะแพร่เข้าสูเซลล์ของรากตลอดเวลา ทําให้ปริมาณนํ้าบริเวณนี้ลดลง ่ ความดันของนํ้ าจึงลดลงตํ่ากว่าความดันของนํ้ าทีอยู่ห่างจากราก นํ้ าบริเวณนี้จงไหลมาที่ ่ ึ ผิวรากได้ โดยผ่านมาตามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินทีตดต่อกัน ่ ิ นํ้ าในดินทีสมผัสกับผิวรากจะเข้าสู่ท่อนํ้ าในรากโดยผ่านเซลล์ชนต่าง ๆ คือ เอพิเดอร์ ่ ั ั้ มิส คอร์เทกซ์ เอนโดเดอร์มส และท่อนํ้า ด้วย 2 วิถทาง ิ ี 1. วิถอะโปพลาสต์ (Apoplast Pathway) นํ้าจะเคลื่อนทีจากเซลล์หนึ่งไปยังอีก ี ่ เซลล์ โดยทาง Membrane หรือทางช่องว่างระหว่างเซลล์ ซึงนํ้าจะต้องเคลื่อนทีขามผ่าน ่ ่ ้ Membrane ในแต่ละเซลล์ 2 ครัง และขณะที่น้ํ าอยู่ในเซลล์น้ํ าอาจจะเข้าและออกจาก ้ แวคิวโอลได้ดวย ้ 2. วิถซมพลาสต์ (Symplast Pathway) นํ้าเคลื่อนทีจากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์ทอยู่ ี ิ ่ ่ี ข้างเดียว โดยผ่านทางรูผนังเซลล์ (Plastmodesma) ช่องทางนี้เป็ นทางติดต่อของไซโต พลาสซึม ดังนัน นํ้าจึงเคลื่อนทีผานไซโตพลาสซึมจากเซลล์หนึ่งยังอีกเซลล์ วิถซมพลาสต์ ้ ่ ่ ี ิ นํ้าสามารถผ่านเซลล์เอพิเดอร์มสเข้าสูคอร์เทกซ์ เอนโดเดอร์มส และไซเลมได้ ิ ่ ิ การลําเลียงนํ้ าโดยวิถีอะโปพลาสต์ จะมาสิ้นสุดที่เซลล์เอนโดเดอร์มสเนื่องจาก ิ เซลล์ชนนี้มแถบไขมันพวกซูเบอริน (Suberin) เคลือบผนังเซลล์ทเรียกว่า แถบแคสปาั้ ี ่ี เรียน (Casparian Stripe) ซึงไขมันไม่ละลายในนํ้า ทําให้น้ําผ่าน Membrane ไม่ได้ ดังนัน ่ ้ นํ้ า ที่ลํา เลีย งมาโดยวิถีอ ะโปพลาสต์จ ะเข้า สู่เ อนโดเดอร์ม ิส ได้ด้ว ยวิถีซิม พลาสต์ หรือ ช่องว่างของแถบแคสปาเรียนทีอาจเกิดขึนระหว่างการเกิดรากแขนง ่ ้ อย่างไรก็ตาม พบว่า สารซูเบอรินจะมีแต่เฉพาะในเอนโดเดอร์มสของรากทีมอายุ ิ ่ ี มาก ซึงหยุดการเจริญเติบโตแล้ว และเป็ นบริเวณทีห่างจากปลายราก ซึงมีการดูดนํ้าน้อย ่ ่ ่ 414 CU 474
  • 3. ส่วนปลายรากที่อายุยงน้อยไม่พบซูเบอริน ดังนัน นํ้ าจึงเคลื่อนทีผ่านเซลล์บริเวณปลาย ั ้ ่ รากในปริมาณทีมาก ่ รูปที่ 10.1.1 วิถทางการลําเลียงนํ้าทางรากพืชสองเส้นทาง คือ อะโปพลาสต์และซิมพลาสต์ ี (จาก George B. Johnson, 1997) กระบวนการดูดนํ้าของพืช พืชดูดนํ้าเข้าสูเซลล์ดวย 2 วิธี ได้แก่ ่ ้ 1. กระบวนการออสโมซิส (Osmosis) เป็ นวิธทพชดูดนํ้าได้เป็ นส่วนใหญ่โดยเริม ี ่ี ื ่ จากเซลล์ขนราก ซึงมีสารละลายอยู่มากในไซโตพลาสซึมจึงมีแรงดันออสโมซิส (Osmotic ่ Pressure) สูงกว่านํ้าในดิน นํ้าจากดินจึงแพร่เข้าสูเซลล์ได้ เมือนํ้าเข้าสูเซลล์ ขนรากจะทํา ่ ่ ่ ให้ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์น้อยกว่าเซลล์ทอยู่ถดเข้าไป นํ้าจากเซลล์ขนรากจึง ่ี ั แพร่เข้าสูเซลล์ใกล้เคียงได้ และในทํานองเดียวกันนี้น้ําจะสามารถแพร่ต่อไปยังเซลล์ถดไป ่ ั ได้เรือย ๆ ่ 2. กระบวนการแอกทีฟ แอพซอพชัน (Active Absorption) เป็ นกระบวนการดูดนํ้า ที่พชใช้พลังงานซึ่งได้จากขบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์ดงนํ้ าจากบริเวณที่มความ ื ึ ี เข้มข้นน้อยกว่านํ้าในเซลล์เข้าสูเซลล์ได้ ซึงมักเกิดในบริเวณทีแห้งแล้ง นํ้าในดินมีน้อย ่ ่ ่ กลไกการลําเลียงนํ้าของพืช การลําเลียงนํ้ าของพืชจากส่วนล่าง คือ ราก ขึ้นสู่ท่ีสูงคือ ลํา ต้นและใบของพืช ั ั ่ ปจจุบนเชือว่าพืชมีกลไกการลําเลียงหลายวิธรวมกัน ได้แก่ ี่ 1. แรงดันราก (Root Pressure) คือ แรงดันให้น้ําเคลื่อนทีต่อเนื่องกันจากรากเข้าสู่ ่ ไซเลมจนถึงปลายยอดของพืช แรงดันนี้เป็ นกระบวนการ Active Absorption แรงดันรากมี เพียง 2-5 บรรยากาศเท่านัน และเกิดเฉพาะกับพืชบางชนิดในสภาพพื้นดินที่มค วาม ้ ี CU 474 415
  • 4. ชุ่มชื้นมาก ดังนันแรงดันรากเพียงอย่างเดียวจึงไม่น่าจะเพียงพอที่จะดันให้น้ํ าขึนไปถึง ้ ้ ยอดทีมความสูงมาก ๆ ได้ ต้องมีแรงดันอย่างอื่นมาช่วยดันให้น้ําขึนไปด้วย ่ ี ้ 2. คะพิลลารี แอคชัน (Capillary Action) คือ การเคลื่อนทีของนํ้าในหลอดขนาด ่ เล็ก (Capillary Tube) ทีถูกดันให้ขนไปสูงกว่าระดับนํ้าในบริเวณเดียวกัน ซึงเกิดจากแรง ่ ้ึ ่ ตึงผิวของโมเลกุลของนํ้ากับผนังด้านข้างของหลอดทีมแรงยึดเกาะกัน เรียกว่า Adhesion ่ ี คะพิลลารี แอคชัน ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของนํ้ าในท่อเวสเซลที่ไหลต่อกันอย่างไม่ขาด สาย เป็ นเพราะโมเลกุลของนํ้ามีแรงดึงดูดซึงกันและกัน คือ แรงโคฮีชน (Cohesion) และมี ่ ั แรง Adhesion ยึดเกาะกับผิวของท่อเวสเซล นํ้าจะลําเลียงขึนไปได้สงมาก ๆ ท่อจะต้องมี ้ ู ขนาดเล็กมาก แต่ท่อนํ้ าของพืชยังมีขนาดเล็กไม่พอทีจะทําให้เกิดคะพิลลารี แอคชัน นํ า ่ นํ้าไปถึงยอดพืชทีสงมาก ๆ ได้ ู่ 3. ทรานสไปเรชัน พูล (Transpiration Pull) คือ แรงทีเกิดจากการคายนํ้าของพืช ่ ซึงเป็ นวิธลาเลียงนํ้าได้ดของพืชทุกชนิด ทุกขนาด ใบของพืชมีการคายนํ้าตลอดเวลาทําให้ ่ ีํ ี เซลล์ของใบขาดนํ้าจึงเกิดแรงดึงนํานํ้าจากข้างล่างขึนมาทดแทนได้อย่างต่อเนื่อง ้ การคายนํ้าทีใบทําให้เซลล์ทใบขาดนํ้า จึงมีแรงดันออสโมซิสสูงขึน ส่วนแรงดันเต่ง ่ ่ี ้ (Turgor Pressure) จะลดลงเรือย ๆ จนมีค่าเป็ นศูนย์ ใบจะเริมเหียว แต่ยงคายนํ้าได้อก ่ ่ ่ ั ี ถ้าสิงแวดล้อมอํานวยทําให้ค่า Turgor Pressure เป็ นลบ ใบจะเหียวจนเห็นได้ชดเจน ่ ่ ั ขณะเดียวกัน Osmotic Pressure จะยิงเพิมมากขึน จึงมีแรงดัน (Tension) ดึงนํ้าจาก ่ ่ ้ ข้างล่างขึนมาด้านบน เซลล์ดานล่างจะขาดนํ้ าจึงเหียว ทําให้ดูดนํ้าจากเซลล์ล่างถัดไปได้ ้ ้ ่ อีกต่อเนื่องกันไป แสดงว่าการคายนํ้ ามากทําให้มแรงดึงมากขึน นํ้ าจึงขึนสู่ทสงได้ พบว่า ี ้ ้ ่ี ู แรงดึงทีเกิดจากการคายนํ้าของพืชมีมากถึง 200-300 บรรยากาศ ่ การดึงนํ้ าขึนสู่ทสูงย่อมต้องใช้แรงมาก เนื่องจากมีการเสียดทานของเซลล์ต่าง ๆ ้ ่ี แต่พบว่า สายนํ้าไม่ขาดตอนเลย แสดงว่าโมเลกุลของนํ้ามีแรงดึงดูดกัน (Cohesion) มาก ซึงพบว่า มีประมาณ 150 บรรยากาศ ่ แรงทังสามชนิด คือ แรงจากการคายนํ้ า (Transpiration Pull) แรงดึงของนํ้ า ้ (Tention) และแรงยึดเกาะของโมเลกุลของนํ้า (Cohesion) ทําให้น้ําในลําต้นพืชสามารถ ลําเลียงนํ้าจากด้านล่างขึนไปสูยอดสูง ๆ ได้ โดยไม่ขาดสาย ้ ่ Dixon และ Joly ได้ตงทฤษฎี Transpiration Cohesion Tension Theory ในปี ั้ ั ั 1894 ซึงใช้อธิบายการลําเลียงนํ้าของพืช และเชือถือกันมากทีสดจนถึงปจจุบน ่ ่ ุ่ 416 CU 474
  • 5. การลําเลียงธาตุอาหารของพืช (Translocation of Minerals) พืชส่วนใหญ่ ดูดเกลือแร่ในรูปของไอออน และเลือกดูดไอออนชนิดต่าง ๆ ด้วย อัตราเร็วไม่เท่ากัน และมีการแข่งขัน วิธการดูดเกลือแร่ของพืชทําได้หลายวิธี ี 1. การแพร่ (Diffusion) ปกติในดินจะมีเกลือแร่มากกว่าในเซลล์เสมอ ดังนัน เกลือ ้ แร่จากดินจึงแพร่เข้าสูเซลล์ได้ เมื่อเซลล์หนึ่งรับเกลือแร่เข้ามาทําให้มความเข้มข้นสูงกว่า ่ ี เซลล์ถดไป จึงแพร่ผานต่อกันไปได้อย่างต่อเนื่อง ั ่ 2. การแลกเปลียนอิออน (Ion Exchange) เป็ นวิธดดเกลือแร่โดยมีการแลกเปลียน ่ ี ู ่ + ่ ไอออนกับผิวราก ทีรากจะมี H เป็ นส่วนใหญ่ ซึงได้มาจากคาร์บอนไดออกไซด์ในการ ่ หายใจของเซลล์ทเี่ ข้ารวมกับนํ้าเป็ นกรดคาร์บอนิค (H2CO3) แล้วแตกตัวให้ H+ ยึดเกาะ กับผิวรากและเคลื่อนทีในวงจํากัด บริเวณผิวรากจึงมีแรงดึงดูดระหว่างประจุบวกกับประจุ ่ ่ ลบ และสามารถแลกเปลียนไอออนกันได้ เช่น ในสารละลายทีม ี K+ มาก แล้วเคลื่อนทีเข้า ่ ่ + + ี ่ ่ี ิ ไปอยู่บริเวณราก K ก็มโอกาสทีจะถูกจับไว้ทผวรากได้เช่นเดียวกับ H และโอกาสที่ H+ + + ่ และ K จะหลุดออกจากรากก็มเี ท่ากัน ถ้า H หลุดออก K+ ก็สามารถจะเข้าไปแทนทีได้ เช่นกัน ส่วนการแลกเปลียนโดยการดูดประจุลบ เกิดจากการเข้าแทนที่ OH- หรือ HCO3่ ซึงมีอยูในรากเป็ นส่วนใหญ่ การแลกเปลียนไอออนทําให้ pH ของนํ้าในดินเปลียนแปลงไป ่ ่ ่ ่ ด้วย ถ้ามีการแลกเปลียนประจุบวกมาก pH ของนํ้าในดินจะเป็ นกรดมากขึน ่ ้ 3. กระบวนการแอกทีฟ แอพซอพชัน และการสะสมไอออน (Active Absorption and Ion Accumulation) การดูดเกลือแร่โดยวิธี Active Absorption ส่วนใหญ่เกิดทีบริเวณ ่ เนื้อเยื่อเจริญของราก ซึ่งเป็ น บริเวณที่มอตราการหายใจสูง มีพลังงานมาก จึงดูดและ ี ั สะสมเกลือแร่มาก การลําเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) พืชทําการสังเคราะห์ดวยแสงทีใบได้น้ํ าตาล แล้วเปลียนเป็ นแป้ง ส่งไปตามโฟลเอม ้ ่ ่ ไปเลียงส่วนต่าง ๆ ของพืช ้ การทดลองทีแสดงว่าพืชลําเลียงอาหารไปตามท่อโฟลเอม อาจทําได้โดยการควัน ่ ่ และลอกเปลือกของลําต้นพืชใบเลี้ยงคู่ออก ทิ้งไว้ 2-3 สัปดาห์ จะสังเกตเห็นบริเวณรอย ่ ควันตอนบนโปงออก เนื่องจากอาหารทีลาเลียงลงมาจากยอดมาสะสมอยูมาก ่ ่ํ ่ CU 474 417
  • 6. ราบิโดและเบอร์ (Rabideau & Burr) ทําการทดลองโดยให้ C13O2 กับใบพืช 4 กลุ่ ม ที่ทํ า ลายโฟลเอมของลํ า ต้น บริเ วณต่ า ง ๆ ด้ว ยไอนํ้ า ร้อ นหรือ ขี้ผ้ึง ร้อ น ต้น ที่ 1 ไม่ทําลายโฟลเอม ต้นที่ 2 ทําลายโฟลเอมบริเวณเหนือใบทดลอง ต้นที่ 3 ทําลายโฟลเอม บริเวณใต้ใบทดลอง และต้นที่ 4 ทําลายโฟลเอมบริเวณเหนือและใต้ใบทดลอง เมือให้ C13O2 กับใบพืชในระยะเวลาหนึ่ง แล้วตรวจหา C13 ในโมเลกุลของนํ้าตาล ่ ผลการทดลอง พบว่า ต้นที่ 1 พบทุกส่วนของลําต้น ต้นที่ 2 พบเฉพาะส่วนทีอยูใต้รอยโฟลเอมทีถูกทําลาย ่ ่ ่ ต้นที่ 3 พบเฉพาะลําต้นเหนือรอยโฟลเอมทีถูกทําลาย ่ ต้นที่ 4 พบเฉพาะบริเวณลําต้นทีอยู่ระหว่างรอยโฟลเอมทีถูกทําลาย แสดงว่า ่ ่ โฟลเอมเป็ นท่อสําหรับลําเลียงสารอาหารจากใบไปส่วนต่าง ๆ ของลําต้น รูปที่ 10.1.2 การทดลองการลําเลียงนํ้าตาลในท่อลําเลียงอาหารของพืช กลไกการลําเลียงสารอาหารของพืช สมมติฐ านที่อ ธิบ ายกลไกการลํา เลีย งสารอาหารของพืช ที่ย อมรับ กัน ทัวไปใน ่ ั ั ปจจุบน คือ Mass Flow Hypothesis ซึงอธิบายว่าสารอาหารถูกลําเลียงไปในท่อโฟลเอม ่ เกิ ด จากการผลั ก ดั น โดยความแตกต่ า งของความดั น ภายในท่ อ สมมติ ฐ านนี้ ม ี นักวิทยาศาสตร์ได้ทําการศึกษาวิจยเพื่อสนับสนุ น ดังเช่น M.H Zimmerman ได้สงเกต ั ั การใช้ปากของเพลียอ่อนเจาะเข้าไปในท่อโฟลเอมของพืช เพื่อดูดของเหลวจากท่อจนล้น ้ ออกมาทางก้น (Honen dew) การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของของเหลวทีไม่ผ่าน ่ ลําตัวของเพลียน่ าจะเป็ นสิงทีน่าเชื่อถือมากกว่า เขาจึงตัดส่วนของลําตัวเพลียโดยการทํา ้ ่ ่ ้ ให้สลบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และตัดตัวเพลี้ยด้วยแสงเลเซอร์ ของเหลวที่ได้จาก ่ ปากเพลียพบว่า ส่วนใหญ่เป็ นนํ้าตาลซูโครส ดังนันถ้าให้ 14CO2 ทางใบกับพืชเพือทําการ ้ ้ ้ สังเคราะห์ดวยแสง ซึงจะได้ซูโครสทีม ี 14C เป็ นองค์ประกอบ และเมื่อให้เพลียอ่อนแทง ้ ่ ่ 418 CU 474
  • 7. ปากในโฟลเอมตําแหน่ งต่าง ๆ ก็จะหาอัตราการเคลื่อนที่ของนํ้ าตาลในโฟลเอมได้ จาก การทดลอง พบว่า นํ้าตาลในโฟลเอมสามารถเคลื่อนทีดวยอัตราประมาณ 100 เซนติเมตร ่ ้ ต่อ ชัวโมง จากผลการทดลองนี้ทําให้คดได้ว่าการเคลื่อนทีของนํ้าตาลในโฟลเอมคงไม่ใช่ ่ ิ ่ กระบวนการแพร่ธรรมดา ต้องมีพลังงานเข้ามาเกียวข้องอยูดวย ่ ่ ้ ในทฤษฎี Mass Flow ซึงเสนอโดย Ernst Munch ในปี ค.ศ. 1930 อธิบายการไหล ่ ของของเหลวในเซลล์ลําเลียงอาหารว่ามีแรงผลักดันทีเกิดจากความแตกต่างของความดัน ่ ระหว่างแหล่งสร้าง (Source) กับแหล่งเก็บ (Sink) ซึงความแตกต่างของความดันเกิดจาก ่ การลําเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่งสร้าง และการลําเลียงอาหารออกจากโฟลเอมที่ แหล่งเก็บ พืชจะใช้พลังงานในการลําเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมทีแหล่งสร้าง ทําให้ความ ่ เข้มข้นของสารละลายในโฟลเอมเพิมมากขึน ความเข้มข้นของนํ้าในเซลล์โฟลเอมจึงลดลง ่ ้ นํ้ า จากเซลล์ไ ซเลมข้า งเคียงจึงแพร่เ ข้า สู่เซลล์โ ฟลเอม ทํา ให้เ ซลล์ม ีแรงดัน เต่ง (T.P) เพิมขึ้น ในขณะเดียวกันการลําเลียงอาหารออกจากโฟลเอมไปที่เซลล์แหล่งเก็บ (Sink ่ Cell) ทําให้ความเข้มข้นของนํ้าในเซลล์โฟลเอมเพิมมากขึน เนื่องจากสารละลายมีความ ่ ้ เข้มข้นลดลง ทําให้น้ํ าแพร่ไปยังเซลล์ไซเลมทีอยู่ขางเคียง แรงดันเต่งในโฟลเอมจึงลดลง ่ ้ แรงดันเต่งทีแหล่งสร้างกับทีแหล่งเก็บจึงแตกต่างกันทําให้เกิดการแพร่ของสารจากเซลล์ ่ ่ แหล่งสร้างมายังเซลล์แหล่งเก็บได้ ซึงไม่ตองใช้พลังงาน ่ ้ รูปที่ 10.1.3 การลําเลียงสารอาหารจากแหล่งสร้างมายังแหล่งเก็บในโฟลเอม (จาก Campbell et al, 2003 และ Taiz and Zeiger, 2002) CU 474 419
  • 8. แม้ว่าการลําเลียงอาหารจะใช้กลไกความแตกต่างของความดันเป็ นแรงผลักดันให้ สารละลายในโฟลเอม เคลื่อนทีเป็ นระยะทางไกลแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive) แต่พชก็ยง ่ ื ั ต้องใช้พลังงาน (Active) ในการนําสารละลายเข้าและออกจากโฟลเอมในปริมาณมากเพื่อ สร้างความแตกต่างของความดันที่จะเป็ นแรงผลักดันในการลําเลียงจากใบที่เป็ นแหล่ง สร้างไปยังรากซึงเป็ นแหล่งเก็บ ่ แต่มขอสงสัยว่าในโฟลเอมทีเป็ น Sieve Tube เป็ นเซลล์ทมชวตบริเวณแผ่นตะแกรง ี ้ ่ ่ี ี ี ิ (Sieve Plate) ยังมีสายไซโตพลาสซึมทีจะขัดขวางการลําเลียงสาร จึงไม่น่าจะผ่านได้เร็ว ่ นอกจากนี้ยงพบว่าบางครัง Turgor Pressure ในเซลล์รากก็ไม่ได้มค่าน้อยไปกว่าใบ จึงไม่ ั ้ ี ั เป็ นปจจัยทีจะทําให้เกิดแรงผลักดันทีจะลําเลียงสารได้รวดเร็ว และยังอาจเป็ นการลําเลียง ่ ่ จากรากไปที่ใ บก็ไ ด้ เพราะพบว่า การลํ า เลีย งสารอาหารของพืช มีท ง สองทิศ ทาง คือ ั้ ลําเลียงขึนและลง ้ นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาวิจย เพื่ออธิบายข้อสงสัย เหล่า นี้ เพื่อสนับสนุ นทฤษฎี ั Mass Flow ดังนี้ 1. Sieve Tube Member มีรตะแกรง (Sieve Plate Pore) เป็ นช่องเปิ ด ไม่ได้อุด ู ตันในขณะทีเซลล์ยงมีชวต ซึงนักวิทยาศาสตร์ได้ทําการศึกษาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ชนิด ่ ั ีิ ่ พิเศษ (Confocal Laser Scanning Microscope) กับเทคนิคการให้สารสีเรืองแสงกับ สารละลายในโฟลเอมเพื่อติดตามการเคลื่อนที่ของสารอาหาร ทําให้ทราบว่าสารอาหาร สามารถลําเลียงผ่านรูตะแกรงของเซลล์ Sieve Tube Member ได้ 2. ไม่พบการลําเลียงสองทิศทางทีเกิดในเซลล์ท่ออาหารเดียวกัน นักวิทยาศาสตร์ ่ ทําการทดลองโดยใช้สารเคมี 2 ชนิดทําเครื่องหมายกับ 2 ใบทีตดกัน แต่ละใบมีสารเคมีท่ี ่ ิ ต่างกัน แล้วตรวจหาสารเคมีท่ีโฟลเอมของใบทังสอง อีกการทดลองหนึ่ง ผู้ทดลองทํา ้ เครืองหมายด้วยสารเคมีทขอ แล้วตรวจหาสารทีดานบนและล่าง จากผลการทดลองพบว่า ่ ่ี ้ ่ ้ พืชมีการลําเลียงสองทิศทางในโฟลเอมทีอยูกนคนละมัดของท่อลําเลียง หรือในมัดเดียวกัน ่ ่ ั แต่ต่างเซลล์กน ั 3. อัต ราการลํ า เลีย งสารอาหารในโฟลเอมไม่ ต อบสนองต่ อ การใช้พ ลัง งาน นัก วิทยาศาสตร์ทํา การทดลองโดยทํา ให้บ างส่ว นของก้า นใบได้ร บ อุ ณ หภูมท่ีต่ํา ลงถึง ั ิ ่ ี ้ 1 C อย่างรวดเร็ว เพือทําให้เอนไซม์ไม่ทํางานจึงไม่มการสร้างพลังงาน พบว่า การยับยัง การลําเลียงสารอาหารออกจากใบเป็ นเพียงระยะสัน อัตราการลําเลียงจะค่อย ๆ กลับคืนสู่ ้ 420 CU 474
  • 9. ระดับปกติ แม้ว่าความเย็นนี้จะยังทําให้อตราการหายใจทีกานใบยังคงลดลงน้อยกว่าปกติ ั ่ ้ 90 % ก็ตาม แสดงว่าการลําเลียงสารอาหารในโฟลเอมมีการใช้พลังงานน้อยมาก 4. ความแตกต่างของความดันมากพอทีจะผลักดันสารละลายให้เคลื่อนทีได้ใน ่ ่ ระยะใกล้ นักวิทยาศาสตร์ทดลองความดันโดยใช้เครื่องมือ Micromano Meter หรือ Pressure Transducer ต่อเข้ากับปากเพลี้ยอ่อนทีเจาะเข้าไปในโฟลเอม ซึ่งจะมีของ ่ เหลวไหลออกมา ค่าทีวดได้ถอว่าใกล้เคียงความเป็ นจริง เนื่องจากปากของเพลี้ยจะเจาะ ่ ั ื เซลล์เพีย งเซลล์เดีย วและรอบปากเพลี้ย จะไม่ม ีร อยรัว จากการทดลองวัด ความดัน ที่ ่ บริเวณแหล่งสร้าง (Source) กับแหล่งเก็บ (Sink) พบว่า แรงดันในเซลล์ใกล้เคียงแหล่ง สร้างมีมากกว่าเซลล์ใกล้เคียงแหล่งเก็บ ซึ่งจากการคํา นวณแรงดันของบริเวณทังสอง ้ นักวิทยาศาสตร์พบว่า มีความแตกต่างของแรงดันมาพอทีจะผลักดันให้มการไหลของ ่ ี ชีวมวลไปทางโฟลเอมได้ การคายนํ้าของพืช (Transpiration) นํ้าทีพชดูดเข้าไปทางราก จะถูกลําเลียงผ่านลําต้นไปทีใบเพื่อใช้ในกระบวนการเม ่ ื ่ แทบอลิซมเพียงเล็กน้อยเท่านัน นํ้าส่วนใหญ่จะถูกกําจัดออกไปในรูปของไอนํ้าทางปากใบ ึ ้ เรียกว่า การคายนํ้ า ซึ่งจะเกิดในเวลากลางวันที่พชมีการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนในเวลา ื กลางคืนเป็ นเวลาทีปากใบปิ ด พืชจะกําจัดนํ้ าออกทางท่อไฮดราโทด (Hydrathode) ที่ ่ บริเวณปลายใบในรูปของหยดนํ้า เรียกว่า กัตเตชัน (Guttation) การคายนํ้าของพืชส่วนใหญ่เป็ นการแพร่ของไอนํ้า ซึงเกิดได้หลายบริเวณ ได้แก่ ่ 1. การคายนํ้าทางปากใบ (Stomatal Transpiration) เกิดมากทีสด ุ่ 2. การคายนํ้าทางผิวใบ (Cuticular Transpiration) เป็ นการคายนํ้าทีผวใบ ซึงมี ่ ิ ่ คิวติเคิล ฉาบอยู่ทผวเซลล์เอพิเดอร์มส เป็ นการคายนํ้ าได้น้อย เนื่องจากมีสารพวกไขมัน ่ี ิ ิ (Wax) เคลือบอยู่ ป้องกันการแพร่ของไอนํ้า 3. การคายนํ้ าทางรอยแตกของลําต้นทีเรียกว่า ตา (Lenticular Transpiration) ่ เกิดขึนน้อยมาก เนื่องจาก Lenticel มีน้อย และเป็ นส่วนของ Cork Cell ด้วย ้ CU 474 421
  • 10. กลไกการคายนํ้าของพืช ั เซลล์สปนจี (Spongy Cell) ในชัน Mesophyl ของใบมีการจัดเรียงตัวอย่างหลวม ๆ ้ ทําให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์มากและมีชองอากาศใหญ่ (Air Space) ทีอยู่ถดจากเซลล์ ่ ่ ั เอพิเดอร์มสด้านล่าง ซึงตรงกับปากใบ เซลล์ส ิ ่ ั ป น จีจ ะสัม ผัส กับ อากาศภายนอก ไอนํ้ า ใน ช่ อ งว่ า งจึง แพร่ อ อกมาข้า งนอกได้ ในเวลา กลางวันปากใบจะเปิ ด เนื่องจากเซลล์คุมมีการ สังเคราะห์ด้วยแสงได้น้ํ าตาล ทําให้เซลล์คุมมี สารละลายเข้ม ข้น กว่ า เซลล์ ข้า งเคีย ง จึง มี แรงดันออสโมซิส (O.P) เพิมขึน นํ้ าในเซลล์ ่ ้ ข้างเคียงจึงแพร่เข้าสูเซลล์คุมได้ ทําให้มแรงดัน ่ ี เต่ง (T.P.) ในเซลล์สงขึน ทําให้เซลล์เต่ง แต่ ู ้ รูปที่ 10.1.4 การปิดเปิดของปากใบ (จาก George B. Johnson, 1997) เนื่องจากผนังด้านนอกของเซลล์บางกว่าด้าน ใน จึงดันให้ผนังด้านนอกโค้งออกมากกว่าด้าน ใน ปากใบจึงเปิ ดกว้าง ไอนํ้ าในช่องอากาศจึงแพร่ออกมาด้านนอก ใบมีการคายนํ้ ามากก็ ส่งผลให้รากดูดนํ้ามากเพือชดเชยกับปริมาณนํ้าทีเสียไป ใบจึงเต่งอยูเสมอ ่ ่ ่ ปัจจัยที่ควบคุมการคายนํ้าของพืช การคายนํ้ าของพืชจะเกิดมากหรือน้อย เร็วหรือช้า ขึนอยู่กบสภาพแวดล้อมของ ้ ั พืช ได้แก่ 1. แสงสว่าง ในสภาพที่มความเข้มของแสงมาก จะมีผลทําให้ปากใบเปิ ดกว้าง ี เนื่องจากเซลล์คุมมีการสังเคราะห์ดวยแสงมากใบจึงคายนํ้ ามาก นอกจากนี้แสงสว่างยังมี ้ ผลทํ า ให้อุ ณ หภู ม ิข องบรรยากาศรอบใบสูง ทํ า ให้น้ํ า รอบ ๆ ใบกลายเป็ น ไอมากขึ้น ใบจึงคายนํ้ามาก 2. อุณหภูม ิ เมื่ออุณหภูมของบรรยากาศรอบ ๆ ใบสูง จะทําให้อุณหภูมของนํ้ าใน ิ ิ ใบสูงขึนด้วย นํ้ าจึงเปลียนสภาพเป็ นไอได้ง่ายและเร็ว ขณะเดียวกันอุณหภูมของอากาศ ้ ่ ิ ภายนอกใบสูง จะช่วยให้อากาศสะสมไอนํ้าได้มาก ไอนํ้าภายในใบจึงระเหยออกมาได้มาก 3. ความชืน ในบรรยากาศทีมความชืนตํ่า ซึงหมายถึงอากาศแห้งมีไอนํ้าน้อย เช่น ้ ่ ี ้ ่ เวลากลางวัน หรือ ฤดู ร้ อ น ความแตกต่ า งของความชื้น ในใบกับ นอกใบจะมีม าก 422 CU 474
  • 11. ทําให้การคายนํ้ าเกิดได้เร็วและมาก ในทางกลับกันถ้าอากาศมีความชืนสูง เช่น ขณะฝน ้ ตกใหม่ ๆ เช้ามืด หรือฤดูฝน ใบจะคายนํ้าได้น้อยลง 4. ลม ขณะทีมลมพัดแรง จะพัดพาไอนํ้าไปจากบริเวณรอบใบ ทําให้เกิดความแห้ง ่ ี ทีรอบใบ ไอนํ้าจากในใบจึงระเหยออกมาสะสมมาก แต่ถาลมพัดแรงมากจนเป็ นพายุ ปาก ่ ้ ใบจะปิ ด การคายนํ้าจะลดลง ถ้าลมสงบไอนํ้าภายในกับภายนอกใบไม่แตกต่างกันมาก ใบ จะคายนํ้าได้ตลอดเวลา ในอัตราทีต่ากว่ามีลมพัด ่ ํ 5. ปริม าณนํ้ า ในดิน ถ้า ในดิน มีน้ํ า มาก รากจะดูด นํ้ า มาก และลํ า เลีย งไปที่ใ บ ตลอดเวลา ทําให้ใบต้องคายนํ้ามาก ในทางตรงข้ามกับสภาพดินทีแห้งแล้ง พืชดูดนํ้าน้อย ่ ใบก็จะคายนํ้าได้น้อย 6.โครงสร้างของใบ พืชแต่ละชนิดมีลกษณะโครงสร้างของใบแตกต่างกัน ซึงมักจะ ั ่ เป็ นการปรับตัวตามสภาพของแหล่งทีอยู่ดวย เช่น พืชทะเลทราย (Xerophyte) มีการ ่ ้ ปรับตัวโดยการเปลียนแปลงโครงสร้างของใบ เพื่อลดการคายนํ้า เช่น มีปากใบบุ๋มลึกเข้า ่ ไปในเนื้อใบ เพือทําให้เกิดแอ่งเล็ก ๆ ขังนํ้า เรียกว่า Shunken Stoma นํ้าในแอ่งจะทําให้ ่ บรรยากาศรอบใบอิมตัวด้วยความชืนและไอนํ้ า ใบจึงคายนํ้ าได้ยาก เป็ นการลดการคาย ่ ้ นํ้ า นอกจากนี้ยงมีการลดขนาดของใบ หรือดัดแปลงใบไปเป็ นหนาม เพื่อลดปากใบให้ ั น้อยลงหรือไม่ม ี ส่วนพืชที่อยู่ในที่ชุ่มชื้น (Hydrophyte) มักมีปากใบเรียบหรือนู นขึน ้ (Raised Stoma) และมีแผ่นใบขนาดใหญ่ ทําให้คายนํ้าได้มาก พืชบกทีขนในทีมความชืน ่ ้ึ ่ ี ้ ปานกลาง (Mesophyte) มักมีแผ่นใบปานกลาง มีการคายนํ้าแตกต่างกันขึนอยู่กบจํานวน ้ ั ปากใบของพืช การวัดการคายนํ้าของพืช พืชแต่ละชนิดมีการคายนํ้าทีแตกต่างกัน อัตราการคายนํ้าจึงไม่เท่ากัน การคายนํ้า ่ ของพืชคิดเป็ นนํ้ าหนักหรือปริมาตรต่อหน่ วยเวลา วิธวดทําได้หลายวิธี แต่วธทใช้กนมาก ีั ิ ี ่ี ั คือ วัดด้วยโปโตมิเตอร์ (Potometer Method) ซึงเป็ นเครืองมือทีประกอบด้วย หลอดแก้ว ่ ่ ่ บรรจุน้ํ ามีกงไม้เสียบกับจุกยางทีปากหลอด จากหลอดแก้วมีแขนยื่นออกไป 2 ข้าง แขน ิ่ ่ ด้า นซ้า ยติด กับ กรวยที่ม ีก๊ อ กปิ ด เปิ ด สํา หรับ เติม นํ้ า เข้า หลอดแก้ว แขนด้า นขวาเป็ น หลอดแก้วทีมรขนาดเล็กมาก (Capillary Tube) มีมาตราส่วนแบ่งเป็ นปริมาตรทีมความ ่ ีู ่ ี ละเอียด ปลายหลอดงอจุมอยูในแก้วบรรจุน้ําสี ่ ่ CU 474 423
  • 12. รูปที่ 10.1.5 โปโตมิเตอร์สาหรับวัดอัตราการคายนํ้าของพืช (จาก John W. Kimball, 1965) ํ การทดลองหาอัตราการคายนํ้ าของพืช ก่อนทําการทดลองนํ าถ้วยบรรจุน้ํ าออก จากปลาย Capillary Tube ก่อน เพื่อให้เกิดฟองอากาศเข้าสู่หลอด เมื่อใบพืชคายนํ้ า ฟองอากาศจะเคลื่อนทีใช้เป็ นตัวชีวดบนมาตราส่วน เพื่อบอกปริมาตรของไอนํ้าทีพชคาย ่ ้ั ่ ื ออกไปทางใบ ต่อจากนี้จงจุมปลายหลอด Capillary ลงไปในถ้วยนํ้าสี ทีหลอดแก้วใหญ่ จะ ึ ่ ่ มีต้นไม้ทงต้น หรือ เฉพาะกิ่ง เสีย บแน่ นทะลุแผ่น จุก ยาง มีห ลอดไฟฟ้ า ให้แสงสว่า งอยู่ ั้ ภายนอก เมื่อเตรียมเครื่องมือเสร็จเรียบร้อยแล้ว เริมจับเวลาที่ฟองอากาศ เคลื่อนที่ใน ่ Capillary อ่านปริมาตรของนํ้าทีถูกดูดเข้าสูลาต้นแล้วระเหยออกทางใบ วัดพืนทีของใบพืช ่ ่ํ ้ ่ ทังหมด นํ ามาคํานวณหาอัตราการคายนํ้าของพืชต่อพืนทีผวใบ 1 ตารางหน่ วยในเวลา 1 ้ ้ ่ ิ หน่วย ตัวอย่าง ทดลองการคายนํ้ าของพืชโดยใช้โปโตมิเตอร์ทหลอดแคปพิลลารีมเส้น ่ี ี ผ่านศูนย์กลางของรูภายใน 0.8 มิลลิเมตร ยาว 30 เซนติเมตร จัดเตรียมเครื่องมือดังภาพ ในเวลา 1 นาที ฟองอากาศในหลอดเคลื่อนทีไปเป็ นระยะทาง 7 เซนติเมตร อัตราการคาย ่ นํ้าของกิงไม้ททดลองเป็ นเท่าใด ่ ่ี เส้นผ่านศูนย์กลางของรูหลอดแคปพิลลารี = 0.8 มิลลิเมตร = 0.08 เซนติเมตร พืนทีหน้าตัดของรูภายในหลอด ้ ่ = πr2 = 22 x ( 0.08 ) 2 ตารางเซนติเมตร 2 7 ปริมาตรของนํ้าในหลอดแคปพิลลารี = 7 x 22 (0.04)2 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 0.3527ลูกบาศก์เซนติเมตร ∴ อัตราการคายนํ้าของกิงไม้ทดลอง = 0.352 ลูกบาศก์เซนติเมตร / นาที ่ 424 CU 474
  • 13. การคายนํ้าในรูปหยดนํ้าของพืช (Guttation) การคายนํ้าของพืชทีออกมาเป็ นหยดนํ้า ส่วนใหญ่เกิดบริเวณปลายใบและขอบใบที่ ่ เป็ นรอยหยักแหลม และมักเกิดเนื่องจากสภาพแวดล้อมภายนอกไม่เอืออํานวยให้เกิดการ ้ คายนํ้าในรูปของไอนํ้า เช่น อากาศมีความชืนสูง อิมตัวด้วยไอนํ้า ลมสงบ อุณหภูมต่ํา และ ้ ่ ิ ไม่มแสงสว่าง ทําให้ปากใบไม่เปิ ด แต่รากมีการดูดนํ้ าตลอดเวลา นํ้ า ที่ถูกดันขึ้นมาจะ ี สินสุดทีปลายของท่อเทรคีด (Tracheid) ปลายเส้นใบ ซึงจะติดต่อกับเซลล์พาเรนไคมาที่ ้ ่ ่ จัดเรียงตัวอย่างหลวม ๆ บางช่วงบางตอนมีรูทอาจต่อเนื่องไปถึงปลายใบที่มปากใบอยู่ ่ี ี ด้ว ย ดัง นั น ในเวลากลางคืน ที่ป ากใบปิ ด ก็ย ัง มีรู เ ล็ก ๆ เปิ ด อยู่ เรีย กว่ า ไฮดรา-โทด ้ (Hydrathode) นํ้ าจะดันผ่านเซลล์พาเรนไคมามายังรูทปลายใบหรือขอบใบได้กลายเป็ น ่ี หยดนํ้า 10.2 การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) อาจกล่าวได้ว่าพลังของสิงมีชวต คือ แสงอาทิตย์ทงนี้เนื่องจากพลังงานทีสงมีชวต ่ ีิ ั้ ่ ิ่ ี ิ ใช้ในการดํารงชีวตทังหมด ล้วนได้มาจากดวงอาทิตย์ทจบไว้โดยพืชและสาหร่ายผ่านทาง ิ ้ ่ี ั กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง ทุกชีวตจึงดํารงอยู่ได้ดวยพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ ใน ้ ิ ้ แต่ละวันพลังงานจากแสงอาทิตย์ทสองลงมายังพืนโลก มีจานวนมหาศาล นักวิทยาศาสตร์ ่ี ่ ้ ํ ประมาณไว้วามีถง 1 ล้านเท่าของอะตอมมิกบอมบ์ ทีนําไปทิงทีเกาะฮิโรชิมา แต่พชสีเขียว ่ ึ ่ ้ ่ ื และสาหร่า ยจับ พลังงานนี้ ไ ว้เพีย ง 1 เปอร์เ ซ็น ต์เ ท่า นัน ก็เ พีย งพอที่จ ะใช้ส ร้า งอาหาร ้ ั แบ่งปนให้กบทุกชีวตบนโลกสามารถดํารงชีพอยูได้ ั ิ ่ ภาพรวมของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงเกิดขึนทีใบของพืชเป็ นส่วนใหญ่ ทีเซลล์ใบของพืช ้ ้ ่ ่ มีออร์แกเนลล์ทเี่ รียกว่า คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็ นแหล่งสําคัญทีทาให้กระบวนการ ่ ํ ดําเนินไปได้ตลอด ซึ่งไม่มโครงสร้า งใดในเซลล์พชที่จะทดแทนได้ นักวิทยาศาสตร์ได้ ี ื ทําการศึกษาค้นคว้าจนพบความจริงว่า กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงจะดําเนินไปใน 3 ้ ขัน คือ 1) จับพลังงานจากแสงอาทิตย์ 2) ใช้พลังงานสร้างสารเก็บพลังงาน คือ ATP และ ้ NADPH และ 3) ใช้ ATP เป็ นพลังงานในการสร้างโมเลกุลของพืชจาก CO2 ในอากาศ โดยมีการศึกษาปฏิกรยาการสังเคราะห์ดวยแสง ดังนี้ ิิ ้ CU 474 425
  • 14. ในปี ค.ศ. 1932 Robin Hill ได้ทําการแยกคลอโรพลาสต์ออกจากเซลล์ผกโขม ั นํามาทดลองปฏิกรยาการแตกตัวของนํ้ าด้วยแสง โดยผ่านแสงไปในของผสมของเกลือเฟ ิิ อริกและคลอโรพลาสต์ แล้วพบว่า เกลือเฟอริกเปลียนเป็ นเกลือเฟอรัสกับ ออกซิเจน ่ 4Fe3+ + 4H2O Light Chloroplast 4Fe2+ + 4H+ + O2 + H2O และพบว่าในปฏิกรยาที่ไม่มเกลือเฟอริกจะไม่เกิดออกซิเจน ในปฏิกิรยาที่เกลือเฟอริก ิิ ี ิ เปลี่ย นเป็ น เกลือ เฟอรัสได้ เนื่ อ งจากได้ร บ อิเ ลคตรอนจากนํ้ า ที่แ ตกตัว เมื่อ มีค ลอโรั พลาสต์ แ ละแสง ส่ ว นออกซิเ จนที่เ กิด ขึ้น ในปฏิกิร ิย าแสดงว่ า มีเ กลือ เฟอริก เป็ น ตัว ออกซิไดซ์ หรือตัวรับไฮโดรเจน (Hydrogen Acceptor) สารทีทาหน้าทีเป็ นตัวรับไฮโดรเจนอาจมีหลายชนิด เช่น Ferric Cyanide และ ่ ํ ่ Methylene Blue เป็ นต้น แต่ในพืชมี Nicotinamide Adenosine Dinucleotide Phosphate ่ ่ ่ (NADP+) ซึงอยูในรูปของออกซิแดนท์ เป็ นตัวรับไฮโดรเจน เมือรับไฮโดรเจนเข้ามาจะ เปลียนรูปเป็ น รีดกแตนท์ (Reductant) คือ NADPH ่ ั จากการทดลองนี้นกวิทยาศาสตร์จงเกิดแนวคิดว่าปฏิกรยาการสังเคราะห์ดวยแสง ั ึ ิิ ้ น่ าจะมีขนตอนการปล่อยออกซิเจนและขันตอนที่เกี่ยวข้องกับคาร์บอนไดออกไซด์ ดังที่ ั้ ้ Danial Arnon และคณะ (ค.ศ. 1651) ได้ทําการทดลองเพื่อติดตามขันตอนการ ้ + เกิดปฏิกรยาโดยผ่านแสงลงไปในสารผสมของ ADP, Pi, NADP , H2O และ Chloroplast ิิ พบว่า สารเคมีทเี่ กิดขึน คือ ATP, NADPH และ O2 ดังสมการ ้ ADP + Pi + NADP+ + H2O Light ATP + NADPH + H+ + O2 Chloroplast และพบว่าถ้าผ่านแสงลงไปในของผสมทีมเี ฉพาะ ADP, Pi และ H2O ก็จะได้ ATP เพียง ่ อย่างเดียว ซึ่งแสดงว่า การสร้าง ATP และ NADPH ย่อมขึนอยู่กบปจจัยทีให้กบ ้ ั ั ่ ั คลอโรพลาสต์ในสภาพทีตองมีแสง ่ ้ ี เมือหาการทดลองโดยให้ ATP, NADPH และ CO2 แก่คลอโรพลาสต์โดยไม่มแสง ่ ผลทีเกิดขึน คือ โมเลกุลนํ้าตาล ดังสมการ ่ ้ CO2 + ATP + NADPH 426 Chloroplast Sugar + ADP + Pi + NADP+ CU 474
  • 15. แสดงว่าในขันตอนการสร้างโมเลกุลของพืช คือ นํ้าตาลของคลอโรพลาสต์ตองมี ้ ้ ั ํ ปจจัย คือ CO2, ATP และ NADPH โดยไม่จาเป็ นต้องมีแสง จากการทดลองอาจสรุปได้ว่า กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืชในขันตอนที่ ้ ้ มีการจับพลังงานจากแสงอาทิตย์นําไปใช้สร้างสารเก็บพลังงาน คือ ATP และ NADPH จะ เกิดในสภาวะทีมแสง เป็ นปฏิกรยาทีตองใช้แสง (Light Dependent Reaction) ซึงเป็ น ่ ี ิิ ่ ้ ่ ขันตอนแรก ส่วนขันตอนที่ 2 เป็ นการนํ าพลังงานจากแสงในรูปของ ATP มาใช้เปลียน ้ ้ ่ CO2 ให้เป็ นโมเลกุลนํ้ าตาลจะเกิดในสภาวะที่ไม่ต้องมีแสงมาเกี่ยวข้องหรือมืด เป็ น ปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง (Light - Independent or Dark Reaction) ิิ ่ ้ โดยภาพรวมของกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง อาจสรุปได้จากสมการ ดังนี้ ้ 6CO2 + 12H2O + Light energy Carbon Water dioxide C6H12O6 + 6H2O + 6O2 Glucose Water Oxygen คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) คือ ออร์แกเนลล์ของพืชทีเป็ นแหล่งเกิดกระบวนการ ่ สังเคราะห์ดวยแสงของพืช โครงสร้างประกอบด้วย เยื่อ 2 ชัน เยื่อชันนอกเรียบ เยื่อชันใน ้ ้ ้ ้ ยื่นเข้าไปข้างใน มีลกษณะเป็ นถุงกลมแบนคล้ายเหรียญ เรียกว่า ไทลาคอยด์ (Thylakoid) ั ไทลาคอยด์จานวนมากมีการจัดเรียงตัวโดยวางซ้อนกันเป็ นตัง เรียกว่า กรานุ่ม (Granum) ํ ้ แต่ละคลอโรพลาสต์ม ี 40-60 กรานุ่ ม แต่ละกรานุ่ มเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างที่เรียกว่า สโตรมา ลาเมลลา (Stroma Lamella) ซึงจะพบเฉพาะในพืชชันสูง รอบ ๆ เยื่อไทลาคอยด์ ่ ้ เป็ นสารกึงเหลว (Semifluid) เรียกว่า สโตรมา (Stroma) ประกอบด้วย เอนไซม์ DNA ่ RNA และไรโบโซม ทําให้คลอโรพลาสต์สามารถสร้างโปรตีนของตัวเองได้ในบางกรณี และสามารถแบ่งตัว (Division) ได้ ไทลาคอยด์เป็ นทีอยู่ของสารสีพวกคลอโรฟิลและสารสี ่ ประกอบอื่น ๆ โดยที่ผ ิว ของไทลาคอยด์ม ีก ารจัด กลุ่ ม สารสีช นิ ด เดีย วกัน เป็ น ร่ า งแห เรียกว่า ระบบแสง (Photosystem) CU 474 427
  • 16. รูปที่ 10.2.1 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ (จาก George B. Johnson 1995 The Living World หน้า 92, 93) สารสี (Pigment) สารสี (Pigment) คือ โมเลกุลของสารทีสามารถดูดพลังงานแสงได้ มีหลายชนิด ่ แต่ละชนิดมีความสามารถดูดพลังงานแสงในช่วงคลื่นทีแตกต่างกัน แสงทีตาคนมองเห็น ่ ่ กับแสงทีตาสัตว์มองเห็นอาจเป็ นแสงในช่วงคลื่นทีต่างกัน เนื่องจากตาของคนและสัตว์ม ี ่ ่ สารสีทแตกต่างกันนันเอง แสงทีตาคนมองเห็น (Visible Light) คือ แสงทีมความยาวคลื่น ่ี ่ ่ ่ ี ทีสารสีในตา คือ เรตินล (Retinal) สามารถดูดได้ ซึงอยู่ระหว่าง 380 นาโนเมตร (สีมวง) ่ ั ่ ่ ถึ ง 750 นาโนเมตร (สีแ ดง) ในขณะที่ส ัต ว์ อ่ื น ๆ ใช้ ส ารสีใ นการมองเห็ น แถบสี (Spectrum) ทีแตกต่างกัน เช่น ตาแมลงมีสารสีทดดแสงช่วงคลื่นสันกว่าเรตินลของคน ซึง ่ ่ี ู ้ ั ่ เป็ นสาเหตุททาให้ผงสามารถมองเห็นแสง Ultraviolet (UV) ได้ในขณะทีตาของคนมองไม่ ่ี ํ ้ึ ่ เห็น แต่แมลงก็ไม่สามารถมองเห็นแสงสีแดงเหมือนอย่างทีคนเห็น สารสีทสาคัญทีพชใช้ ่ ่ี ํ ่ ื ดูดพลังงานแสง คือ คลอโรฟิ ล เป็ นสารสีทแม้ว่าจะดูดชนิดของโฟตอนได้น้อยกว่าเรตินัล ่ี ของคน แต่กมประสิทธิภาพในการจับโฟตอนได้มากกว่า เนื่องจากโมเลกุลมีแมกเนเซียม ็ ี เป็ นองค์ประกอบ ซึงใช้จบกับโฟตอน ่ ั 428 CU 474
  • 17. สารสีทใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงในสิงมีชวตชนิดต่าง ๆ มีหลายชนิด ่ี ้ ่ ีิ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 10.2.1 สารสีในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของสิงมีชวต ้ ่ ีิ ชนิดของสิงมีชวต ่ ีิ ยูคาริโอต มอสส์ เฟิรน ์ พืชดอก สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้ําตาล สาหร่ายสีแดง โปรคาริโอต สาหร่าย สีเขียวแกมนํ้าเงิน ซัลเฟอร์ เพอร์เพิล แบคทีเรีย กรีน แบคทีเรีย คลอโรฟิล a b c d a แบคเทอริโอคลอโรฟิล คาโร b c d e g ตินอยด์ ไฟโค บิลน ิ + + - - + - + + - + - + + - - + + + + + + - - + + + + + - - + หรือ + + - + หรือ + หรือ + - คลอโรฟิ ล (Chlorophyll) คลอโรฟิ ล (Chlorophyll) เป็ นสารสีท่ีมสเขียว เปลี่ยนแปลงมาจากโปรโตี ี คลอโรฟิล (Protochlorophyll) เมือถูกแสง โมเลกุลมีโลหะแมกนีเซียม (Mg) ทีจบอยู่กบ ่ ่ั ั ไนโตรเจน อยู่กลางโมเลกุ ลที่เป็ นวงแหวนคาร์บอน และมีส่วนหางที่เป็ นสารประกอบ คาร์บอนกับไฮโดรเจน (Hydrocarbon Tail) คลอโรฟิ ลมี 4 ชนิด คือ คลอโรฟิ ล เอ บี ซี และดี แต่ละชนิดมีโครงสร้างเคมีต่างกันทีกลุ่มด้านข้างเท่านัน และสามารถดูดแสงในช่วง ่ ้ ั คลื่นทีต่างกัน โมเลกุลของคลอโรฟิ ลจะฝงตัวอยู่บนโมเลกุลโปรตีนทีเป็ นองค์ประกอบของ ่ ่ เยือไทลาคอยด์ ่ CU 474 429
  • 18. รูปที่ 10.2.2 โครงสร้างโมลกุลของคลอโรฟิล เอ และ บี (ก) และแบบจําลองตําแหน่งของคลอโรฟิลบนโปรตีน ทีเยือไทลาคอยด์ (ข) (จาก Purves et al. , 2003. Life : The Science of Biology, 7th Edition ในโครงการ ่ ่ ตําราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. 2551, ชีววิทยา 2 หน้า 64) แคโรทีนอยด์ (Carotenoid) แคโรทีนอยด์ เป็ นสารสีทมสสมแดง ไม่ละลายนํ้า มี 2 ชนิด คือ แคโรทีน (Carotene) ่ี ี ี ้ มีสสม และแซนโทฟิล (Xanthophyll) มีสเี หลือง ซึงมักอยู่รวมกันกับคลอโรฟิลในคลอโรพ ี้ ่ ่ ลาสต์ แต่พชบางชนิดมีแคโรที นอยด์อยู่ในโครโมพลาสต์ (Chromoplast) เช่น แครอท ื มะเขือเทศ และผลไม้ทมสเี หลือง เป็ นต้น แคโรทีนอยด์เป็ นสารสีประกอบ มีหน้าทีช่วยดูด ่ี ี ่ พลังงานแสงช่วงคลื่น 400-500 นาโนเมตร ส่งให้คลอโรฟิ ลเอ ซึ่งเป็ นช่วงคลื่นที่แคโรที นอยด์ดูดได้ดทสุดในขณะทีคลอโรฟิ ล เอ ดูดได้น้อย นอกจากนี้ยงช่วยป้องกันไม่ให้คลอ ี ่ี ่ ั โรฟิลถูกทําลายจากแสงในปฏิกรยาโฟโตออกซิเดชัน (Photo Oxidation) อีกด้วย ิิ ไฟโคบิ ลิน (Phycobilin) ไฟโคบิลน เป็ นสารสีทพบเฉพาะในสาหร่ายสีแดงและสาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน มี ิ ่ี 2 ชนิด คือ ไฟโคอีรทน (Phycoerythin) มีสารสีแดง ดูดแสงช่วงคลื่น 495-565 นาโนเมตร ซึง ี ิ ่ เป็ นสีเขียว พบในสาหร่ายสีแดง อีกชนิดหนึ่ง คือ ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) เป็ นสาร 430 CU 474
  • 19. สีน้ําเงิน ดูดแสงช่วงคลืน 550-615 นาโนเมตร พบในสาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ไฟโคบิลน ่ ิ เป็ นสารสีประกอบโดยทําหน้าทีดดพลังงานแสงส่งให้กบคลอโรฟิล เอ ่ ู ั แบคทีริโอคลอโรฟิ ล (Bacteriochlorophyll) แบคทีรโอคลอโรฟิ ล เป็ นสารสีทพบในแบคทีเรียทีสงเคราะห์ดวยแสงได้เป็ นสารสี ิ ่ี ่ ั ้ ทีดูดพลังงานแสงได้ดในช่วงคลื่น 358 ซึงเป็ น Ultraviolet และ 772 นาโนเมตร ซึงเป็ น ่ ี ่ ่ Infrared นอกจากนี้แบคทีเรียพวก Green-Sulfur Bacteria เช่น คลอโรเบียม (Chlorobium) สามารถดูดพลังงานแสงได้ดทชวงคลืน 650 นาโนเมตร และ 660 นาโนเมตร ี ่ี ่ ่ รูปที่ 10.2.3 การดูดแสงของโมเลกุลสารสีชนิดต่าง ๆ ทีความยาวคลื่นต่าง ๆ ่ th (จาก Purves et al. , 2003. Life : The Science of Biology, 7 Edition ในโครงการตําราวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. 2551, ชีววิทยา 2 หน้า 65) การจับพลังงานจากแสงอาทิ ตย์ แสงมีคุณสมบัตเิ ป็ นทังคลืนและอนุภาค พลังงานแสงอยู่ในรูปของอนุ ภาคทีเรียกว่า ้ ่ ่ โฟตอน (Photon) แต่ละโฟตอนมีพลังงานทีเรียกว่า ควอนตัม (Quantum) ซึงแปรผกผัน ่ ่ กับความยาวคลื่นแสง คือ เมื่อแสงมีความยาวคลื่นสันจะมีระดับพลังงานสูง พลังงานแสง ้ คํานวณได้จากสมการ E = hv (Quantum) เมือ h เป็ นค่าคงที่ (Planck’s Constant ; h = ่ -34 6.626 x 10 Js) แสงอาทิต ย์ บ างช่ ว งคลื่น มีโ ฟตอนมาก ทํ า ให้ ม ีร ะดับ พลัง งานสู ง มาก เช่ น รังสีเอกซ (x-rays) และแสงอัลตราไวโอเลต (UV) บางช่วงคลื่นทีมโฟตอนน้อยจะมีระดับ ่ ี CU 474 431
  • 20. พลังงานตํ่า เช่น คลื่นวิทยุมโฟตอนน้อยมาก โดยทัวไปแสงทีมพลังงานสูงจะมีความยาว ี ่ ่ ี คลื่นแสงสันกว่าแสงทีมพลังงานตํ่า ตาของคนสามารถรับแสงทีมโฟตอนอยู่ในระดับปาน ้ ่ ี ่ ี กลาง เรียกว่า แสงทีมองเห็น (Visible Light) เนื่องจากตาของคนสามารถดูดโฟตอนของ ่ แสงชนิดนัน ๆ ได้ ในพืชแม้จะดูดโฟตอนของแสงได้มากชนิดกว่าตาของคน แต่ชวงคลื่นที่ ้ ่ พืชดูดเป็ นหลัก คือ สีน้ํ าเงินและสีแดง และสะท้อนกลับสีเขียว การทีตาของเราเห็นใบไม้ ่ เป็ นสีเขียว เป็ นเพราะใบของพืชจะดูดคลื่นแสงทังหมด ยกเว้นคลื่นแสง 500-600 นาโน ้ เมตร ซึ่งเป็ นสีเขียวจะสะท้อนกลับ และสารสีท่ตาจะดูดเอาไว้ ทําให้สมองรับรู้ว่าเป็ นสี ี เขียว รูปที่ 10.2.4 สารสีของตาดูดแสงสีเขียวทีสะท้อนกลับจากใบพืช ่ (จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 94) แสงทีตามองเห็นเป็ นสัดส่วนทีน้อยมากของโฟตอนในแสงอาทิตย์ เรียกช่วง โฟตอน ่ ่ ของแสงทีเห็นว่า Electromagnetic Spectrum แสงทีมความยาวคลื่นสันทีสด และโฟตอน ่ ่ ี ้ ุ่ มีพลังงานสูงทีสด คือ รังสีแกมมา (Gamma-rays) มีชวงคลื่นน้อยกว่า 1 นาโนเมตร และ ุ่ ่ คลืนแสงทีมพลังงานตํ่าทีสดมีความยาวคลืนเป็ นพันเมตรได้แก่ คลืนวิทยุ ่ ่ ี ุ่ ่ ่ 432 CU 474
  • 21. รูปที่ 10.2.5 โฟตอนของพลังงานทีแตกต่างกัน : Electromagnetic Spectrum ่ (จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 94) การจับพลังงานแสงของสารสีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเลคตรอน ในโมเลกุลของสารสี เมือได้รบพลังงานแสง อิเลคตรอนทีเคลื่อนทีในวงโคจรรอบนิวเคลียส ่ ั ่ ่ ของอะตอม เป็ นสิงบ่งบอกถึงระดับพลังงานในโมเลกุลของสาร กล่าวคือ ในสภาวะปกติ ่ (Ground State) อิเลคตรอนจะรักษาระยะห่างระหว่างนิวเคลียสกับอิเลคตรอนให้คงที่ ซึง ่ จะมีค่าพลังงานน้อย เมื่อโมเลกุลของสารสีได้รบแสงสว่างโฟตอนจะพุ่งชนอิเลคตรอนพร้อม ั กับถ่ายทอดพลังงานให้ ทําให้อเลคตรอนเคลื่อนทีเร็วขึนและห่างออกจากวงโคจร โมเลกุล ิ ่ ้ ของสารสีอยู่ในภาวะตื่นตัว (Excited State) กลายเป็ นสารสีทถูกกระตุ้น (Activate ่ี Pigment) และทํางานได้โดยมีพลังงานเพิมขึน ่ ้ Pigment Molecule (P) + Quantum (hv) Activate Pigment (P+) สารสีท่ีอ ยู่ใ นสภาวะตื่น ตัว นี้ ไ ม่อ ยู่ต ว จะกลับ เข้า สู่ส ภาวะปกติโ ดยอิเ ลคตรอน ั ปลดปล่อยพลังงานทีดดไว้ออก เพือเคลือนทีกลับเข้าสูวงโคจรเดิม ซึงมีระดับพลังงานปกติ ่ ู ่ ่ ่ ่ ่ สารสีสามารถปลดปล่อยพลังงานทีได้รบมาจากแสงโดยการเรืองแสง (Fluorescence) เช่น ่ ั คลอโรฟิ ล เอ ดูดแสงทีความยาวคลื่น 660 มิลลิไมโครเมตร จะเปล่งแสงในช่วงความยาว ่ คลื่นมากกว่า 700 มิลลิไมโครเมตร ซึ่งเป็ นช่วงคลื่นสีแดง ทังนี้เนื่องจากแสงที่ดูด ไว้ม ี ้ พลังงานสูงกว่าแสงที่เปล่งออกมา พลังงานบางส่วนสูญเสียไปในรูปของความร้อน แสง และกระบวนการทางเคมี นอกจากนี้อิเลคตรอนที่อยู่ในภาวะตื่นตัว อาจหลุดออกจาก CU 474 433
  • 22. โมเลกุลของสารสี ก่อนจะเข้าสูวงโคจรเดิม โดยมีสารประกอบหลายชนิดเป็ นตัวรับอิเลคตรอนที่ ่ จะถ่ายทอดกันไปเป็ นทอด ๆ เรียกว่า ตัวรับอิเลคตรอน (Electron Acceptor) ซึงเป็ นสาร ่ พวก Coenzyme ได้แก่ Ferridoxin NADP และ Cytochrome สารสีส่วนใหญ่ทําหน้าที่รบพลังงานแสงและส่งต่อให้โมเลกุลอื่นถ่ายทอดกันเป็ น ั ทอด ๆ ไปจนถึงโมเลกุลทีเป็ นศูนย์กลางการรับแสง (Reaction Center) ดังนัน สารสีสวน ่ ้ ่ ใหญ่จงเปรียบเสมือนกับตัวรับสัญญาณ (Antenna) ของวิทยุโทรทัศน์ทสงภาพและเสียงไป ึ ่ี ่ ทีเครืองรับ ่ ่ รูปที่ 10.2.6 การรับและถ่ายทอดพลังงานของสารสีไปยังศูนย์กลางปฏิกรยาเคมี ิิ th (จาก Purves et al. , 2003. Life : The Science of Biology, 7 Edition ในโครงการตําราวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. 2551, ชีววิทยา 2 หน้า 67) สารสีในคลอโรพลาสต์ จะรวมกันเป็ นหน่วยสังเคราะห์แสง (Photosynthetic Unit หรือ Quantasome) ย่อย ๆ บนไทลาคอยด์ของกรานุ่มแต่ละหน่วยประกอบด้วยคลอโรฟิล 400-600 โมเลกุล มีศูนย์กลางการรับแสง (Reaction Center) 2 ระบบ คือ ระบบแสง I (Photosystem I, PS I) และระบบแสง II (Photosystem II, PS II) PS I มีสารสีระบบ I (Pigment System I) เป็ นตัวรับแสง ประกอบด้วย คลอโรฟิล เอ ชนิดที่ดูดพลังงานแสงความยาวคลื่น 683 นาโนเมตร กับ คลอโรฟิ ล เอพิเศษ ที่ดูด พลังงานแสงความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร เรียกสารสีระบบ I ว่า P 700 ซึงหมายถึง ่ โมเลกุลคลอโรฟิลทีทาหน้าทีเป็ นศูนย์กลางการรับแสงของระบบแสง I ่ ํ ่ PS II มีสารสีระบบ II (Pigment System II) เป็ นตัวรับแสง ประกอบด้วย คลอโรฟิล เอ ชนิดทีดูดพลังงานแสงความยาวคลื่น 673 นาโนเมตร กับคลอโรฟิ ล บี เป็ นส่วนใหญ่ และ ่ สารสีอ่น ๆ เช่น แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลน เรียกสารสีระบบ II ว่า P 680 ซึงหมายถึง ื ิ ่ 434 CU 474
  • 23. โมเลกุลคลอโรฟิลทีทาหน้าทีเป็ นศูนย์กลางการรับแสง ของระบบแสง II (P เป็ นอักษรย่อ ่ ํ ่ ของ Pigment และใช้ค่าความยาวคลื่นแสงทีดดพลังงานแสงได้มากทีสด เป็ นค่าของระบบ ่ ู ุ่ สารสี) PS II ดูดพลังงานแสงคลื่นสันกว่า PS I ในแต่ละระบบแสงมีคลอโรฟิล ประมาณ ้ 200-300 โมเลกุล ปฏิกิริยาเคมีในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง มีปฏิกรยาเคมีแบ่งเป็ น 2 ตอนทีเกิดขึนอย่างต่อเนื่อง ้ ิิ ่ ้ คือ ปฏิกรยาทีตองใช้แสง และปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง ดังนี้ ิิ ่ ้ ิิ ่ ้ ปฏิ กิริยาที่ต้องใช้แสง (Light Dependent Reaction) ปฏิกรยาทีตองใช้แสง เป็ นกระบวนการทีพชตรึง (Fixation) พลังงาน เพือเปลียนเป็ น ิิ ่ ้ ่ ื ่ ่ พลังงานเคมีเก็บอยู่ในสารประกอบ ATP และ NADPH สําหรับใช้ในกระบวนการตรึง CO2 ในปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง ATP เป็ นสารทีมพนธะเคมีพลังงานสูง (High Energy Bond) ิิ ่ ้ ่ ี ั ทีเซลล์ใช้ในกิจกรรมสําคัญ 4 อย่าง ได้แก่ ในปฏิกรยาเคมีตามทีเซลล์ตองการ การขนส่ง ่ ิิ ่ ้ สารข้ามเยื่อเซลล์หรือออร์แกเนลล์ และการเคลื่อนที่ขององค์ประกอบภายในเซลล์ ส่วน ิิ ่ ้ NADPH เป็ นสารทีพชใช้ในการตรึงและรีดวส์ CO2 ในปฏิกรยาทีไม่ตองใช้แสง ่ ื ิ ปฏิกรยาทีตองใช้แสง ประกอบด้วย 2 ปฏิกรยา คือ Photolysis หรือ Hill Reaction ิิ ่ ้ ิิ เป็ นปฏิกรยาทีพลังงานแสงทําให้น้ําแตกตัว และมีการเคลื่อนย้ายอิเลคตรอนจากโมเลกุล ิิ ่ ่ ิิ ของนํ้าไปรีดวส์ NADP+ เพือสร้าง NADPH อีกปฏิกรยา คือ Photophosphorylation เป็ น ิ ปฏิกรยาทีพชนําพลังงานแสงไปใช้สร้าง ATP โดยการเพิมหมูฟอสเฟต (Pi) ให้กบ ADP ิิ ่ ื ่ ่ ั กระบวนการตรึงพลังงานแสงบนเยื่อไทลาคอยด์ต้อ งอาศัยสารที่ป ระกอบด้ว ย โปรตีน 4 กลุ่ม ได้แก่ ระบบแสง I ระบบแสง II ATP Synthase ซึงเป็ นเอนไซม์ ในปฏิกรยาการ ่ ิิ สร้าง ATP และสารทีทาหน้าทีเป็ นตัวรับและถ่ายทอดอิเลคตรอน ได้แก่ Cytochrome b6 ่ ํ ่ Cytochrom f และ Plastocyanin การถ่ายทอดอิเลคตรอนในปฏิกรยาทีตองใช้แสง เกิดได้ 2 แบบ ได้แก่ ิิ ่ ้ 1. การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักร (Cyclic Electron Transfer) เป็ นการ ถ่ายทอดอิเลคตรอนในระบบแสง I เพียงระบบเดียว เมือ P 700 ถูกกระตุนด้วยพลังงาน ่ ้ แสง 2 โฟตอน (hv) 2 อิเลคตรอนของสารสีจะอยู่ในภาวะตื่นตัว ทําให้ค่าศักย์ไฟฟ้าเปลียน ่ CU 474 435
  • 24. จาก +0.4 ev ไปเป็ น -0.6 ev ซึงเป็ นค่าทีใกล้เคียงกับสารรับอิเลคตรอนชนิดแรกทีไม่ ่ ่ ่ ทราบแน่ ชดว่าเป็ นสารอะไร (x) คลอโรฟิ ลจึงถ่ายทอดอิเลคตรอนให้สาร x ซึงจะมีสาร ั ่ ตัวรับและถ่ายทอดกันเป็ นทอด ๆ คือ Feridoxin Cytochrome-b6 Cytochrome-f และ Plastocyanin แล้วกลับไปที่ P 700 การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักรพลังงานที่ ปลดปล่อยจากอิเลคตรอนนํ าไปสร้าง ATP ได้ 1 โมเลกุล และไม่มการสร้าง NADPH ี ้ เนื่องจากไม่มการแตกตัวของนํ้าจึงไม่ม ี O2 เกิดขึนด้วย ี การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักรเกิดจาก ระบบแสง II ไม่ทํางาน หรือขาด ประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเกิดจากการถูกยับยังด้วยสารเคมี หรือได้รบแสงช่วงคลื่นมากกว่า ้ ั 690 นาโนเมตร การยับยังระบบแสง II ส่งผลให้ประสิทธิภาพการสังเคราะห์ดวยแสงลดลง ้ ้ + ิิ ่ ่ี ิ ด้วย NADP จากปฏิกรยาทีไม่ใช้แสงลดลงไปด้วย จึงเป็ นสาเหตุททําให้อเลคตรอนบาง ส่วนจากระบบแสง I กลับมาที่ Cytochrome f และ ระบบแสง I ตามลําดับ รูปที่ 10.2.7 การถ่ายทอดอิเลคตรอนเป็ นวัฎจักร (จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 96) 2. การถ่ายทอดอิเลคตรอนไม่เป็ นวัฎจักร (Non Cyclic Electron Transfer) เป็ น การถ่ายทอดอิเลคตรอนผ่านทัง PS-I และ PS-II และมีการแตกตัวของนํ้าในปฏิกรยา ้ ิิ Phololysis โดยเริมจากสารสีใน PS-I และ PS-II ได้รบการกระตุนจากพลังงานแสง 2 ่ ั ้ โฟตอนพร้อมกัน P 700 ใน PS-I จะถ่ายทอดอิเลคตรอนให้สาร x (Ferridoxin Reducing Substant) และถ่ายทอดให้กบ Ferridoxin และ NADP+ ทํา P 700 ขาดอิเลคตรอนไป ั การทีจะคงสภาพเป็ นโมเลกุลทีให้อเลคตรอนของ P 700 ไว้ จึงต้องรับอิเลคตรอนจากสาร ่ ่ ิ อื่นทีมค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าทีต่ํากว่า สารดังกล่าวนี้คอ Plastocyanin (Pc) ขณะเดียวกัน ่ ี ่ ื 436 CU 474
  • 25. Pc ก็จะรับอิเลคตรอนจาก PS-II มาทดแทนโดย P 680 ทีได้รบการกระตุนจากพลังงาน ่ ั ้ แสง 2 โฟตอน ถ่ายทอด 2 อิเลคตรอนให้กบสาร Q (Plastoquinone Reducing Substant) ั และส่งต่อให้กบตัวรับอื่นตามลําดับ คือ Plastoquinone (Pq) Cytochrome b559 ั Cytochrome-f และ Plastocyanin (Pc) PS-II เมื่อสูญเสียอิเลคตรอนไปแล้วจะคงสภาพของโมเลกุล ผูให้อเลคตรอนโดย ้ ิ รับอิเลคตรอนจากการแตกตัวของนํ้าใน PS-II ในปฏิกรยา Photolysis ทีม ี Mn2- และ Clิิ ่ เป็ นตัวกระตุนโดยตรงและมีแสงเป็ นตัวช่วยกระตุนทางอ้อม ดังสมการ ้ ้ H2O Light 2H+ + 2e + ½ O 2 Mn2- , Cl- 2H+ จะส่งผ่านไปยัง Pq และเข้ารวมกับ NADP+ พร้อมกับรับอิเลคตรอนมาจาก PS-I ได้เป็ น NADPH + H+ ดังสมการ NADP+ + 2H+ + 2e- NADPH + H+ 2 อิเลคตรอน จะไปทดแทนอิเลคตรอนใน PS-I โดยถ่ายทอดไปทาง PS-II ซึงมีการ ่ ปลดปล่อยพลังงานทีนําไปสร้าง ATP ได้ 2 โมเลกุล ่ รูปที่ 10.2.8 การถ่ายทอดอิเลคตรอนไม่เป็ นวัฎจักรในการสร้าง ATP (ก) และการถ่ายทอดอิเลคตรอนผ่านสารทีมโปรตีนเป็ นองค์ประกอบในการสร้าง ATP (ข) ่ ี (จาก George B. Johnson, 1995. The Living World หน้า 96, 97) CU 474 437