SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 217
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือก 
ผลงานการวิจัย/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 
ชื่อผลงาน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
ผู้เสนอผลงาน 
นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร 
ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม 
วิทยฐานะ รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ 
โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา 
เอกสารเล่มนี้ เป็นเอกสารการนาเสนอผลงานวิจัย/นวัตกรรม การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 เพื่อประกอบการคัดเลือกผลงานนวัตกรรม โรงเรียนในฝัน ซึ่งประกอบด้วย ส่วนประกอบ 7 รายการ ได้แก่ 1) ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ 2) จุดประสงค์และเป้าหมายของการ ดาเนินงาน 3) กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน 4) ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ ประโยชน์ที่ได้รับ 5) ปัจจัยความสาเร็จ 6) บทเรียนที่ได้รับ 7) การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/ รางวัลที่ได้รับ นอกจากนั้นยังได้นาเสนอเค้าโครงงานวิจัย/นวัตกรรม และข้อมูลประกอบการ ดาเนินงานที่สามารถอ้างอิงได้ ซึ่งเป็นข้อมูลเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นได้นาเสนอไว้ในภาคผนวก พร้อมได้ จัดทาเอกสารนี้เป็นหนังสืออิเลคทรอนิกส์ (e-Book) เพื่อสะดวกในการศึกษาข้อมูลการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้สนใจอีกด้วย 
ขอขอบคุณท่านผู้บริหาร คณะครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และมีส่วน ร่วมในการดาเนินงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษา และเป็นแนวทางสาหรับคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผลงานตามสมควร 
( นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร ) 
รองผู้อานวยการโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
สารบัญ 
หน้า 
1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ..................................................................... 
1 
2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน................…………….…………………………………… 
2 
3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน....………………………..…….…………………… 
3 
4. ผลการดาเนินการ / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ...………………………….………………………… 
6 
5. ปัจจัยความสาเร็จ.................................................................................................................... 
7 
6. บทเรียนที่ได้รับ....................................................................................................................... 
8 
7. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ.............................................................. 
8 
ภาคผนวก.................................................................................................................................... 
10 
ภาคผนวก ก เค้าโครงงานวิจัย / นวัตกรรม............................................................................ 
11 
ภาคผนวก ข เอกสารประกอบความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ..................... 
17 
ภาคผนวก ค เอกสารประกอบกระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน............... 
20 
ภาคผนวก ง ผลการดาเนินการ / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ........................................... 
25 
ภาคผนวก จ ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-net) 
38 
ภาคผนวก ฉ ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับ ผลการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 63...... 
50 
ภาคผนวก ช ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับ การสอนเสริมวิชาการ..................................................... 
63 
ภาคผนวก ซ ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับการนิเทศ......................................................................... 
92 
ภาคผนวก ฌ ภาพประกอบการดาเนินงาน........................................................................... 
126 
ภาคผนวก ญ เกียรติบัตรผลงานดีเด่นของผู้เสนอผลงาน....................................................... 
208
1 
ชื่อผลงาน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
ผู้เสนอผลงาน นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร 
โรงเรียน สมเด็จพิทยาคม สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 
โทรศัพท์ 043-861137 โทรสาร 043-861137 โทรศัพท์มือถือ 089-7131731 
e-mail : Chaweewan.spk@gmail.com 
1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ 
การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ และถ้าคุณภาพของนักเรียนยังไม่ได้มาตรฐาน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทีต้องหาวิธี พัฒนาให้สูงกว่ามาตรฐานให้จงได้ ในการวัดว่าสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่นั้น ดูได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือที่เรียกว่า O-NET (Ordinary National Education Test) โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) 
จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เมื่อเปรียบเทียบในปีการศึกษา 2554 และ 2555 พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง นั่นคือ ในระดับ 2.95 และ 2.94 ตามลาดับ ส่วนผล O-NET ม.3 ในปีการศึกษา 2554 และ 2555 เป็น 39.85 และ 41.14 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่เมื่อ พิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 4 กลุ่มสาระฯ คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ ส่วน ม.6 มีผล O-NET เป็น 32.03 และ 34.46 ซึ่งมีค่าเฉลี่ย เพิ่มขึ้น แต่เมื่อพิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 2 กลุ่มสาระฯ คือ สุขศึกษา และพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งผลคะแนน O-NET นี้ เมื่อคิดคะแนนตามการ ประเมินของ สมศ. ได้ระดับคุณภาพ พอใช้ 
จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลคะแนน O-NET ทาให้เห็น ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษา ซึ่งนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองได้ตั้งเป้าหมายว่าในปี 2561 คะแนน O-NET ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป ดังนั้น โรงเรียนจึงต้องกาหนดเป้าหมายว่าแต่ละปีจะทา อย่างไรให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อม ของโรงเรียน 
จากข้อมูลและสภาพปัญหาจะเห็นได้ว่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นต้องพัฒนา ทั้งผู้สอนและผู้เรียนไปควบคู่กัน เนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการดาเนินงานเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการ ดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อส่วนใด
2 
ส่วนหนึ่งมีปัญหาหรือไม่ทางาน ส่วนอื่นก็จะหยุดชะงักไปด้วย การที่ผลผลิตคือนักเรียนมีปัญหาใน ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ขาดทักษะในการแสวงหาความรู้นั้น เป็นผลที่เกิดจากปัญหา ด้านกระบวนการและปัจจัย เมื่อมองไปที่ปัจจัยนั้น การที่ครูได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องที่ใช้สอน หรือปฏิบัติงานน้อย หรือไม่นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาดการใช้วิจัยในชั้นเรียน ครูมักจะเน้นเนื้อหามุ่งสอนให้ จบตามเนื้อหาที่กาหนด มากกว่าที่จะสอนให้นักเรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา ไม่ชอบใช้สื่อการสอน เป็นผล ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นนั้นต้องอาศัยการ ทางานที่เป็นระบบ นั้นคือการทางานหรือการปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีขั้นตอน มีเหตุผล มีเอกสาร อธิบายขั้นตอน เอกสารบันทึก นับตั้งแต่การวางแผน (Plan) การดาเนินงานตามแผน (Do) การ ตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุง (Action) ครบวงจรที่เรียกว่า การบริหารเชิงคุณภาพวงจร PDCA หรือ การบริหารคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนา คุณภาพตามหลักการบริหารที่เป็นระบบครบวงจร มีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมคุณภาพของงานได้ เป็นอย่างดีอีกด้วย 
2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 
จุดประสงค์ของการดาเนินงาน 
1. เพื่อศึกษาการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จ พิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง 
เป้าหมายของการดาเนินงาน 
เป้าหมายเชิงปริมาณ 
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 
2. ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 
3. ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 120 คน ได้รับการพัฒนา 
4. นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 2,674 คน ได้รับการ พัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
3 
เป้าหมายเชิงคุณภาพ 
1. นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ 
2. ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 สามารถจัดการเรียนการสอนที่ยึด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมทักษะด้านด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการ แสวงหาความรู้ 
3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน 
กระบวนการผลิตผลงาน 
ขั้นตอนการผลิต ได้นาวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในกระบวนการผลิตและดาเนินการ ดังนี้ 
วงรอบที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 
Plan – การวางแผนปฏิบัติงาน 
1. ศึกษาปัญหาและข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน 
2. กาหนดแนวทางหรือกลยุทธ์ในการพัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 
2.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 
2.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 
2.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 
2.4 กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกิจกรรมการเรียนรู้ 
3. จัดทาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 
3.1 แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 
3.1.1 ขั้นตอนที่ 1 วางแผนการปฏิบัติงาน (Plan) 
3.1.2 ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินการตามแผน (Do) 
3.1.3 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบประเมินผล (Check) 
3.1.4 ขั้นตอนที่ 4 นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (Action) 
3.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วนร่วม 
3.3 แบบบันทึกและแบบสรุป จานวน 4 ฉบับ 
3.3.1 ฉบับที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่โรงเรียนได้รับ 
3.3.2 ฉบับที่ 2 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่บุคลากรใน โรงเรียนได้รับ
4 
3.3.3 ฉบับที่ 3 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่นักเรียนได้รับ 
3.3.4 ฉบับที่ 4 แบบสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 
4. หาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 
DO – การดาเนินงานตามแผน 
1. ดาเนินการตามโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยปฏิบัติกิจกรรมดังนี้ 
1.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 
1.1.1 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และสภาพสังคมในปัจจุบัน 
1.1.2 จัดให้มีห้องศูนย์การเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระฯ 
1.1.3 จัดให้นักเรียนได้มีห้องประจาในการเรียนทุกห้อง 
1.1.4 จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีให้ครูและนักเรียนได้ใช้ครบทุกห้อง 
1.1.5 พัฒนากระบวนการบริหารจัดการในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็น ระบบ 
1.1.6 ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียน และนอกโรงเรียน 
1.1.7 ส่งเสริมให้นักเรียนได้สืบค้นความรู้จากอินเตอร์เน็ต โดยโรงเรียนได้จัด ให้บริการ Wi-Fi โซน ทั่วทั้งบริเวณโรงเรียน 
1.1.8 จัดคาบการเรียนการสอนให้นักเรียนได้อบรมคุณธรรม จริยธรรม ฝึกสมาธิ สัปดาห์ละ 1 คาบ 
1.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 
1.2.1 จัดให้มีการสอนเสริมวิชาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนใน โรงเรียน 
1.2.2 จัดให้มีการสอนเสริมวิชาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญภายนอก 
1.2.3 จัดให้มีค่ายวิชาการสาหรับนักเรียนในรายวิชา 5 กลุ่มวิชาหลักในโรงเรียน 
1.2.4 ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมทางวิชาการจากหน่วยงาน อื่น 
1.2.5 ส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการทั้งใน โรงเรียนและนอกโรงเรียน
5 
1.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 
1.3.1 จัดอบรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้กับครูผู้สอนทุกคน 
1.3.2 จัดประชุม สัมมนา หรืออบรมครูผู้สอนในด้านวิชาการทั้งในโรงเรียนและ นอกโรงเรียน 
1.3.3 จัดให้ครูผู้สอนได้ศึกษาดูงานด้านวิชาการ และอื่นๆ ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ 
1.3.4 ส่งเสริมให้ครูผู้สอนผลิตและใช้สื่อ นวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
1.4 กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
1.4.1 จัดให้มีการนิเทศ กากับติดตามการเรียนการสอนของครูผู้สอนแบบไม่เป็น ทางการ โดยมอบหมายให้คณะผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 
1.4.2 จัดให้มีการนิเทศ กากับติดตามการเรียนการสอนของครูผู้สอนแบบเป็น ทางการ โดยคณะกรรมการนิเทศตามคาสั่งของโรงเรียน และกาหนดให้ครูผู้สอนทุกคนต้องได้รับการ นิเทศจากคณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง โดยการสังเกตการณ์สอน 
1.4.3 จัดให้มีการกากับ ติดตามและตรวจสอบข้อมูลการสอนของครูในแต่ละวัน 
1.4.5 พัฒนากระบวนการนิเทศอย่างเป็นระบบ และดาเนินการอย่างต่อเนื่อง Check – การตรวจสอบประเมินผล 
1. ประเมินผลการดาเนินการตามโครงการโดยใช้แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA 
2. ประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 
Action – นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 
1. นาผลการประเมินมาวิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้อย เพื่อพัฒนาแก้ไข และปรับปรุง เพื่อดาเนินการในวงรอบที่ 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 
วงรอบที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 
Plan – การวางแผนปฏิบัติงาน 
1. นาผลการประเมินจากวงรอบที่ 1 มาปรับปรุงการดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ใน โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
6 
DO – การดาเนินงานตามแผน 
1. ดาเนินการตามโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วงรอบที่ 2 โดยปฏิบัติ 
กิจกรรมดังนี้ 
1.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 
1.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 
1.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 
1.4 กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
Check – การตรวจสอบประเมินผล 
1. ประเมินผลการดาเนินการตามโครงการโดยใช้แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อ 
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ 
PDCA 
2. ประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 
Action – นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 
1. นาผลการประเมินมาวิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้อย เพื่อพัฒนาแก้ไข และเสนอแนะ 
ข้อที่ควรปรับปรุง 
2. จัดทารายงานผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ 
โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA 
4. ผลการดาเนินการ / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ 
ผลการดาเนินการ 
1. ผลการประเมินการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน 
สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA อยู่ในระดับ ดี (  = 4.41, 
SD = 0.61) 
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA มีค่าเฉลี่ย 3.07 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.42 
3. ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 39.32 ลดลง ร้อยละ 4.45 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ย 
35.44 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.84 
4. ผลงานดีเด่นในรอบปีการศึกษา 2556 ได้แก่ 
4.1 รางวัลที่โรงเรียนได้รับ จานวน 9 รางวัล 
4.2 รางวัลที่บุคลากรในโรงเรียนได้รับ จานวน 206 รางวัล 
4.3 รางวัลที่นักเรียนได้รับ จานวน 186 รางวัล
7 
5. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ 
ในระดับ มาก (  = 4.43, SD = 0.65) 
ประโยชน์ที่ได้รับ 
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น 
พื้นฐาน ในปีการศึกษา 2556 ได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้น 
2. ได้แนวทางการดาเนินการเพื่อพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลสัมฤทธิ์ 
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษาต่อไป 
3. โรงเรียนได้ร่วมกันดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเชิงระบบที่ 
ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมี 
การดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ 
4. ผู้ปกครองชุมชน ให้การยอมรับ และส่งบุตรหลานมาเรียนที่โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม 
มากขึ้น 
5. ปัจจัยความสาเร็จ 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประกอบด้วย 
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลายส่วน ได้แก่ 
ผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์ในการทางาน เห็นความสาคัญ ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนิน 
กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ โดยมีการกาหนดแนวทางและนโยบายในการดาเนินงานอย่างเป็น 
รูปธรรมและต่อเนื่อง 
ครูผู้สอน มีคุณวุฒิตรงตามสาขาวิชา สอนตรงตามความสามารถ มีความมุ่งมั่นและ 
ทางานเป็นทีม มีความรับผิดชอบและมีความตระหนัก เห็นความสาคัญของพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ 
เรียนที่โรงเรียนได้กาหนดไว้ 
นักเรียน มีความพร้อมในการเรียนรู้ นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้ ให้ความร่วมมือในการ 
ร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดให้ 
ผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่อยู่ในการปกครอง 
หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่น ๆ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 
เขต 24 ให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการจัดกิจกรรมสอนเสริม และจัดการอบรมเพื่อพัฒนา 
บุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอน การผลิตสื่อ การวัดผลประเมินผล
8 
6. บทเรียนที่ได้รับ 
ข้อสรุป 
1. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA เป็น การดาเนินงานที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของครูในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการแสวงหาความรู้ และเพิ่มทักษะ ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน นอกจากนี้ยังเป็นการ ช่วยเพิ่มเติมความรู้ และ เตรียมความพร้อมในการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือ O – NETให้แก่นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 
2. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA เป็น การดาเนินงานที่ช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ 
1. การสอนให้นักเรียนมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการ แสวงหาความรู้ ครูจะต้องมีความรู้ที่ทันสมัยจากสื่อที่หลากหลาย และเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ เพื่อ จะได้ออกแบบการสอนให้นักเรียนได้มีทักษะที่ดีมากยิ่งขึ้น 
2. ครูผู้สอนจะต้องมีพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพ และต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง 
ข้อควรระวังในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้ 
1. การเพิ่มทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการแสวงหา ความรู้ให้กับนักเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นความความสามารถทางสติปัญญาที่ต้อง ใช้ระยะเวลา และความอดทน 
2. กิจกรรมในโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนควรมีการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับข้อมูลพื้นฐานของครูและนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา 
7. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ 
การเผยแพร่ 
1. เผยแพร่ในสหวิทยาเขตสมเด็จ ในการประชุมเชิงวิชาการ 
2. เผยแพร่ระดับอาเภอในการจัดนิทรรศการวิชาการ 
3. เผยแพร่ในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ในการ จัดนิทรรศการทางวิชาการ
9 
การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ 
1. ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) จากสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้าน มัธยมศึกษา ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียน ในปีการศึกษา 2554 คะแนนที่ได้ 8.22 ( เป็นตัวชี้วัดที่สาคัญส่งผลให้ได้รับการรับรอง) 
ปีการศึกษา 2555 คะแนนที่ได้ 8.53 
ปีการศึกษา 2556 คะแนนที่ได้ 9.21 เพิ่มขึ้นตามลาดับ 
2. ผลการแข่งขันกิจกรรมงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 63 
ระดับจังหวัด ได้รางวัลเหรียญทอง 100 รางวัล 
ได้รางวัลเหรียญเงิน 11 รางวัล 
ได้รางวัลเหรียญทองแดง 2 รางวัล 
รวม 113 รางวัล 
ระดับภาค ได้รางวัลเหรียญทอง 38 รางวัล 
ได้รางวัลเหรียญเงิน 15 รางวัล 
ได้รางวัลเหรียญทองแดง 8 รางวัล 
รวม 61 รางวัล 
ระดับประเทศ ได้รางวัลเหรียญทอง 1 รางวัล 
3. โรงเรียนมีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ ทาให้ผู้ปกครองเชื่อมั่น ศรัทธา และเป็นที่ยอมรับ ของผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่นๆ 
4. สถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ ให้การยอมรับในคุณภาพการจัดการศึกษา และได้ส่ง นักศึกษามาฝึกประสบการณ์วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
10 
ภาคผนวก
11 
ภาคผนวก ก 
เค้าโครงการวิจัย / นวัตกรรม
12 
เค้าโครงการวิจัย / นวัตกรรม 
เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
ชื่อผู้วิจัย นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร 
ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ วิทยฐานะรองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ 
ความสาคัญและความเป็นมา 
การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ และถ้าคุณภาพของนักเรียนยังไม่ได้มาตรฐาน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทีต้องหาวิธี พัฒนาให้สูงกว่ามาตรฐานให้จงได้ ในการวัดว่าสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่นั้น ดูได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และผลการทดสอบ O-NET 
จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เมื่อเปรียบเทียบในปีการศึกษา 2554 และ 2555 พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง ส่วนผล O-NET ม.3 ในปีการศึกษา 2554 และ 2555 มีค่าเฉลี่ย เพิ่มขึ้น แต่เมื่อพิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 4 กลุ่มสาระฯ คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ ส่วน ม.6 มีผล O-NET มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่เมื่อ พิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 2 กลุ่มสาระฯ คือ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งผลคะแนน O-NET นี้ เมื่อคิดคะแนนตามการประเมินของ สมศ ได้ระดับคุณภาพ พอใช้ 
จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลคะแนน O-NET ทาให้เห็น ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษา ซึ่งนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองได้ตั้งเป้าว่าในปี 2561 คะแนน O-NET ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จะต้องได้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป ดังนั้น โรงเรียนจึงต้องกาหนดเป้าหมายว่าแต่ละปีจะทาอย่างไรให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อมของ โรงเรียน 
จากข้อมูลและสภาพปัญหาจะเห็นได้ว่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นต้อง พัฒนาทั้งผู้สอนและผู้เรียนไปควบคู่กัน เนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการดาเนินงานเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการ ดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อส่วนใด
13 
ส่วนหนึ่งมีปัญหาหรือไม่ทางาน ส่วนอื่นก็จะหยุดชะงักไปด้วย การที่ผลผลิตคือนักเรียนมีปัญหาใน ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ขาดทักษะในการแสวงหาความรู้นั้น เป็นผลที่เกิดจากปัญหา ด้านกระบวนการและปัจจัย เมื่อมองไปที่ปัจจัยนั้น การที่ครูได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องที่ใช้สอน หรือปฏิบัติงานน้อย หรือไม่นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาดการใช้วิจัยในชั้นเรียน ครูมักจะเน้นเนื้อหามุ่งสอนให้ จบตามเนื้อหาที่กาหนด มากกว่าที่จะสอนให้นักเรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา ไม่ชอบใช้สื่อ การสอน เป็นผลทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นนั้น ต้องอาศัยการทางานที่เป็นระบบ นั้นคือการทางานหรือการปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีขั้นตอน มีเหตุผล มีเอกสารอธิบายขั้นตอน เอกสารบันทึก นับตั้งแต่การวางแผน (Plan) การดาเนินงานตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุง (Action) ครบวงจรที่เรียกว่า การบริหารเชิงคุณภาพ วงจร PDCA หรือ การบริหารคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการบริหารเพื่อ พัฒนาคุณภาพตามหลักการบริหารที่เป็นระบบครบวงจร มีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมคุณภาพ ของงานได้เป็นอย่างดีอีกด้วย 
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
1. เพื่อศึกษาการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 
2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 
3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง 
ขอบเขตและขั้นตอนการดาเนินงาน 
1. ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 
1.1 ผู้บริหารของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 5 คน 
1.2 ครูผู้สอนของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 120 คน 
1.3 ครูพิเศษของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 5 คน 
1.4 นักเรียนของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 2,674 คน
14 
2. เนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 
2.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 
2.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 
2.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 
2.4 กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
3. ระยะเวลาในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้เวลา 1 ปีการศึกษา 2556 ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2556 – 30 เมษายน 2557 
นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย/นวัตกรรม 
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จ พิทยาคม ปีการศึกษา 2556 และผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
2. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
3. กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน หมายถึง กิจกรรมที่พัฒนาการจัดการเรียน การรู้ การวางแผนการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
4. กิจกรรมสอนเสริมวิชาการ หมายถึง กิจกรรมการสอนเสริมในรายวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเตรียมทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โดยบุคลากรภายในโรงเรียน และวิทยากร จากหน่วยงานอื่น 
5. กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู หมายถึง กิจกรรมที่มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรครูใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ด้านการสื่อสารภาษาต่างประเทศ การสร้างสื่อการเรียนการสอน การ ทบทวนหลักสูตรสถานศึกษา 
6. กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง กิจกรรมการสังเกตการสอน โดยรองผู้อานวยการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญของครูผู้สอน 
7. การดาเนินงานด้วยวงจรคุณภาพ PDCA หมายถึง การพัฒนางานที่ทาด้วยวงจรเดมิ่ง (Deming Cycle) หรือ PDCA เป็นกระบวนการบริหารคุณภาพที่เป็นระบบและครบวงจรอย่าง
15 
ต่อเนื่องตามแนวคิดของดับเบิลยู เอดวาร์ด เดมิ่ง (W. Edwards Deming) ซึ่งนามาใช้ในการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การติดตามประเมินผล (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Action) 
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 
1. เครื่องมือใช้ในการพัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ โครงการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 
1.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 
1.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 
1.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 
1.4 กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 
2.1 แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 
2.1.1 ขั้นตอนที่ 1 วางแผนการปฏิบัติงาน (Plan) 
2.1.2 ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินการตามแผน (Do) 
2.1.3 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบประเมินผล (Check) 
2.1.4 ขั้นตอนที่ 4 นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (Action) 
2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วนร่วม 
2.3 แบบบันทึกและแบบสรุป จานวน 4 ฉบับ 
2.3.1 ฉบับที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่โรงเรียนได้รับ 
2.3.2 ฉบับที่ 2 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่บุคลากรในโรงเรียน ได้รับ 
2.3.3 ฉบับที่ 3 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่นักเรียนได้รับ 
2.3.4 ฉบับที่ 4 แบบสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
16 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย/นวัตกรรม 
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ในปีการศึกษา 2556 ได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้น 
2. ได้แนวทางการดาเนินการเพื่อพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลสัมฤทธิ์ใน การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษาต่อไป 
3. โรงเรียนได้ร่วมกันดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเชิงระบบที่ประกอบด้วย ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการดาเนินงาน สัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ
17 
ภาคผนวก ข 
เอกสารประกอบความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ 
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 และ 2555 
- ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 และ 2555
18 
ตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 และ 2555 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ปีการศึกษา 2554 
ปีการศึกษา 2555 
เพิ่มขึ้น/ ลดลง 
คิดเป็น 
ร้อยละ 
ภาษาไทย 
2.91 
2.99 
+0.08 
2.75 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
2.78 
2.76 
-0.02 
0.72 
ภาษาต่างประเทศ 
2.90 
2.97 
+0.07 
2.41 
คณิตศาสตร์ 
2.73 
2.60 
-0.13 
4.76 
วิทยาศาสตร์ 
2.62 
2.74 
+0.12 
4.58 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
3.42 
3.32 
-0.10 
2.92 
ศิลปะ 
3.17 
3.16 
-0.01 
0.32 
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 
3.15 
3.09 
-0.06 
1.90 
เฉลี่ย 
2.95 
2.94 
-0.01 
0.34 
ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 และ 2555 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ปีการศึกษา 2554 
ปีการศึกษา 2555 
เพิ่มขึ้น/ ลดลง 
คิดเป็น 
ร้อยละ 
ภาษาไทย 
48.09 
54.39 
+6.30 
13.10 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
42.04 
46.78 
+4.74 
11.27 
ภาษาอังกฤษ 
27.60 
25.03 
-2.57 
9.31 
คณิตศาสตร์ 
29.50 
24.41 
-5.09 
17.25 
วิทยาศาสตร์ 
29.39 
32.63 
+3.24 
11.02 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
51.20 
56.51 
+5.31 
10.37 
ศิลปะ 
43.11 
42.21 
-0.90 
2.09 
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 
47.90 
47.19 
-0.71 
1.48 
เฉลี่ย 
39.85 
41.14 
+1.29 
3.24
19 
ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 และ 2555 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ปีการศึกษา 2554 
ปีการศึกษา 2555 
เพิ่มขึ้น/ ลดลง 
คิดเป็น 
ร้อยละ 
ภาษาไทย 
38.75 
44.21 
+5.46 
14.09 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
31.31 
35.21 
+3.90 
12.46 
ภาษาอังกฤษ 
17.14 
18.05 
+0.91 
5.31 
คณิตศาสตร์ 
19.25 
19.83 
+0.58 
3.01 
วิทยาศาสตร์ 
24.99 
32.54 
+7.55 
30.21 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
52.68 
51.66 
-1.02 
1.94 
ศิลปะ 
26.97 
30.16 
+3.19 
11.83 
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 
45.11 
44.09 
-1.02 
2.26 
เฉลี่ย 
32.03 
34.46 
+2.43 
7.59
20 
ภาคผนวก ค 
เอกสารประกอบกระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน 
- โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
21 
1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม 
2. หน่วยงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ 
3. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร และคณะ 
4. สนองกลยุทธ์ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ข้อที่ 4, 6 
5. ระยะเวลาดาเนินงาน พฤษภาคม 2556 ถึง 31 มีนาคม 2557 
6. หลักการและเหตุผล 
การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ และถ้าคุณภาพของนักเรียนยังไม่ได้มาตรฐาน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทีต้องหาวิธี พัฒนาให้สูงกว่ามาตรฐานให้จงได้ ในการวัดว่าสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่นั้น ดูได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือที่เรียกว่า O-NET (Ordinary National Education Test) โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) 
จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลคะแนน O-NET ทาให้เห็น ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษา ซึ่งนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองได้ตั้งเป้าว่าในปี 2561 คะแนน O-NET ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จะต้องได้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป ดังนั้น โรงเรียนจึงต้องกาหนดเป้าหมายว่าแต่ละปีจะทาอย่างไรให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อมของ โรงเรียน 
จากข้อมูลและสภาพปัญหาจะเห็นได้ว่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นต้อง พัฒนาทั้งผู้สอนและผู้เรียนไปควบคู่กัน เนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการดาเนินงานเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการ ดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อส่วนใด ส่วนหนึ่งมีปัญหาหรือไม่ทางาน ส่วนอื่นก็จะหยุดชะงักไปด้วย การที่ผลผลิตคือนักเรียนมีปัญหาใน ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ขาดทักษะในการแสวงหาความรู้นั้น เป็นผลที่เกิดจากปัญหา ด้านกระบวนการและปัจจัย เมื่อมองไปที่ปัจจัยนั้น การที่ครูได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องที่ใช้สอน หรือปฏิบัติงานน้อย หรือไม่นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาดการใช้วิจัยในชั้นเรียน ครูมักจะเน้นเนื้อหามุ่งสอนให้
22 
จบตามเนื้อหาที่กาหนด มากกว่าที่จะสอนให้นักเรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา ไม่ชอบใช้สื่อการสอน เป็นผล ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า 
7. วัตถุประสงค์ 
7.1 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
7.2 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 
8. เป้าหมาย 
8.1 ด้านปริมาณ 
8.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปีการศึกษา2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 
8.1.2 ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 
8.1.3 ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 120 คน ได้รับการ พัฒนา 
8.1.4 นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 2,674 คน ได้รับ การพัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน 
8.2 ด้านคุณภาพ 
8.2.1 นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 มีทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ 
8.2.2 ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 สามารถจัดการเรียนการสอนที่ ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมทักษะด้านด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการ แสวงหาความรู้ 
9. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 
9.1 ระดับผลสัมฤทธิ์ทุกกลุ่มสาระสูงขึ้น 
9.2 คะแนนสอบ, O-Net ของนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถทางวิชาการทุกกลุ่มสาระ 
มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 
9.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการทุกกลุ่มสาระ
23 
10. วิธีดาเนินการ 
ขั้นตอน/กิจกรรม 
ระยะเวลา 
งบประมาณ 
ผู้รับผิดชอบ 
ขั้นเตรียม 
1. ประชุมวางแผน 
2. เสนอโครงการ 
3. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ ในโรงเรียน 
ขั้นดาเนินการ 
1. กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 
2. กิจกรรมนิเทศการสอน 
3. กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียน การสอน 
4. กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 
มีนาคม 2556 
มีนาคม 2556 
พฤษภาคม 2556 
ภาคเรียนที่ 1, 2 
ภาคเรียนที่ 1, 2 
ภาคเรียนที่ 1, 2 
ภาคเรียนที่ 1, 2 
100,000 
2,000 
15,000 
200,000 
นางฉวีวรรณ ลาภเสถียรและคณะ 
- งานพัฒนาบุคลากรและเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการทางาน 
(นายสิทธินันท์ จันทะยุทธ และคณะ) 
- งานนิเทศการศึกษา 
(นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร และ คณะ) 
- งานจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ 
(นางศิริพร สุวรรณศรี และ คณะ) 
- งานส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ 
(นายคาดี ขินานา และ คณะ) 
ขั้นประเมิน 
1. สังเกตและตอบแบบสอบถาม เมื่อจบภาคเรียนที่ 1/2556 
2. ปรับปรุงแก้ไข เพื่อดาเนินการใน ภาคเรียนที่ 2/2556 
3. สังเกตและตอบแบบสอบถาม เมื่อจบภาคเรียนที่ 2/2556 
สรุปและรายงานผล 
1. สรุปและรายงานผลเมื่อจบ ภาคเรียนที่ 1/2556 
2. ปรับปรุงแก้ไข เพื่อดาเนินการ ในภาคเรียนที่ 2/2556 
3. สรุปและรายงานผลเมื่อจบ ภาคเรียนที่ 2/2556 
ตุลาคม 2556 
มีนาคม 2557 
ตุลาคม 2556 
มีนาคม 2557 
นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร และ คณะ 
นางฉวีวรรณ ลาภเสถียรและคณะ
24 
11. งบประมาณ 
- เงินอุดหนุน จานวน 117,000 บาท 
- เงินเรียนฟรี 15 ปี จานวน 200,000 บาท 
รวมเงิน (ตลอดปี) 317,000 บาท 
( สามแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน ) 
12. การติดตามประเมินผล 
- แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลครบทุกกลุ่ม 
- รายงานผลการดาเนินกิจกรรม 
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
13.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2556 ของนักเรียนทุกระดับชั้นมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 
13.2 คะแนนผลการสอบ O-Net ปีการศึกษา 2556 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปี ที่ 6 มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 
13.3 คณะครู นักเรียน และผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนของทุกกลุ่ม กลุ่มสาระหลักอยู่ในระดับมากขึ้นไป 
ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ 
(นางศิริพร สุวรรณศรี) 
ลงชื่อ ผู้เห็นชอบโครงการ 
(นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร) 
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ 
ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ 
(นายพิริยะ อุทโท) 
ผู้อานวยการโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
25 
ภาคผนวก ง 
เอกสารประกอบผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ 
- ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA โดยรวม 
- ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA แยกตามกิจกรรม 
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2555 และ 2556 
- ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 
- ตารางแสดงความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวงจร คุณภาพ PDCA ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 
- ตารางแสดงรางวัลที่โรงเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556 
- รางวัลที่บุคลากรในโรงเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556 
- รางวัลที่นักเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556
26 
ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 
โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA โดยรวม 
ข้นตอนการดาเนินงาน  SD ระดับ 
วางแผนการปฏิบัติงาน 4.40 0.64 มาก 
การดาเนินการตามแผน 4.42 0.65 มาก 
การตรวจสอบประเมินผล 4.41 0.64 มาก 
นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 4.44 0.62 มาก 
รวม 4.41 0.64 มาก 
ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 
โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA แยกตามกิจกรรม 
ข้นตอนการดาเนินงาน  SD ระดับ 
กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 4.43 0.64 มาก 
กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 4.45 0.63 มาก 
กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 4.37 0.65 มาก 
กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.41 0.66 มาก 
รวม 4.41 0.64 มาก
27 
ตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2555 และ 2556 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ปีการศึกษา 2555 
ปีการศึกษา 2556 
เพิ่มขึ้น/ ลดลง 
คิดเป็น 
ร้อยละ 
ภาษาไทย 
2.99 
3.12 
+ 0.13 
4.35 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
2.76 
2.94 
+ 0.18 
6.52 
ภาษาต่างประเทศ 
2.97 
3.04 
+ 0.07 
2.36 
คณิตศาสตร์ 
2.60 
2.70 
+ 0.10 
3.85 
วิทยาศาสตร์ 
2.74 
2.80 
+ 0.06 
2.19 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
3.32 
3.60 
+ 0.28 
8.43 
ศิลปะ 
3.16 
3.28 
+ 0.12 
3.80 
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 
3.09 
3.26 
+ 0.17 
5.50 
เฉลี่ย 
2.94 
3.07 
+ 0.13 
4.42 
ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ปีการศึกษา 2555 
ปีการศึกษา 2556 
เพิ่มขึ้น/ ลดลง 
คิดเป็น 
ร้อยละ 
ภาษาไทย 
54.39 
53.46 
- 0.93 
1.71 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
46.78 
38.19 
- 8.59 
18.36 
ภาษาอังกฤษ 
25.03 
27.00 
+ 1.97 
7.87 
คณิตศาสตร์ 
24.41 
23.65 
- 0.76 
3.11 
วิทยาศาสตร์ 
32.63 
35.23 
+ 2.60 
7.97 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
56.51 
58.90 
+ 2.39 
4.23 
ศิลปะ 
42.21 
44.09 
+ 1.88 
4.45 
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 
47.19 
44.00 
- 3.19 
6.76 
เฉลี่ย 
41.14 
39.32 
- 1.83 
4.45
28 
ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ปีการศึกษา 2555 
ปีการศึกษา 2556 
เพิ่มขึ้น/ ลดลง 
คิดเป็น 
ร้อยละ 
ภาษาไทย 
44.21 
45.61 
+ 1.40 
3.17 
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
35.21 
31.38 
- 3.83 
10.88 
ภาษาอังกฤษ 
18.05 
22.13 
+ 4.08 
22.60 
คณิตศาสตร์ 
19.83 
16.76 
- 3.07 
15.48 
วิทยาศาสตร์ 
32.54 
29.32 
- 3.22 
9.90 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
51.66 
60.65 
+ 8.99 
17.40 
ศิลปะ 
30.16 
28.41 
- 1.75 
5.80 
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 
44.09 
49.41 
+ 5.32 
12.07 
เฉลี่ย 
34.46 
35.44 
+ 0.98 
2.84
29 
ตารางแสดงความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวงจรคุณภาพ 
PDCA ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 
รายการ  S.D. ระดับ 
1. การเผยแพร่นโยบายในการดาเนินการพัฒนา 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
4.33 
0.65 
มาก 
2. เข้าใจจุดประสงค์ของการดาเนินการพัฒนา 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
4.38 0.69 มาก 
3. ความพอใจในโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียน 
ดาเนินการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
4.46 
0.64 
มาก 
4. กิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ 
เรียนส่งผลต่อการเรียนของนักเรียน 
4.44 0.67 มาก 
5. โรงเรียนมีส่วนร่วมในโครงการ / กิจกรรมเพื่อ 
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
4.52 0.64 มากที่สุด 
6. ความร่วมมือของครูในการดาเนินการพัฒนา 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
4.46 0.67 มาก 
7. การดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนส่งผล 
ต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 
4.42 
0.67 
มาก 
8. โครงการ / กิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ 
เรียนมีผลต่อการพัฒนาโรงเรียน 
4.44 0.61 มาก 
9. โครงการ / กิจกรรมส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่าง 
โรงเรียน กับผู้ปกครองและชุมชน 
4.38 
0.66 
มาก 
10. การเผยแพร่ผลการสรุปผลการจัดโครงการ / 
กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
4.44 
0.64 
มาก 
รวม 4.43 0.65 มาก
30 
ตารางแสดงรางวัลที่โรงเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556 
ระดับรางวัล / ชื่อรางวัลที่ได้รับ 
หน่วยงานที่มอบรางวัล 
ชนะเลิศโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ประจาปี 2556 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 
สถานศึกษาดีเด่น การประเมินสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 
ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคดีเด่น ประจาปีการศึกษา 2556 
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานัก นายกรัฐมนตรี 
ชนะเลิศ การจัดนิทรรศการ อย.น้อย 
สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ 
ชนะเลิศ การตอบปัญหาธรรมะ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย 
ศูนย์อานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรียน เขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค9 (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยา เขตขอนแก่น 
ชนะเลิศ การประกวด VDO 
เรื่องสั้นคุณธรรม ระดับมัธยมศึกษา 
ตอนปลาย 
ศูนย์อานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรียน เขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค 9 (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย 
วิทยาเขตขอนแก่น 
ชนะเลิศ การประกวดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์จาก วัสดุเหลือใช้ ประเภทเครื่องแต่งกายจากวัสดุ เหลือใช้ นักเรียน นักศึกษา ประชาชน 
“ชุดวิวาห์ราตรี” ปีการศึกษา 2556 
จังหวัดกาฬสินธุ์ 
โรงเรียนรักการอ่าน ระดับยอดเยี่ยม โครงการ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ปีการศึกษา 2556 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
Dhanee Chant
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
Kittiphat Chitsawang
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
Sukanya Polratanamonkol
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
Nutsara Mukda
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
Montra Songsee
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
Nan NaJa
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
nurmedia
 

La actualidad más candente (20)

อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 

Destacado

SETTEC Training Plan 2012
SETTEC Training Plan 2012SETTEC Training Plan 2012
SETTEC Training Plan 2012
SETTEC
 
Tesf2
Tesf2Tesf2
Tesf2
CHRIS
 
קנדה ואלסקה חלק ד
קנדה ואלסקה חלק דקנדה ואלסקה חלק ד
קנדה ואלסקה חלק ד
rachelsi
 
Safer social media in schools
Safer social media in schoolsSafer social media in schools
Safer social media in schools
Kevin McLaughlin
 
SETTEC Training Plan 2013
SETTEC Training Plan 2013SETTEC Training Plan 2013
SETTEC Training Plan 2013
SETTEC
 
Power Point Conte Laura I Companyia
Power Point Conte Laura I CompanyiaPower Point Conte Laura I Companyia
Power Point Conte Laura I Companyia
guest12122153
 
Inhouse Training Plan English
Inhouse Training Plan EnglishInhouse Training Plan English
Inhouse Training Plan English
SETTEC
 
SETTEC Training Plan 2011
SETTEC Training Plan 2011SETTEC Training Plan 2011
SETTEC Training Plan 2011
SETTEC
 

Destacado (20)

Two-Dimension Steady-State Conduction
Two-Dimension Steady-State ConductionTwo-Dimension Steady-State Conduction
Two-Dimension Steady-State Conduction
 
Salespeopledothedarndestthings Productcamp2010 100327111717 Phpapp02
Salespeopledothedarndestthings Productcamp2010 100327111717 Phpapp02Salespeopledothedarndestthings Productcamp2010 100327111717 Phpapp02
Salespeopledothedarndestthings Productcamp2010 100327111717 Phpapp02
 
Tesf
TesfTesf
Tesf
 
SETTEC Training Plan 2012
SETTEC Training Plan 2012SETTEC Training Plan 2012
SETTEC Training Plan 2012
 
China
ChinaChina
China
 
Tesf2
Tesf2Tesf2
Tesf2
 
Code: The Hidden Language of Computer Hardware and Software
Code: The Hidden Language of Computer Hardware and SoftwareCode: The Hidden Language of Computer Hardware and Software
Code: The Hidden Language of Computer Hardware and Software
 
Nino
NinoNino
Nino
 
Rau Dang Sau He
Rau Dang Sau HeRau Dang Sau He
Rau Dang Sau He
 
Secrets Of Power Marketing
Secrets Of Power MarketingSecrets Of Power Marketing
Secrets Of Power Marketing
 
קנדה ואלסקה חלק ד
קנדה ואלסקה חלק דקנדה ואלסקה חלק ד
קנדה ואלסקה חלק ד
 
Pavimentos
PavimentosPavimentos
Pavimentos
 
Safer social media in schools
Safer social media in schoolsSafer social media in schools
Safer social media in schools
 
SETTEC Training Plan 2013
SETTEC Training Plan 2013SETTEC Training Plan 2013
SETTEC Training Plan 2013
 
Tytul
TytulTytul
Tytul
 
Indie Game Development
Indie Game DevelopmentIndie Game Development
Indie Game Development
 
Power Point Conte Laura I Companyia
Power Point Conte Laura I CompanyiaPower Point Conte Laura I Companyia
Power Point Conte Laura I Companyia
 
Inhouse Training Plan English
Inhouse Training Plan EnglishInhouse Training Plan English
Inhouse Training Plan English
 
SETTEC Training Plan 2011
SETTEC Training Plan 2011SETTEC Training Plan 2011
SETTEC Training Plan 2011
 
ABS
ABSABS
ABS
 

Similar a Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร

แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
narongsak promwang
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
Suwakhon Phus
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
Nang Ka Nangnarak
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
krupornpana55
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
Kruthai Kidsdee
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
dtschool
 

Similar a Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร (20)

บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนล่าสุด
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนล่าสุดฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนล่าสุด
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนล่าสุด
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
Focus7
Focus7Focus7
Focus7
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
2ดุษณีย์
2ดุษณีย์2ดุษณีย์
2ดุษณีย์
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
B1
B1B1
B1
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 

Más de somdetpittayakom school

Más de somdetpittayakom school (20)

ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
M1 59
M1 59M1 59
M1 59
 
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
 
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
 
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
 
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 5901  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
 
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
 
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558 รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
 
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
 
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
 

Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร

  • 1. เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือก ผลงานการวิจัย/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ผู้เสนอผลงาน นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม วิทยฐานะ รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา เอกสารเล่มนี้ เป็นเอกสารการนาเสนอผลงานวิจัย/นวัตกรรม การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 เพื่อประกอบการคัดเลือกผลงานนวัตกรรม โรงเรียนในฝัน ซึ่งประกอบด้วย ส่วนประกอบ 7 รายการ ได้แก่ 1) ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ 2) จุดประสงค์และเป้าหมายของการ ดาเนินงาน 3) กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน 4) ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ ประโยชน์ที่ได้รับ 5) ปัจจัยความสาเร็จ 6) บทเรียนที่ได้รับ 7) การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/ รางวัลที่ได้รับ นอกจากนั้นยังได้นาเสนอเค้าโครงงานวิจัย/นวัตกรรม และข้อมูลประกอบการ ดาเนินงานที่สามารถอ้างอิงได้ ซึ่งเป็นข้อมูลเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นได้นาเสนอไว้ในภาคผนวก พร้อมได้ จัดทาเอกสารนี้เป็นหนังสืออิเลคทรอนิกส์ (e-Book) เพื่อสะดวกในการศึกษาข้อมูลการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้สนใจอีกด้วย ขอขอบคุณท่านผู้บริหาร คณะครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และมีส่วน ร่วมในการดาเนินงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษา และเป็นแนวทางสาหรับคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผลงานตามสมควร ( นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร ) รองผู้อานวยการโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
  • 3. สารบัญ หน้า 1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ..................................................................... 1 2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน................…………….…………………………………… 2 3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน....………………………..…….…………………… 3 4. ผลการดาเนินการ / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ...………………………….………………………… 6 5. ปัจจัยความสาเร็จ.................................................................................................................... 7 6. บทเรียนที่ได้รับ....................................................................................................................... 8 7. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ.............................................................. 8 ภาคผนวก.................................................................................................................................... 10 ภาคผนวก ก เค้าโครงงานวิจัย / นวัตกรรม............................................................................ 11 ภาคผนวก ข เอกสารประกอบความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ..................... 17 ภาคผนวก ค เอกสารประกอบกระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน............... 20 ภาคผนวก ง ผลการดาเนินการ / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ........................................... 25 ภาคผนวก จ ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-net) 38 ภาคผนวก ฉ ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับ ผลการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 63...... 50 ภาคผนวก ช ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับ การสอนเสริมวิชาการ..................................................... 63 ภาคผนวก ซ ข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับการนิเทศ......................................................................... 92 ภาคผนวก ฌ ภาพประกอบการดาเนินงาน........................................................................... 126 ภาคผนวก ญ เกียรติบัตรผลงานดีเด่นของผู้เสนอผลงาน....................................................... 208
  • 4. 1 ชื่อผลงาน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ผู้เสนอผลงาน นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร โรงเรียน สมเด็จพิทยาคม สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โทรศัพท์ 043-861137 โทรสาร 043-861137 โทรศัพท์มือถือ 089-7131731 e-mail : Chaweewan.spk@gmail.com 1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ และถ้าคุณภาพของนักเรียนยังไม่ได้มาตรฐาน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทีต้องหาวิธี พัฒนาให้สูงกว่ามาตรฐานให้จงได้ ในการวัดว่าสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่นั้น ดูได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือที่เรียกว่า O-NET (Ordinary National Education Test) โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เมื่อเปรียบเทียบในปีการศึกษา 2554 และ 2555 พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง นั่นคือ ในระดับ 2.95 และ 2.94 ตามลาดับ ส่วนผล O-NET ม.3 ในปีการศึกษา 2554 และ 2555 เป็น 39.85 และ 41.14 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่เมื่อ พิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 4 กลุ่มสาระฯ คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ ส่วน ม.6 มีผล O-NET เป็น 32.03 และ 34.46 ซึ่งมีค่าเฉลี่ย เพิ่มขึ้น แต่เมื่อพิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 2 กลุ่มสาระฯ คือ สุขศึกษา และพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งผลคะแนน O-NET นี้ เมื่อคิดคะแนนตามการ ประเมินของ สมศ. ได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลคะแนน O-NET ทาให้เห็น ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษา ซึ่งนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองได้ตั้งเป้าหมายว่าในปี 2561 คะแนน O-NET ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป ดังนั้น โรงเรียนจึงต้องกาหนดเป้าหมายว่าแต่ละปีจะทา อย่างไรให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อม ของโรงเรียน จากข้อมูลและสภาพปัญหาจะเห็นได้ว่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นต้องพัฒนา ทั้งผู้สอนและผู้เรียนไปควบคู่กัน เนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการดาเนินงานเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการ ดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อส่วนใด
  • 5. 2 ส่วนหนึ่งมีปัญหาหรือไม่ทางาน ส่วนอื่นก็จะหยุดชะงักไปด้วย การที่ผลผลิตคือนักเรียนมีปัญหาใน ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ขาดทักษะในการแสวงหาความรู้นั้น เป็นผลที่เกิดจากปัญหา ด้านกระบวนการและปัจจัย เมื่อมองไปที่ปัจจัยนั้น การที่ครูได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องที่ใช้สอน หรือปฏิบัติงานน้อย หรือไม่นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาดการใช้วิจัยในชั้นเรียน ครูมักจะเน้นเนื้อหามุ่งสอนให้ จบตามเนื้อหาที่กาหนด มากกว่าที่จะสอนให้นักเรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา ไม่ชอบใช้สื่อการสอน เป็นผล ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นนั้นต้องอาศัยการ ทางานที่เป็นระบบ นั้นคือการทางานหรือการปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีขั้นตอน มีเหตุผล มีเอกสาร อธิบายขั้นตอน เอกสารบันทึก นับตั้งแต่การวางแผน (Plan) การดาเนินงานตามแผน (Do) การ ตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุง (Action) ครบวงจรที่เรียกว่า การบริหารเชิงคุณภาพวงจร PDCA หรือ การบริหารคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนา คุณภาพตามหลักการบริหารที่เป็นระบบครบวงจร มีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมคุณภาพของงานได้ เป็นอย่างดีอีกด้วย 2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน จุดประสงค์ของการดาเนินงาน 1. เพื่อศึกษาการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จ พิทยาคม ปีการศึกษา 2556 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง เป้าหมายของการดาเนินงาน เป้าหมายเชิงปริมาณ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 2. ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 3. ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 120 คน ได้รับการพัฒนา 4. นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 2,674 คน ได้รับการ พัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
  • 6. 3 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ 2. ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 สามารถจัดการเรียนการสอนที่ยึด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมทักษะด้านด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการ แสวงหาความรู้ 3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน กระบวนการผลิตผลงาน ขั้นตอนการผลิต ได้นาวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในกระบวนการผลิตและดาเนินการ ดังนี้ วงรอบที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 Plan – การวางแผนปฏิบัติงาน 1. ศึกษาปัญหาและข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน 2. กาหนดแนวทางหรือกลยุทธ์ในการพัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 2.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 2.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 2.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 2.4 กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกิจกรรมการเรียนรู้ 3. จัดทาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 3.1 แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 3.1.1 ขั้นตอนที่ 1 วางแผนการปฏิบัติงาน (Plan) 3.1.2 ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินการตามแผน (Do) 3.1.3 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบประเมินผล (Check) 3.1.4 ขั้นตอนที่ 4 นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (Action) 3.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วนร่วม 3.3 แบบบันทึกและแบบสรุป จานวน 4 ฉบับ 3.3.1 ฉบับที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่โรงเรียนได้รับ 3.3.2 ฉบับที่ 2 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่บุคลากรใน โรงเรียนได้รับ
  • 7. 4 3.3.3 ฉบับที่ 3 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่นักเรียนได้รับ 3.3.4 ฉบับที่ 4 แบบสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 4. หาประสิทธิภาพของเครื่องมือ DO – การดาเนินงานตามแผน 1. ดาเนินการตามโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยปฏิบัติกิจกรรมดังนี้ 1.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 1.1.1 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และสภาพสังคมในปัจจุบัน 1.1.2 จัดให้มีห้องศูนย์การเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระฯ 1.1.3 จัดให้นักเรียนได้มีห้องประจาในการเรียนทุกห้อง 1.1.4 จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีให้ครูและนักเรียนได้ใช้ครบทุกห้อง 1.1.5 พัฒนากระบวนการบริหารจัดการในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็น ระบบ 1.1.6 ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียน และนอกโรงเรียน 1.1.7 ส่งเสริมให้นักเรียนได้สืบค้นความรู้จากอินเตอร์เน็ต โดยโรงเรียนได้จัด ให้บริการ Wi-Fi โซน ทั่วทั้งบริเวณโรงเรียน 1.1.8 จัดคาบการเรียนการสอนให้นักเรียนได้อบรมคุณธรรม จริยธรรม ฝึกสมาธิ สัปดาห์ละ 1 คาบ 1.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 1.2.1 จัดให้มีการสอนเสริมวิชาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนใน โรงเรียน 1.2.2 จัดให้มีการสอนเสริมวิชาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญภายนอก 1.2.3 จัดให้มีค่ายวิชาการสาหรับนักเรียนในรายวิชา 5 กลุ่มวิชาหลักในโรงเรียน 1.2.4 ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมทางวิชาการจากหน่วยงาน อื่น 1.2.5 ส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการทั้งใน โรงเรียนและนอกโรงเรียน
  • 8. 5 1.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 1.3.1 จัดอบรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้กับครูผู้สอนทุกคน 1.3.2 จัดประชุม สัมมนา หรืออบรมครูผู้สอนในด้านวิชาการทั้งในโรงเรียนและ นอกโรงเรียน 1.3.3 จัดให้ครูผู้สอนได้ศึกษาดูงานด้านวิชาการ และอื่นๆ ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ 1.3.4 ส่งเสริมให้ครูผู้สอนผลิตและใช้สื่อ นวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4.1 จัดให้มีการนิเทศ กากับติดตามการเรียนการสอนของครูผู้สอนแบบไม่เป็น ทางการ โดยมอบหมายให้คณะผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.4.2 จัดให้มีการนิเทศ กากับติดตามการเรียนการสอนของครูผู้สอนแบบเป็น ทางการ โดยคณะกรรมการนิเทศตามคาสั่งของโรงเรียน และกาหนดให้ครูผู้สอนทุกคนต้องได้รับการ นิเทศจากคณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง โดยการสังเกตการณ์สอน 1.4.3 จัดให้มีการกากับ ติดตามและตรวจสอบข้อมูลการสอนของครูในแต่ละวัน 1.4.5 พัฒนากระบวนการนิเทศอย่างเป็นระบบ และดาเนินการอย่างต่อเนื่อง Check – การตรวจสอบประเมินผล 1. ประเมินผลการดาเนินการตามโครงการโดยใช้แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA 2. ประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง Action – นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 1. นาผลการประเมินมาวิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้อย เพื่อพัฒนาแก้ไข และปรับปรุง เพื่อดาเนินการในวงรอบที่ 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วงรอบที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 Plan – การวางแผนปฏิบัติงาน 1. นาผลการประเมินจากวงรอบที่ 1 มาปรับปรุงการดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ใน โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  • 9. 6 DO – การดาเนินงานตามแผน 1. ดาเนินการตามโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วงรอบที่ 2 โดยปฏิบัติ กิจกรรมดังนี้ 1.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 1.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 1.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 1.4 กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Check – การตรวจสอบประเมินผล 1. ประเมินผลการดาเนินการตามโครงการโดยใช้แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 2. ประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง Action – นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 1. นาผลการประเมินมาวิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้อย เพื่อพัฒนาแก้ไข และเสนอแนะ ข้อที่ควรปรับปรุง 2. จัดทารายงานผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA 4. ผลการดาเนินการ / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ที่ได้รับ ผลการดาเนินการ 1. ผลการประเมินการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA อยู่ในระดับ ดี (  = 4.41, SD = 0.61) 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA มีค่าเฉลี่ย 3.07 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.42 3. ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 39.32 ลดลง ร้อยละ 4.45 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ย 35.44 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.84 4. ผลงานดีเด่นในรอบปีการศึกษา 2556 ได้แก่ 4.1 รางวัลที่โรงเรียนได้รับ จานวน 9 รางวัล 4.2 รางวัลที่บุคลากรในโรงเรียนได้รับ จานวน 206 รางวัล 4.3 รางวัลที่นักเรียนได้รับ จานวน 186 รางวัล
  • 10. 7 5. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ ในระดับ มาก (  = 4.43, SD = 0.65) ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ในปีการศึกษา 2556 ได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้น 2. ได้แนวทางการดาเนินการเพื่อพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลสัมฤทธิ์ ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษาต่อไป 3. โรงเรียนได้ร่วมกันดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมี การดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ 4. ผู้ปกครองชุมชน ให้การยอมรับ และส่งบุตรหลานมาเรียนที่โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม มากขึ้น 5. ปัจจัยความสาเร็จ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประกอบด้วย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลายส่วน ได้แก่ ผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์ในการทางาน เห็นความสาคัญ ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนิน กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ โดยมีการกาหนดแนวทางและนโยบายในการดาเนินงานอย่างเป็น รูปธรรมและต่อเนื่อง ครูผู้สอน มีคุณวุฒิตรงตามสาขาวิชา สอนตรงตามความสามารถ มีความมุ่งมั่นและ ทางานเป็นทีม มีความรับผิดชอบและมีความตระหนัก เห็นความสาคัญของพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่โรงเรียนได้กาหนดไว้ นักเรียน มีความพร้อมในการเรียนรู้ นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้ ให้ความร่วมมือในการ ร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดให้ ผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่อยู่ในการปกครอง หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่น ๆ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการจัดกิจกรรมสอนเสริม และจัดการอบรมเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอน การผลิตสื่อ การวัดผลประเมินผล
  • 11. 8 6. บทเรียนที่ได้รับ ข้อสรุป 1. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA เป็น การดาเนินงานที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของครูในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการแสวงหาความรู้ และเพิ่มทักษะ ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน นอกจากนี้ยังเป็นการ ช่วยเพิ่มเติมความรู้ และ เตรียมความพร้อมในการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือ O – NETให้แก่นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 2. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA เป็น การดาเนินงานที่ช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ 1. การสอนให้นักเรียนมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการ แสวงหาความรู้ ครูจะต้องมีความรู้ที่ทันสมัยจากสื่อที่หลากหลาย และเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ เพื่อ จะได้ออกแบบการสอนให้นักเรียนได้มีทักษะที่ดีมากยิ่งขึ้น 2. ครูผู้สอนจะต้องมีพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพ และต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ข้อควรระวังในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้ 1. การเพิ่มทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการแสวงหา ความรู้ให้กับนักเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นความความสามารถทางสติปัญญาที่ต้อง ใช้ระยะเวลา และความอดทน 2. กิจกรรมในโครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนควรมีการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับข้อมูลพื้นฐานของครูและนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา 7. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ การเผยแพร่ 1. เผยแพร่ในสหวิทยาเขตสมเด็จ ในการประชุมเชิงวิชาการ 2. เผยแพร่ระดับอาเภอในการจัดนิทรรศการวิชาการ 3. เผยแพร่ในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ในการ จัดนิทรรศการทางวิชาการ
  • 12. 9 การได้รับการยอมรับ / รางวัลที่ได้รับ 1. ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) จากสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้าน มัธยมศึกษา ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียน ในปีการศึกษา 2554 คะแนนที่ได้ 8.22 ( เป็นตัวชี้วัดที่สาคัญส่งผลให้ได้รับการรับรอง) ปีการศึกษา 2555 คะแนนที่ได้ 8.53 ปีการศึกษา 2556 คะแนนที่ได้ 9.21 เพิ่มขึ้นตามลาดับ 2. ผลการแข่งขันกิจกรรมงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 63 ระดับจังหวัด ได้รางวัลเหรียญทอง 100 รางวัล ได้รางวัลเหรียญเงิน 11 รางวัล ได้รางวัลเหรียญทองแดง 2 รางวัล รวม 113 รางวัล ระดับภาค ได้รางวัลเหรียญทอง 38 รางวัล ได้รางวัลเหรียญเงิน 15 รางวัล ได้รางวัลเหรียญทองแดง 8 รางวัล รวม 61 รางวัล ระดับประเทศ ได้รางวัลเหรียญทอง 1 รางวัล 3. โรงเรียนมีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ ทาให้ผู้ปกครองเชื่อมั่น ศรัทธา และเป็นที่ยอมรับ ของผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่นๆ 4. สถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ ให้การยอมรับในคุณภาพการจัดการศึกษา และได้ส่ง นักศึกษามาฝึกประสบการณ์วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
  • 14. 11 ภาคผนวก ก เค้าโครงการวิจัย / นวัตกรรม
  • 15. 12 เค้าโครงการวิจัย / นวัตกรรม เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ชื่อผู้วิจัย นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ วิทยฐานะรองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ ความสาคัญและความเป็นมา การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ และถ้าคุณภาพของนักเรียนยังไม่ได้มาตรฐาน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทีต้องหาวิธี พัฒนาให้สูงกว่ามาตรฐานให้จงได้ ในการวัดว่าสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่นั้น ดูได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และผลการทดสอบ O-NET จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เมื่อเปรียบเทียบในปีการศึกษา 2554 และ 2555 พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง ส่วนผล O-NET ม.3 ในปีการศึกษา 2554 และ 2555 มีค่าเฉลี่ย เพิ่มขึ้น แต่เมื่อพิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 4 กลุ่มสาระฯ คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ ส่วน ม.6 มีผล O-NET มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่เมื่อ พิจารณาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยลดลง 2 กลุ่มสาระฯ คือ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งผลคะแนน O-NET นี้ เมื่อคิดคะแนนตามการประเมินของ สมศ ได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลคะแนน O-NET ทาให้เห็น ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษา ซึ่งนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองได้ตั้งเป้าว่าในปี 2561 คะแนน O-NET ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จะต้องได้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป ดังนั้น โรงเรียนจึงต้องกาหนดเป้าหมายว่าแต่ละปีจะทาอย่างไรให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อมของ โรงเรียน จากข้อมูลและสภาพปัญหาจะเห็นได้ว่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นต้อง พัฒนาทั้งผู้สอนและผู้เรียนไปควบคู่กัน เนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการดาเนินงานเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการ ดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อส่วนใด
  • 16. 13 ส่วนหนึ่งมีปัญหาหรือไม่ทางาน ส่วนอื่นก็จะหยุดชะงักไปด้วย การที่ผลผลิตคือนักเรียนมีปัญหาใน ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ขาดทักษะในการแสวงหาความรู้นั้น เป็นผลที่เกิดจากปัญหา ด้านกระบวนการและปัจจัย เมื่อมองไปที่ปัจจัยนั้น การที่ครูได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องที่ใช้สอน หรือปฏิบัติงานน้อย หรือไม่นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาดการใช้วิจัยในชั้นเรียน ครูมักจะเน้นเนื้อหามุ่งสอนให้ จบตามเนื้อหาที่กาหนด มากกว่าที่จะสอนให้นักเรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา ไม่ชอบใช้สื่อ การสอน เป็นผลทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นนั้น ต้องอาศัยการทางานที่เป็นระบบ นั้นคือการทางานหรือการปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีขั้นตอน มีเหตุผล มีเอกสารอธิบายขั้นตอน เอกสารบันทึก นับตั้งแต่การวางแผน (Plan) การดาเนินงานตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุง (Action) ครบวงจรที่เรียกว่า การบริหารเชิงคุณภาพ วงจร PDCA หรือ การบริหารคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการบริหารเพื่อ พัฒนาคุณภาพตามหลักการบริหารที่เป็นระบบครบวงจร มีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมคุณภาพ ของงานได้เป็นอย่างดีอีกด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ขอบเขตและขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 1.1 ผู้บริหารของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 5 คน 1.2 ครูผู้สอนของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 120 คน 1.3 ครูพิเศษของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 5 คน 1.4 นักเรียนของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 2,674 คน
  • 17. 14 2. เนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 2.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 2.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 2.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 2.4 กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ระยะเวลาในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้เวลา 1 ปีการศึกษา 2556 ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2556 – 30 เมษายน 2557 นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย/นวัตกรรม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จ พิทยาคม ปีการศึกษา 2556 และผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 2. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน หมายถึง กิจกรรมที่พัฒนาการจัดการเรียน การรู้ การวางแผนการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 4. กิจกรรมสอนเสริมวิชาการ หมายถึง กิจกรรมการสอนเสริมในรายวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเตรียมทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โดยบุคลากรภายในโรงเรียน และวิทยากร จากหน่วยงานอื่น 5. กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู หมายถึง กิจกรรมที่มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรครูใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ด้านการสื่อสารภาษาต่างประเทศ การสร้างสื่อการเรียนการสอน การ ทบทวนหลักสูตรสถานศึกษา 6. กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง กิจกรรมการสังเกตการสอน โดยรองผู้อานวยการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญของครูผู้สอน 7. การดาเนินงานด้วยวงจรคุณภาพ PDCA หมายถึง การพัฒนางานที่ทาด้วยวงจรเดมิ่ง (Deming Cycle) หรือ PDCA เป็นกระบวนการบริหารคุณภาพที่เป็นระบบและครบวงจรอย่าง
  • 18. 15 ต่อเนื่องตามแนวคิดของดับเบิลยู เอดวาร์ด เดมิ่ง (W. Edwards Deming) ซึ่งนามาใช้ในการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การติดตามประเมินผล (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Action) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 1. เครื่องมือใช้ในการพัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ โครงการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 1.1 กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 1.2 กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 1.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 1.4 กิจกรรมการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 2.1 แบบสอบถามการดาเนินการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 โดยวงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 2.1.1 ขั้นตอนที่ 1 วางแผนการปฏิบัติงาน (Plan) 2.1.2 ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินการตามแผน (Do) 2.1.3 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบประเมินผล (Check) 2.1.4 ขั้นตอนที่ 4 นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (Action) 2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วนร่วม 2.3 แบบบันทึกและแบบสรุป จานวน 4 ฉบับ 2.3.1 ฉบับที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่โรงเรียนได้รับ 2.3.2 ฉบับที่ 2 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่บุคลากรในโรงเรียน ได้รับ 2.3.3 ฉบับที่ 3 แบบบันทึกข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับรางวัลที่นักเรียนได้รับ 2.3.4 ฉบับที่ 4 แบบสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
  • 19. 16 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย/นวัตกรรม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ในปีการศึกษา 2556 ได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้น 2. ได้แนวทางการดาเนินการเพื่อพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลสัมฤทธิ์ใน การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษาต่อไป 3. โรงเรียนได้ร่วมกันดาเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเชิงระบบที่ประกอบด้วย ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการดาเนินงาน สัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ
  • 20. 17 ภาคผนวก ข เอกสารประกอบความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 และ 2555 - ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 และ 2555
  • 21. 18 ตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 และ 2555 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2554 ปีการศึกษา 2555 เพิ่มขึ้น/ ลดลง คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 2.91 2.99 +0.08 2.75 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.78 2.76 -0.02 0.72 ภาษาต่างประเทศ 2.90 2.97 +0.07 2.41 คณิตศาสตร์ 2.73 2.60 -0.13 4.76 วิทยาศาสตร์ 2.62 2.74 +0.12 4.58 สุขศึกษาและพลศึกษา 3.42 3.32 -0.10 2.92 ศิลปะ 3.17 3.16 -0.01 0.32 การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 3.15 3.09 -0.06 1.90 เฉลี่ย 2.95 2.94 -0.01 0.34 ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 และ 2555 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2554 ปีการศึกษา 2555 เพิ่มขึ้น/ ลดลง คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 48.09 54.39 +6.30 13.10 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 42.04 46.78 +4.74 11.27 ภาษาอังกฤษ 27.60 25.03 -2.57 9.31 คณิตศาสตร์ 29.50 24.41 -5.09 17.25 วิทยาศาสตร์ 29.39 32.63 +3.24 11.02 สุขศึกษาและพลศึกษา 51.20 56.51 +5.31 10.37 ศิลปะ 43.11 42.21 -0.90 2.09 การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 47.90 47.19 -0.71 1.48 เฉลี่ย 39.85 41.14 +1.29 3.24
  • 22. 19 ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 และ 2555 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2554 ปีการศึกษา 2555 เพิ่มขึ้น/ ลดลง คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 38.75 44.21 +5.46 14.09 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 31.31 35.21 +3.90 12.46 ภาษาอังกฤษ 17.14 18.05 +0.91 5.31 คณิตศาสตร์ 19.25 19.83 +0.58 3.01 วิทยาศาสตร์ 24.99 32.54 +7.55 30.21 สุขศึกษาและพลศึกษา 52.68 51.66 -1.02 1.94 ศิลปะ 26.97 30.16 +3.19 11.83 การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 45.11 44.09 -1.02 2.26 เฉลี่ย 32.03 34.46 +2.43 7.59
  • 23. 20 ภาคผนวก ค เอกสารประกอบกระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน - โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
  • 24. 21 1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม 2. หน่วยงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ 3. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร และคณะ 4. สนองกลยุทธ์ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ข้อที่ 4, 6 5. ระยะเวลาดาเนินงาน พฤษภาคม 2556 ถึง 31 มีนาคม 2557 6. หลักการและเหตุผล การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ และถ้าคุณภาพของนักเรียนยังไม่ได้มาตรฐาน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทีต้องหาวิธี พัฒนาให้สูงกว่ามาตรฐานให้จงได้ ในการวัดว่าสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่นั้น ดูได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือที่เรียกว่า O-NET (Ordinary National Education Test) โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลคะแนน O-NET ทาให้เห็น ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษา ซึ่งนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองได้ตั้งเป้าว่าในปี 2561 คะแนน O-NET ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จะต้องได้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป ดังนั้น โรงเรียนจึงต้องกาหนดเป้าหมายว่าแต่ละปีจะทาอย่างไรให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อมของ โรงเรียน จากข้อมูลและสภาพปัญหาจะเห็นได้ว่า การจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นต้อง พัฒนาทั้งผู้สอนและผู้เรียนไปควบคู่กัน เนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการดาเนินงานเชิงระบบที่ ประกอบด้วยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) ซึ่งมีการ ดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เมื่อส่วนใด ส่วนหนึ่งมีปัญหาหรือไม่ทางาน ส่วนอื่นก็จะหยุดชะงักไปด้วย การที่ผลผลิตคือนักเรียนมีปัญหาใน ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ขาดทักษะในการแสวงหาความรู้นั้น เป็นผลที่เกิดจากปัญหา ด้านกระบวนการและปัจจัย เมื่อมองไปที่ปัจจัยนั้น การที่ครูได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องที่ใช้สอน หรือปฏิบัติงานน้อย หรือไม่นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาดการใช้วิจัยในชั้นเรียน ครูมักจะเน้นเนื้อหามุ่งสอนให้
  • 25. 22 จบตามเนื้อหาที่กาหนด มากกว่าที่จะสอนให้นักเรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา ไม่ชอบใช้สื่อการสอน เป็นผล ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า 7. วัตถุประสงค์ 7.1 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 7.2 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 8. เป้าหมาย 8.1 ด้านปริมาณ 8.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปีการศึกษา2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 8.1.2 ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 8.1.3 ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 120 คน ได้รับการ พัฒนา 8.1.4 นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 จานวน 2,674 คน ได้รับ การพัฒนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน 8.2 ด้านคุณภาพ 8.2.1 นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 มีทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ 8.2.2 ครูโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 สามารถจัดการเรียนการสอนที่ ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมทักษะด้านด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะในการ แสวงหาความรู้ 9. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 9.1 ระดับผลสัมฤทธิ์ทุกกลุ่มสาระสูงขึ้น 9.2 คะแนนสอบ, O-Net ของนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถทางวิชาการทุกกลุ่มสาระ มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 9.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการทุกกลุ่มสาระ
  • 26. 23 10. วิธีดาเนินการ ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ขั้นเตรียม 1. ประชุมวางแผน 2. เสนอโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ ในโรงเรียน ขั้นดาเนินการ 1. กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 2. กิจกรรมนิเทศการสอน 3. กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียน การสอน 4. กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ มีนาคม 2556 มีนาคม 2556 พฤษภาคม 2556 ภาคเรียนที่ 1, 2 ภาคเรียนที่ 1, 2 ภาคเรียนที่ 1, 2 ภาคเรียนที่ 1, 2 100,000 2,000 15,000 200,000 นางฉวีวรรณ ลาภเสถียรและคณะ - งานพัฒนาบุคลากรและเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการทางาน (นายสิทธินันท์ จันทะยุทธ และคณะ) - งานนิเทศการศึกษา (นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร และ คณะ) - งานจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ (นางศิริพร สุวรรณศรี และ คณะ) - งานส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ (นายคาดี ขินานา และ คณะ) ขั้นประเมิน 1. สังเกตและตอบแบบสอบถาม เมื่อจบภาคเรียนที่ 1/2556 2. ปรับปรุงแก้ไข เพื่อดาเนินการใน ภาคเรียนที่ 2/2556 3. สังเกตและตอบแบบสอบถาม เมื่อจบภาคเรียนที่ 2/2556 สรุปและรายงานผล 1. สรุปและรายงานผลเมื่อจบ ภาคเรียนที่ 1/2556 2. ปรับปรุงแก้ไข เพื่อดาเนินการ ในภาคเรียนที่ 2/2556 3. สรุปและรายงานผลเมื่อจบ ภาคเรียนที่ 2/2556 ตุลาคม 2556 มีนาคม 2557 ตุลาคม 2556 มีนาคม 2557 นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร และ คณะ นางฉวีวรรณ ลาภเสถียรและคณะ
  • 27. 24 11. งบประมาณ - เงินอุดหนุน จานวน 117,000 บาท - เงินเรียนฟรี 15 ปี จานวน 200,000 บาท รวมเงิน (ตลอดปี) 317,000 บาท ( สามแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน ) 12. การติดตามประเมินผล - แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลครบทุกกลุ่ม - รายงานผลการดาเนินกิจกรรม 13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 13.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2556 ของนักเรียนทุกระดับชั้นมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 13.2 คะแนนผลการสอบ O-Net ปีการศึกษา 2556 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปี ที่ 6 มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น 13.3 คณะครู นักเรียน และผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนของทุกกลุ่ม กลุ่มสาระหลักอยู่ในระดับมากขึ้นไป ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ (นางศิริพร สุวรรณศรี) ลงชื่อ ผู้เห็นชอบโครงการ (นางฉวีวรรณ ลาภเสถียร) รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ (นายพิริยะ อุทโท) ผู้อานวยการโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
  • 28. 25 ภาคผนวก ง เอกสารประกอบผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ - ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA โดยรวม - ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA แยกตามกิจกรรม - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2555 และ 2556 - ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 - ตารางแสดงความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวงจร คุณภาพ PDCA ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง - ตารางแสดงรางวัลที่โรงเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556 - รางวัลที่บุคลากรในโรงเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556 - รางวัลที่นักเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556
  • 29. 26 ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA โดยรวม ข้นตอนการดาเนินงาน  SD ระดับ วางแผนการปฏิบัติงาน 4.40 0.64 มาก การดาเนินการตามแผน 4.42 0.65 มาก การตรวจสอบประเมินผล 4.41 0.64 มาก นาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 4.44 0.62 มาก รวม 4.41 0.64 มาก ตารางแสดงผลการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2556 ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA แยกตามกิจกรรม ข้นตอนการดาเนินงาน  SD ระดับ กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 4.43 0.64 มาก กิจกรรมสอนเสริมทางวิชาการ 4.45 0.63 มาก กิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู 4.37 0.65 มาก กิจกรรมนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.41 0.66 มาก รวม 4.41 0.64 มาก
  • 30. 27 ตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2555 และ 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555 ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้น/ ลดลง คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 2.99 3.12 + 0.13 4.35 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.76 2.94 + 0.18 6.52 ภาษาต่างประเทศ 2.97 3.04 + 0.07 2.36 คณิตศาสตร์ 2.60 2.70 + 0.10 3.85 วิทยาศาสตร์ 2.74 2.80 + 0.06 2.19 สุขศึกษาและพลศึกษา 3.32 3.60 + 0.28 8.43 ศิลปะ 3.16 3.28 + 0.12 3.80 การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 3.09 3.26 + 0.17 5.50 เฉลี่ย 2.94 3.07 + 0.13 4.42 ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555 ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้น/ ลดลง คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 54.39 53.46 - 0.93 1.71 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 46.78 38.19 - 8.59 18.36 ภาษาอังกฤษ 25.03 27.00 + 1.97 7.87 คณิตศาสตร์ 24.41 23.65 - 0.76 3.11 วิทยาศาสตร์ 32.63 35.23 + 2.60 7.97 สุขศึกษาและพลศึกษา 56.51 58.90 + 2.39 4.23 ศิลปะ 42.21 44.09 + 1.88 4.45 การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 47.19 44.00 - 3.19 6.76 เฉลี่ย 41.14 39.32 - 1.83 4.45
  • 31. 28 ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555 ปีการศึกษา 2556 เพิ่มขึ้น/ ลดลง คิดเป็น ร้อยละ ภาษาไทย 44.21 45.61 + 1.40 3.17 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 35.21 31.38 - 3.83 10.88 ภาษาอังกฤษ 18.05 22.13 + 4.08 22.60 คณิตศาสตร์ 19.83 16.76 - 3.07 15.48 วิทยาศาสตร์ 32.54 29.32 - 3.22 9.90 สุขศึกษาและพลศึกษา 51.66 60.65 + 8.99 17.40 ศิลปะ 30.16 28.41 - 1.75 5.80 การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 44.09 49.41 + 5.32 12.07 เฉลี่ย 34.46 35.44 + 0.98 2.84
  • 32. 29 ตารางแสดงความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รายการ  S.D. ระดับ 1. การเผยแพร่นโยบายในการดาเนินการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.33 0.65 มาก 2. เข้าใจจุดประสงค์ของการดาเนินการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.38 0.69 มาก 3. ความพอใจในโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียน ดาเนินการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.46 0.64 มาก 4. กิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนส่งผลต่อการเรียนของนักเรียน 4.44 0.67 มาก 5. โรงเรียนมีส่วนร่วมในโครงการ / กิจกรรมเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.52 0.64 มากที่สุด 6. ความร่วมมือของครูในการดาเนินการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.46 0.67 มาก 7. การดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนส่งผล ต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 4.42 0.67 มาก 8. โครงการ / กิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนมีผลต่อการพัฒนาโรงเรียน 4.44 0.61 มาก 9. โครงการ / กิจกรรมส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่าง โรงเรียน กับผู้ปกครองและชุมชน 4.38 0.66 มาก 10. การเผยแพร่ผลการสรุปผลการจัดโครงการ / กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.44 0.64 มาก รวม 4.43 0.65 มาก
  • 33. 30 ตารางแสดงรางวัลที่โรงเรียนได้รับ ปีการศึกษา 2556 ระดับรางวัล / ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ชนะเลิศโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ประจาปี 2556 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 สถานศึกษาดีเด่น การประเมินสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคดีเด่น ประจาปีการศึกษา 2556 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานัก นายกรัฐมนตรี ชนะเลิศ การจัดนิทรรศการ อย.น้อย สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ชนะเลิศ การตอบปัญหาธรรมะ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์อานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรียน เขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค9 (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยา เขตขอนแก่น ชนะเลิศ การประกวด VDO เรื่องสั้นคุณธรรม ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ศูนย์อานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรียน เขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค 9 (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ชนะเลิศ การประกวดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์จาก วัสดุเหลือใช้ ประเภทเครื่องแต่งกายจากวัสดุ เหลือใช้ นักเรียน นักศึกษา ประชาชน “ชุดวิวาห์ราตรี” ปีการศึกษา 2556 จังหวัดกาฬสินธุ์ โรงเรียนรักการอ่าน ระดับยอดเยี่ยม โครงการ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ปีการศึกษา 2556 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24