SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
บทนำำ
โรคเบำหวำนเป็นโรคเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดโรคหนึ่ง โดยมีอุบัติกำรณ์ร้อยละ 3-
5 ของประชำกรพบได้ทุกเพศทุกวัย แต่จะพบมำกในคนอำยุมำกกว่ำ 40 ปีขึ้นไป เพศ
หญิงมำกกว่ำเพศชำย เป็นสำเหตุสำำคัญของโรคแทรกซ้อนต่ำงๆมำกมำยเช่นภำวะไต
เรื้อรัง ตำบอด ควำมผิดปกติของเส้นประสำท กำรตัดเท้ำ(Limp amputation) โรคหัวใจ
ที่หลอดเลือดและสมองอุดตัน เป็นต้นซึ่งก่อให้เกิดควำมพิกำรหรือเสียชีวิต ดังนั้นจะเห็น
ได้ว่ำ โรคเบำหวำนจึงเป็นปัญหำทั้งต่อสุขภำพและเศรษฐำนะ โดยถ้ำผู้ป่วยได้รับกำร
รักษำอย่ำงถูกต้องและเหมำะสมตั้งแต่ต้นจะช่วยลดควำมรุนแรงของปัญหำดังกล่ำวได้
ซึ่งกำรดูแลผู้ป่วยเบำหวำนจำำเป็นต้องดูแลอย่ำงเป็นระบบ
ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังในได้มีกำรจัดตั้งคลินิกโรคเบำหวำน โดยกำำหนด
เดือนละ 2 ครั้ง คือพุธที่ 1 และ 3 ของเดือน จำกกำรดำำเนินงำนคลินิกโรคเบำหวำนของ
ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน พบปัญหำที่สำำคัญ คือทุกๆปีจะมีผู้ป่วยเข้ำรับกำรรักษำที่
ขึ้นทะเบียนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.32 และผลจำกกำรเจำะเลือด พบว่ำผู้ป่วยมีภำวะระดับ
นำ้ำตำลในเลือดสูง บำงรำยมีทัศนคติที่ว่ำ หำกภำวะระดับนำ้ำตำลในเลือดสูงหมอก็จะ
ฉีดยำลดระดับนำ้ำตำลให้เอง โดยไม่มีควำมตระหนักที่จะควบคุมระดับนำ้ำตำลในเลือด
ด้วยตนเองซึ่งทำงเจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขประจำำศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังในเองได้ให้
ควำมรู้เกี่ยวกับโรคเบำหวำนทุกครั้งที่มีคลินิกโรคเบำหวำน พร้อมสอนออกกำำลังกำยใน
ตอนเช้ำ ก็ยังไม่สำมำรถทำำให้ผู้ป่วยเบำหวำนมีภำวะระดับนำ้ำตำลในเลือดปกติได้
ประกอบกับได้รับรำยงำนจำกโรงพยำบำลวังนำ้ำเย็นว่ำมีผู้ป่วยเบำหวำนของศูนย์สุขภำพ
ชุมชนตำหลังใน เข้ำรับกำรรักษำด้วยภำวะแทรกซ้อนมำก โดยเฉพำะกำรติดเชื้อของ
แผลที่เท้ำ และโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองอุดตัน และมีผู้เสียชีวิตจำกโรคเบำหวำน
ด้วยภำวะแทรกซ้อนปีละ ร้อยละ 0.34
ผู้วิจัยในฐำนะผู้ดูแลรักษำกลุ่มผู้ป่วยดังกล่ำว จึงได้จัดโครงกำรอบรมเพิ่มควำมรู้
สู้เบำหวำนของศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังในขึ้น โดยให้ควำมรู้เกี่ยวกับโรคเบำหวำน
กำรดูแลตนเองผสมผสำนกับกระบวนกำรเรียนรู้ โดยให้ผู้ป่วยเบำหวำนมีส่วนร่วมในกำร
แสดงควำมคิด วิเครำะห์ตนเอง พร้อมกับหำทำงแก้ปัญหำเหล่ำนั้นด้วยตนเอง ทำำให้ผู้
ป่วยเบำหวำนเกิดควำมตระหนักที่จะมีพฤติกรรมกำรดูแลตนเองในกำรควบคุมระดับ
นำ้ำตำลในเลือด ไม่ก่อเกิดโรคแทรกซ้อนและอยู่กับเบำหวำนได้อย่ำงมีควำมสุข
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษำกำรสร้ำงรูปแบบกำรให้ควำมรู้แก่ผู้ป่วยเบำหวำน โดยกระบวนกำร
เรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วม ในโครงกำรอบรมเพิ่มควำมรู้ สู้เบำหวำน
ขอบเขตกำรวิจัย
1. ชี้นำำด้ำนสุขภำพ 2. เพิ่มควำมสำมำรถ
กำรให้ควำมรู้และกำรดูแลตนเอง กระบวนกำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ผู้
ป่วยเบำหวำนสำมำรถ
- อำหำร (Model อำหำร ) - กำรวิเครำะห์ตนเอง ควบคุม
ระดับนำ้ำตำลใน
- ยำ - กำรวิเครำะห์กลุ่ม เ ลื อ ด < 126
mg/dl
- กำรดูแลรักษำเท้ำ - กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร
- กำรออกกำำลังกำย กำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน(FSC.)
- ภำวะโรคแทรกซ้อน 3. กำรไกล่เกลี่ยประโยชน์
ด้ำนสุขภำพ
วิธีกำรศึกษำ
1. ขั้นเตรียมกำร
1.1 ประชุมกลุ่ม ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สำธำรณสุขอำำเภอ ผู้
ช่วยสำธำรณสุขอำำเภอ พยำบำลผู้รับผิดชอบคลินิกเบำหวำนในโรงพยำบำลวังนำ้ำเย็น
เจ้ำหน้ำที่ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน เจ้ำหน้ำที่สถำนีอนำมัยท่ำตำสี ชี้แจงสภำพ
ปัญหำผู้ป่วยเบำหวำนของศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน และหำแนวทำงแก้ปัญหำแก่ผู้
ป่วยเบำหวำน ได้ข้อสรุปว่ำ ควรหำวิธีให้ควำมรู้ในรูปแบบใหม่แก่ผู้ป่วยเบำหวำน เพื่อ
ป้องกันระดับนำ้ำตำลในเลือดสูงจนเกิดภำวะโรคแทรกซ้อนขึ้น โดยจัดทำำโครงกำร เพิ่ม
ควำมรู้ สู้เบำหวำนขึ้น โดยใช้กระบวนกำรเรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วม
1.2 ศึกษำกระบวนกำรกำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในกำรอบรมครั้งนี้ เช่น
กำรวิเครำะห์ตนเอง กำรวิเครำะห์กลุ่ม กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน
(FSC)
1.3 ดำำเนินกำรคัดเลือกกลุ่มเป้ำหมำย คือ ผู้ป่วยเบำหวำนที่มีระดับ
นำ้ำตำลในเลือดสูง > 200 mg/dl
1.4 จัดทำำแบบทดสอบประเมินควำมรู้ ก่อนและหลังอบรม โดยเน้นตำม
หัวข้อที่ให้ควำมรู้ คือ เรื่องพฤติกรรมกำรรับประทำนอำหำร กำรรับประทำนยำ กำรออก
กำำลังกำย ภำวะโรคแทรกซ้อน และกำรดูแลรักษำเท้ำ
1.5 กำรเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในกำรจัดอบรม
2. ขั้นดำำเนินกำร
กำรจัดอบรม ดำำเนินกำรทั้งสิ้น 2 วัน
วันแรก ดำำเนินกำรจัดทำำแบบทดสอบประเมินควำมรู้ก่อนกำรอบรม
และใช้กลยุทธ์ชี้นำำด้ำนสุขภำพ คือกำรให้ควำมรู้ในเรื่องกำรรับประทำนอำหำร โดยมี
วิทยำกรผู้เชี่ยวชำญมำสอน พร้อมกับใช้ Model อำหำร มำประกอบกำรเรียนกำรสอน
ในเรื่องวิธีกำรรับประทำนอำหำรแต่ละอย่ำง ควรรับประทำนปริมำณเท่ำใด เรื่องของกำร
รับประทำนยำที่ถูกต้อง กำรออกกำำลังกำยที่เหมำะแก่ผู้ป่วยเบำหวำน ภำวะโรค
แทรกซ้อนที่เกิดได้ง่ำย กำรดูแลรักษำเท้ำที่ควรระมัดระวังให้มำกไม่เช่นนั้นอำจต้องถูก
ตัดขำทิ้ง
วันที่สอง ใช้กระบวนกำรเรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วม ของผู้ป่วยเบำหวำน
โดยใช้กลยุทธ์เพิ่มควำมสำมำรถของผู้ป่วยเบำหวำนให้มีศักยภำพสูงสุดในกำรดูแล
ตนเอง ดังนี้ คือ
1.1 กำรวิเครำะห์ตนเอง เป็นกำรวิเครำะห์ดูสำเหตุว่ำตนเองที่เป็นเบำ
หวำนน่ำจะเกิดมำจำกสำเหตุอะไร และทำำไมจึงไม่สำมำรถควบคุมระดับนำ้ำตำลในเลือด
ได้จำกแบบบันทึกกำรวิเครำะห์ตนเอง โดยแยกเป็นสำเหตุดังนี้ คือ กำรรับประทำน
อำหำร กำรรับประทำนยำ กำรออกกำำลังกำย เมื่อแยกสำเหตุได้แล้วก็ให้หำวิธีแก้ปัญหำ
ด้วยตนเอง
1.2 กำรวิเครำะห์กลุ่ม เป็นกำรวิเครำะห์โดยให้จับกลุ่มกันกลุ่มละ 5
คนและให้โจทย์ตัวอย่ำงกรณีศึกษำปัญหำเกี่ยวกับเบำหวำนทุกกลุ่ม โดยให้ทุกคนช่วย
กันวิเครำะห์ว่ำ ตัวอย่ำงกรณีศึกษำนี้ เป็นเบำหวำนเกิดจำกสำเหตุอะไร และสำมำรถ
ควบคุมระดับนำ้ำตำลด้วยวิธีใด และให้มำสรุปอภิปรำยร่วมกัน กำรวิเครำะห์กลุ่มนี้
เป็นกำรวิเครำะห์เพื่อทบทวนควำมรู้ที่ได้สอนไปในวันแรก
1.3 กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน(FSC) ผู้ป่วย
เบำหวำนเข้ำร่วมประชุมเชิงปฏิบัติกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน (Future Search
Conference) โดยมีแบบบันทึกกำรประชุม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้ คือ
1. กำรวิเครำะห์เหตุกำรณ์ในอดีตเพื่อเชื่อมโยงสภำพกำรณ์และโน้มไปสู่
ปัจจุบัน
และอนำคต โดยให้ผู้ป่วยเบำหวำนช่วยกันคิดถึงอดีตที่และคิดว่ำพฤติกรรมใดบ้ำงมีส่วน
ทำำให้เป็นโรคเบำหวำน
2. กำรวิเครำะห์และสังเครำะห์สภำพกำรณ์ปัจจุบันเพื่อเข้ำใจทิศทำงและ
ปัจจัยที่
มีอิทธิพลในประเด็นหลักกำรประชุม โดยให้ผู้ป่วยเบำหวำนคิดว่ำพฤติกรรมในอดีตที่คิด
ไว้นั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมในปัจจุบันที่ปฏิบัติอยู่ ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง
3. กำรสร้ำงจินตนำกำรถึงอนำคตที่พึงปรำรถนำเพื่อร่วมกันคิด วิเครำะห์
และเลือกกำำหนดแนวทำงไปสู่อนำคตร่วมกัน เมื่อผู้ป่วยเบำหวำนนึกถึงพฤติกรรมใน
อดีตและปัจจุบันแล้ว และยังเป็นพฤติกรรมที่ทำำให้ภำวะระดับนำ้ำตำลในเลือดสูง และ
ทำำให้เกิดภำวะโรคแทรกซ้อนตำมมำ ผู้ป่วยเบำหวำนก็จะเกิดควำมตระหนัก ดังนั้นจึงให้
ผู้ป่วยเบำหวำนทุกคนช่วยกันคิดว่ำอนำคตต่อจำกนี้จะมีพฤติกรรมดูแลสุขภำพของ
ตนเองได้อย่ำงไร เพื่อให้ผู้ป่วยเบำหวำนอยู่กับเบำหวำนได้อย่ำงมีควำมสุข
ทั้งนี้ ในกระบวนกำรเรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วมที่เกิดขึ้นนั้นย่อมมีควำมคิดที่
แตกต่ำง และบำงปัญหำไม่สำมำรถแก้ได้ ดังนั้นจึงต้องใช้กลยุทธ์ไกล่เกลี่ยประโยชน์
ทำงด้ำนสุขภำพ เพื่อให้เกิดควำมประนีประนอมในกำรแก้ปัญหำนำำไปสู่กำรเกิด
พฤติกรรมดูแลสุขภำพตนเองที่ถูกต้อง
เมื่อเสร็จสิ้นกำรอบรม ดำำเนินกำรทดสอบประเมินผลควำมรู้หลังกำรอบรม
และประเมินกำรจัดอบรม โครงกำรอบรมเพิ่มควำมรู้ สู้เบำหวำน
3. ขั้นติดตำมและประเมินผล
มีกำรติดตำมและประเมินผลระดับนำ้ำตำลในเลือดของผู้ป่วยเบำหวำนที่
เข้ำอบรมทุกๆเดือนเป็นระยะเวลำ 3 เดือนจำกแฟ้มประวัติกำรมำเจำะนำ้ำตำลในเลือดเพื่อ
รับยำ ของคลินิกเบำหวำน ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน
ผลกำรศึกษำ
1. กำรวิเครำะห์ตนเอง
ผลจำกแบบบันทึกกำรวิเครำะห์ตนเองพบว่ำ ผู้ป่วยเบำหวำนมีพฤติกรรม
เหมือนๆกันทั้งในเรื่องกำรรับประทำนอำหำรส่วนใหญ่จะรับประทำนอำหำรรสเค็ม และ
กินผลไม้ครั้งละมำกๆเช่น มะขำมหวำน มะม่วง ทุเรียนฯลฯ และกำรรับประทำนยำส่วน
ใหญ่จะลืมทำนและลดขนำดหรือเพิ่มขนำดยำเอง กำรออกกำำลังกำยส่วนใหญ่ทำำงำน
บ้ำนอยู่แล้วและส่วนมำกลืมใส่รองเท้ำขณะเดินรอบบ้ำน กำรแก้ปัญหำส่วนใหญ่ผู้ป่วย
เบำหวำนก็จะไม่ทำนอำหำรเค็ม หวำน มัน ทอด จะไม่ลืมทำนยำ ทำนยำตำมแพทย์สั่ง
เท่ำนั้น หมั่นออกกำำลังกำยประจำำ สวมรองเทำทุกครั้งที่เดิน ตรวจดูง่ำมเท้ำและซอกเท้ำ
2. กำรวิเครำะห์กลุ่ม
จำกผลกำรวิเครำะห์กรณีศึกษำที่แต่ละกลุ่มวิเครำะห์พบว่ำ ทุกกลุ่ม
สำมำรถวิเครำะห์กรณีศึกษำได้อย่ำงดี ตั้งแต่ สำเหตุ จนกระทั่งวิธีกำรแก้ไขที่สำมำรถ
ควบคุมระดับนำ้ำตำลในเลือดได้ถูกต้องตรงตำมที่ผู้วิจัยต้องกำร และจำกกำรสังเกตรำย
กลุ่มพบว่ำทุกคนต่ำงแสดงควำมคิดเห็นที่ตรงกัน สำมำรถอภิปรำยและถกเถียงปัญหำ
ต่ำงๆตำมควำมคิดของแต่ละคนที่อยู่ในกรอบควำมรู้ที่ให้ไปอย่ำงถูกต้อง ชัดเจน ซึ่ง
ทำำให้เห็นว่ำทุกคนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเบำหวำนมำกขึ้น
3. กำรประชุมเชิงปฎิบัติกำรกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน
อดีตก่อนเป็นเบาหวาน ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมเช่นเดียวกับการ
วิเคราะห์ตนเอง คือการรับประทานอาหารรสเค็ม หวาน และของมันของทอด สูบบุหรี่ดื่ม
สุรา เครียดและส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าเกิดจากกรรมพันธุ์หรือไม่เนื่องจากบรรพบุรุษไม่ได้
ตรวจเบาหวาน
ปัจจุบันเป็นเบาหวาน ส่วนใหญ่ก็จะมีพฤติกรรมเหมือนเดิม และดื่มสุรา
สูบบหรี่ นอนไม่หลับ เครียด
อนาคตจะอยู่กับเบาหวานได้อย่างมีความสุข คือการมีพฤติกรรมดูแล
สุขภาพที่ดี
ผลการประเมินทดสอบก่อนและหลังการประเมิน
ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม
ความรู้ที่
ประเมิน
จำานวน
(คน)
ค่าเฉลี่ย
(คะแนน)
Std.
Deviation
Std.
Error Mean
P
ก่อนการ
อบรม
25 7.4325 1.92024 0.45613
หลังการ
อบรม
25 13.7488 3.02701 1.00123 0.001
จากตารางพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรมมีความรู้ดีขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ (P =
0.05) คือ P =0.001
ผลจากการติดตามและประเมินผลระดับนำ้าตาลในเลือดทุกๆเดือน
ในระยะเวลา 3 เดือน
ตารางที่ 3 ตารางเปรียบเทียบการควบคุมระดับนำ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้า
อบรม
การควบคุมระดับนำ้าตาลใน
เลือด
จำานวน (คน) n = 25 ร้อยละ
> 126 mg/dl 4 16.00
< 126 mg/dl 21 84.00
จากตาราง พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม สามารถควบคุมระดับนำ้าตาลใน
เลือดได้ร้อยละ 84.00
สรุปผลการศึกษา/วิจัย
จากผลการศึกษา พบว่าการพัฒนาองค์ความรู้ของผู้ป่วยเบาหวานโดยมี Model
อาหาร ประกอบการเรียนการสอนทำาให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดความเข้าใจในความรู้ที่ให้
มากขึ้น จากการสังเกตการถาม – ตอบ และเมื่อนำามาผสมผสานกับกระบวนการเรียนรู้
อย่างมีส่วนร่วม พบว่าผู้ป่วยเบาหวานมีการรับรู้สุขภาวะสุขภาพของตนเอง จากการ
วิเคราะห์ตนเอง การวิเคราะห์กลุ่ม ทำาให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดความตระหนักที่จะมี
พฤติกรรมดูแลสุขภาพตนเอง นำาไปสู่การประชุมเชิงปฏิบัติการการสร้างอนาคตร่วม
กัน(FSC) และผลการทดสอบประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผู้ป่วยเบาหวานมี
ความรู้ดีขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ และผลจากการติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดทุกๆ
เดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่มีผลระดับนำ้าตาลในเลือด< 126
mg/dl แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดี
ขึ้นและถูกต้องจนสามารถควบคุมระดับนำ้าตาลในเลือดและอยู่กับเบาหวานได้อย่างมี
ความสุข
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะของหน่วยงาน
1.หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้การส่งเสริมสุขภาพผู้
ป่วยเบาหวานให้มีการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ถูกต้อง และต่อเนื่อง เช่น สนับสนุน
งบประมาณ การจัดสถานที่ในการจัดกิจกรรม และการอบรมพัฒนาความรู้เพิ่มเติมให้แก่
ชมรมเบาหวานให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
2.จัดตั้งชมรมผู้ป่วยเบาหวานในด้านการส่งเสริมสุขภาพ เวทีแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
3.ควรมีการอบรมให้ความรู้แก่บุคคลในครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเบา
หวาน เพื่อจะได้สนับสนุนหรือดูแลพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกต้อง
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
1.ควรมีการศึกษาปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลหรือทำานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
ของผู้ป่วยเบาหวานว่ามีความสัมพันธ์กับการรับรู้ หรือเรียนรู้ของผู้ป่วยเบาหวานหรือไม่
เพื่อจะได้ปรับกระบวนการเรียนรู้ต่อไป
2.ควรศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคลในครอบครัวว่ามีส่วนช่วยผลักดันหรือ
สนับสนุนให้ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลตนเองหรือไม่ เพื่อเป็นแนวทางในการ
จัดกิจกรรมสุขภาพแก่บุคคลเหล่านี้
เอกสารอ้างอิง
วรกาล ธิปกะ. รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย
โ ร ค เ บ า ห ว า น ก ร ณีศึก ษ า :ใ น พื้น ที่ รับ ผิด ช อ บ โ ร ง
พยาบาลศรีสงคราม จังหวัดนครพนม;2547
ชื่นฤดี ราชบัญดิษฐ์. โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบา
หวานระดับสถานีอนามัย โรงพยาบาลปลาปาก จังหวัด
นครพนม.วารสารสำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่7 จังหวัดอุบลราชธานี.2549
, 24 – 29
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เอกสารประกอบ

Más contenido relacionado

Similar a ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555BKc BiGgy
 

Similar a ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน (20)

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
Basic cancer knowledge for alls
Basic cancer knowledge for allsBasic cancer knowledge for alls
Basic cancer knowledge for alls
 
Chronic muskeletal-2552 p3
Chronic muskeletal-2552 p3Chronic muskeletal-2552 p3
Chronic muskeletal-2552 p3
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Analytical Study
Analytical StudyAnalytical Study
Analytical Study
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ม.6 2555
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 

ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน

  • 1. บทนำำ โรคเบำหวำนเป็นโรคเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดโรคหนึ่ง โดยมีอุบัติกำรณ์ร้อยละ 3- 5 ของประชำกรพบได้ทุกเพศทุกวัย แต่จะพบมำกในคนอำยุมำกกว่ำ 40 ปีขึ้นไป เพศ หญิงมำกกว่ำเพศชำย เป็นสำเหตุสำำคัญของโรคแทรกซ้อนต่ำงๆมำกมำยเช่นภำวะไต เรื้อรัง ตำบอด ควำมผิดปกติของเส้นประสำท กำรตัดเท้ำ(Limp amputation) โรคหัวใจ ที่หลอดเลือดและสมองอุดตัน เป็นต้นซึ่งก่อให้เกิดควำมพิกำรหรือเสียชีวิต ดังนั้นจะเห็น ได้ว่ำ โรคเบำหวำนจึงเป็นปัญหำทั้งต่อสุขภำพและเศรษฐำนะ โดยถ้ำผู้ป่วยได้รับกำร รักษำอย่ำงถูกต้องและเหมำะสมตั้งแต่ต้นจะช่วยลดควำมรุนแรงของปัญหำดังกล่ำวได้ ซึ่งกำรดูแลผู้ป่วยเบำหวำนจำำเป็นต้องดูแลอย่ำงเป็นระบบ ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังในได้มีกำรจัดตั้งคลินิกโรคเบำหวำน โดยกำำหนด เดือนละ 2 ครั้ง คือพุธที่ 1 และ 3 ของเดือน จำกกำรดำำเนินงำนคลินิกโรคเบำหวำนของ ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน พบปัญหำที่สำำคัญ คือทุกๆปีจะมีผู้ป่วยเข้ำรับกำรรักษำที่ ขึ้นทะเบียนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.32 และผลจำกกำรเจำะเลือด พบว่ำผู้ป่วยมีภำวะระดับ นำ้ำตำลในเลือดสูง บำงรำยมีทัศนคติที่ว่ำ หำกภำวะระดับนำ้ำตำลในเลือดสูงหมอก็จะ ฉีดยำลดระดับนำ้ำตำลให้เอง โดยไม่มีควำมตระหนักที่จะควบคุมระดับนำ้ำตำลในเลือด ด้วยตนเองซึ่งทำงเจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขประจำำศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังในเองได้ให้ ควำมรู้เกี่ยวกับโรคเบำหวำนทุกครั้งที่มีคลินิกโรคเบำหวำน พร้อมสอนออกกำำลังกำยใน ตอนเช้ำ ก็ยังไม่สำมำรถทำำให้ผู้ป่วยเบำหวำนมีภำวะระดับนำ้ำตำลในเลือดปกติได้ ประกอบกับได้รับรำยงำนจำกโรงพยำบำลวังนำ้ำเย็นว่ำมีผู้ป่วยเบำหวำนของศูนย์สุขภำพ ชุมชนตำหลังใน เข้ำรับกำรรักษำด้วยภำวะแทรกซ้อนมำก โดยเฉพำะกำรติดเชื้อของ แผลที่เท้ำ และโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองอุดตัน และมีผู้เสียชีวิตจำกโรคเบำหวำน ด้วยภำวะแทรกซ้อนปีละ ร้อยละ 0.34 ผู้วิจัยในฐำนะผู้ดูแลรักษำกลุ่มผู้ป่วยดังกล่ำว จึงได้จัดโครงกำรอบรมเพิ่มควำมรู้ สู้เบำหวำนของศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังในขึ้น โดยให้ควำมรู้เกี่ยวกับโรคเบำหวำน กำรดูแลตนเองผสมผสำนกับกระบวนกำรเรียนรู้ โดยให้ผู้ป่วยเบำหวำนมีส่วนร่วมในกำร แสดงควำมคิด วิเครำะห์ตนเอง พร้อมกับหำทำงแก้ปัญหำเหล่ำนั้นด้วยตนเอง ทำำให้ผู้ ป่วยเบำหวำนเกิดควำมตระหนักที่จะมีพฤติกรรมกำรดูแลตนเองในกำรควบคุมระดับ นำ้ำตำลในเลือด ไม่ก่อเกิดโรคแทรกซ้อนและอยู่กับเบำหวำนได้อย่ำงมีควำมสุข วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษำกำรสร้ำงรูปแบบกำรให้ควำมรู้แก่ผู้ป่วยเบำหวำน โดยกระบวนกำร เรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วม ในโครงกำรอบรมเพิ่มควำมรู้ สู้เบำหวำน ขอบเขตกำรวิจัย
  • 2. 1. ชี้นำำด้ำนสุขภำพ 2. เพิ่มควำมสำมำรถ กำรให้ควำมรู้และกำรดูแลตนเอง กระบวนกำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ผู้ ป่วยเบำหวำนสำมำรถ - อำหำร (Model อำหำร ) - กำรวิเครำะห์ตนเอง ควบคุม ระดับนำ้ำตำลใน - ยำ - กำรวิเครำะห์กลุ่ม เ ลื อ ด < 126 mg/dl - กำรดูแลรักษำเท้ำ - กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร - กำรออกกำำลังกำย กำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน(FSC.) - ภำวะโรคแทรกซ้อน 3. กำรไกล่เกลี่ยประโยชน์ ด้ำนสุขภำพ วิธีกำรศึกษำ 1. ขั้นเตรียมกำร 1.1 ประชุมกลุ่ม ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สำธำรณสุขอำำเภอ ผู้ ช่วยสำธำรณสุขอำำเภอ พยำบำลผู้รับผิดชอบคลินิกเบำหวำนในโรงพยำบำลวังนำ้ำเย็น เจ้ำหน้ำที่ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน เจ้ำหน้ำที่สถำนีอนำมัยท่ำตำสี ชี้แจงสภำพ ปัญหำผู้ป่วยเบำหวำนของศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน และหำแนวทำงแก้ปัญหำแก่ผู้ ป่วยเบำหวำน ได้ข้อสรุปว่ำ ควรหำวิธีให้ควำมรู้ในรูปแบบใหม่แก่ผู้ป่วยเบำหวำน เพื่อ ป้องกันระดับนำ้ำตำลในเลือดสูงจนเกิดภำวะโรคแทรกซ้อนขึ้น โดยจัดทำำโครงกำร เพิ่ม ควำมรู้ สู้เบำหวำนขึ้น โดยใช้กระบวนกำรเรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วม 1.2 ศึกษำกระบวนกำรกำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในกำรอบรมครั้งนี้ เช่น กำรวิเครำะห์ตนเอง กำรวิเครำะห์กลุ่ม กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน (FSC) 1.3 ดำำเนินกำรคัดเลือกกลุ่มเป้ำหมำย คือ ผู้ป่วยเบำหวำนที่มีระดับ นำ้ำตำลในเลือดสูง > 200 mg/dl 1.4 จัดทำำแบบทดสอบประเมินควำมรู้ ก่อนและหลังอบรม โดยเน้นตำม หัวข้อที่ให้ควำมรู้ คือ เรื่องพฤติกรรมกำรรับประทำนอำหำร กำรรับประทำนยำ กำรออก กำำลังกำย ภำวะโรคแทรกซ้อน และกำรดูแลรักษำเท้ำ 1.5 กำรเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในกำรจัดอบรม 2. ขั้นดำำเนินกำร กำรจัดอบรม ดำำเนินกำรทั้งสิ้น 2 วัน
  • 3. วันแรก ดำำเนินกำรจัดทำำแบบทดสอบประเมินควำมรู้ก่อนกำรอบรม และใช้กลยุทธ์ชี้นำำด้ำนสุขภำพ คือกำรให้ควำมรู้ในเรื่องกำรรับประทำนอำหำร โดยมี วิทยำกรผู้เชี่ยวชำญมำสอน พร้อมกับใช้ Model อำหำร มำประกอบกำรเรียนกำรสอน ในเรื่องวิธีกำรรับประทำนอำหำรแต่ละอย่ำง ควรรับประทำนปริมำณเท่ำใด เรื่องของกำร รับประทำนยำที่ถูกต้อง กำรออกกำำลังกำยที่เหมำะแก่ผู้ป่วยเบำหวำน ภำวะโรค แทรกซ้อนที่เกิดได้ง่ำย กำรดูแลรักษำเท้ำที่ควรระมัดระวังให้มำกไม่เช่นนั้นอำจต้องถูก ตัดขำทิ้ง วันที่สอง ใช้กระบวนกำรเรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วม ของผู้ป่วยเบำหวำน โดยใช้กลยุทธ์เพิ่มควำมสำมำรถของผู้ป่วยเบำหวำนให้มีศักยภำพสูงสุดในกำรดูแล ตนเอง ดังนี้ คือ 1.1 กำรวิเครำะห์ตนเอง เป็นกำรวิเครำะห์ดูสำเหตุว่ำตนเองที่เป็นเบำ หวำนน่ำจะเกิดมำจำกสำเหตุอะไร และทำำไมจึงไม่สำมำรถควบคุมระดับนำ้ำตำลในเลือด ได้จำกแบบบันทึกกำรวิเครำะห์ตนเอง โดยแยกเป็นสำเหตุดังนี้ คือ กำรรับประทำน อำหำร กำรรับประทำนยำ กำรออกกำำลังกำย เมื่อแยกสำเหตุได้แล้วก็ให้หำวิธีแก้ปัญหำ ด้วยตนเอง 1.2 กำรวิเครำะห์กลุ่ม เป็นกำรวิเครำะห์โดยให้จับกลุ่มกันกลุ่มละ 5 คนและให้โจทย์ตัวอย่ำงกรณีศึกษำปัญหำเกี่ยวกับเบำหวำนทุกกลุ่ม โดยให้ทุกคนช่วย กันวิเครำะห์ว่ำ ตัวอย่ำงกรณีศึกษำนี้ เป็นเบำหวำนเกิดจำกสำเหตุอะไร และสำมำรถ ควบคุมระดับนำ้ำตำลด้วยวิธีใด และให้มำสรุปอภิปรำยร่วมกัน กำรวิเครำะห์กลุ่มนี้ เป็นกำรวิเครำะห์เพื่อทบทวนควำมรู้ที่ได้สอนไปในวันแรก 1.3 กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน(FSC) ผู้ป่วย เบำหวำนเข้ำร่วมประชุมเชิงปฏิบัติกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน (Future Search Conference) โดยมีแบบบันทึกกำรประชุม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้ คือ 1. กำรวิเครำะห์เหตุกำรณ์ในอดีตเพื่อเชื่อมโยงสภำพกำรณ์และโน้มไปสู่ ปัจจุบัน และอนำคต โดยให้ผู้ป่วยเบำหวำนช่วยกันคิดถึงอดีตที่และคิดว่ำพฤติกรรมใดบ้ำงมีส่วน ทำำให้เป็นโรคเบำหวำน 2. กำรวิเครำะห์และสังเครำะห์สภำพกำรณ์ปัจจุบันเพื่อเข้ำใจทิศทำงและ ปัจจัยที่ มีอิทธิพลในประเด็นหลักกำรประชุม โดยให้ผู้ป่วยเบำหวำนคิดว่ำพฤติกรรมในอดีตที่คิด ไว้นั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมในปัจจุบันที่ปฏิบัติอยู่ ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง 3. กำรสร้ำงจินตนำกำรถึงอนำคตที่พึงปรำรถนำเพื่อร่วมกันคิด วิเครำะห์ และเลือกกำำหนดแนวทำงไปสู่อนำคตร่วมกัน เมื่อผู้ป่วยเบำหวำนนึกถึงพฤติกรรมใน
  • 4. อดีตและปัจจุบันแล้ว และยังเป็นพฤติกรรมที่ทำำให้ภำวะระดับนำ้ำตำลในเลือดสูง และ ทำำให้เกิดภำวะโรคแทรกซ้อนตำมมำ ผู้ป่วยเบำหวำนก็จะเกิดควำมตระหนัก ดังนั้นจึงให้ ผู้ป่วยเบำหวำนทุกคนช่วยกันคิดว่ำอนำคตต่อจำกนี้จะมีพฤติกรรมดูแลสุขภำพของ ตนเองได้อย่ำงไร เพื่อให้ผู้ป่วยเบำหวำนอยู่กับเบำหวำนได้อย่ำงมีควำมสุข ทั้งนี้ ในกระบวนกำรเรียนรู้อย่ำงมีส่วนร่วมที่เกิดขึ้นนั้นย่อมมีควำมคิดที่ แตกต่ำง และบำงปัญหำไม่สำมำรถแก้ได้ ดังนั้นจึงต้องใช้กลยุทธ์ไกล่เกลี่ยประโยชน์ ทำงด้ำนสุขภำพ เพื่อให้เกิดควำมประนีประนอมในกำรแก้ปัญหำนำำไปสู่กำรเกิด พฤติกรรมดูแลสุขภำพตนเองที่ถูกต้อง เมื่อเสร็จสิ้นกำรอบรม ดำำเนินกำรทดสอบประเมินผลควำมรู้หลังกำรอบรม และประเมินกำรจัดอบรม โครงกำรอบรมเพิ่มควำมรู้ สู้เบำหวำน 3. ขั้นติดตำมและประเมินผล มีกำรติดตำมและประเมินผลระดับนำ้ำตำลในเลือดของผู้ป่วยเบำหวำนที่ เข้ำอบรมทุกๆเดือนเป็นระยะเวลำ 3 เดือนจำกแฟ้มประวัติกำรมำเจำะนำ้ำตำลในเลือดเพื่อ รับยำ ของคลินิกเบำหวำน ศูนย์สุขภำพชุมชนตำหลังใน ผลกำรศึกษำ 1. กำรวิเครำะห์ตนเอง ผลจำกแบบบันทึกกำรวิเครำะห์ตนเองพบว่ำ ผู้ป่วยเบำหวำนมีพฤติกรรม เหมือนๆกันทั้งในเรื่องกำรรับประทำนอำหำรส่วนใหญ่จะรับประทำนอำหำรรสเค็ม และ กินผลไม้ครั้งละมำกๆเช่น มะขำมหวำน มะม่วง ทุเรียนฯลฯ และกำรรับประทำนยำส่วน ใหญ่จะลืมทำนและลดขนำดหรือเพิ่มขนำดยำเอง กำรออกกำำลังกำยส่วนใหญ่ทำำงำน บ้ำนอยู่แล้วและส่วนมำกลืมใส่รองเท้ำขณะเดินรอบบ้ำน กำรแก้ปัญหำส่วนใหญ่ผู้ป่วย เบำหวำนก็จะไม่ทำนอำหำรเค็ม หวำน มัน ทอด จะไม่ลืมทำนยำ ทำนยำตำมแพทย์สั่ง เท่ำนั้น หมั่นออกกำำลังกำยประจำำ สวมรองเทำทุกครั้งที่เดิน ตรวจดูง่ำมเท้ำและซอกเท้ำ 2. กำรวิเครำะห์กลุ่ม จำกผลกำรวิเครำะห์กรณีศึกษำที่แต่ละกลุ่มวิเครำะห์พบว่ำ ทุกกลุ่ม สำมำรถวิเครำะห์กรณีศึกษำได้อย่ำงดี ตั้งแต่ สำเหตุ จนกระทั่งวิธีกำรแก้ไขที่สำมำรถ ควบคุมระดับนำ้ำตำลในเลือดได้ถูกต้องตรงตำมที่ผู้วิจัยต้องกำร และจำกกำรสังเกตรำย กลุ่มพบว่ำทุกคนต่ำงแสดงควำมคิดเห็นที่ตรงกัน สำมำรถอภิปรำยและถกเถียงปัญหำ ต่ำงๆตำมควำมคิดของแต่ละคนที่อยู่ในกรอบควำมรู้ที่ให้ไปอย่ำงถูกต้อง ชัดเจน ซึ่ง ทำำให้เห็นว่ำทุกคนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเบำหวำนมำกขึ้น 3. กำรประชุมเชิงปฎิบัติกำรกำรสร้ำงอนำคตร่วมกัน
  • 5. อดีตก่อนเป็นเบาหวาน ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมเช่นเดียวกับการ วิเคราะห์ตนเอง คือการรับประทานอาหารรสเค็ม หวาน และของมันของทอด สูบบุหรี่ดื่ม สุรา เครียดและส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าเกิดจากกรรมพันธุ์หรือไม่เนื่องจากบรรพบุรุษไม่ได้ ตรวจเบาหวาน ปัจจุบันเป็นเบาหวาน ส่วนใหญ่ก็จะมีพฤติกรรมเหมือนเดิม และดื่มสุรา สูบบหรี่ นอนไม่หลับ เครียด อนาคตจะอยู่กับเบาหวานได้อย่างมีความสุข คือการมีพฤติกรรมดูแล สุขภาพที่ดี ผลการประเมินทดสอบก่อนและหลังการประเมิน ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม ความรู้ที่ ประเมิน จำานวน (คน) ค่าเฉลี่ย (คะแนน) Std. Deviation Std. Error Mean P ก่อนการ อบรม 25 7.4325 1.92024 0.45613 หลังการ อบรม 25 13.7488 3.02701 1.00123 0.001 จากตารางพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรมมีความรู้ดีขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ (P = 0.05) คือ P =0.001 ผลจากการติดตามและประเมินผลระดับนำ้าตาลในเลือดทุกๆเดือน ในระยะเวลา 3 เดือน ตารางที่ 3 ตารางเปรียบเทียบการควบคุมระดับนำ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้า อบรม การควบคุมระดับนำ้าตาลใน เลือด จำานวน (คน) n = 25 ร้อยละ > 126 mg/dl 4 16.00 < 126 mg/dl 21 84.00 จากตาราง พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม สามารถควบคุมระดับนำ้าตาลใน เลือดได้ร้อยละ 84.00 สรุปผลการศึกษา/วิจัย จากผลการศึกษา พบว่าการพัฒนาองค์ความรู้ของผู้ป่วยเบาหวานโดยมี Model อาหาร ประกอบการเรียนการสอนทำาให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดความเข้าใจในความรู้ที่ให้ มากขึ้น จากการสังเกตการถาม – ตอบ และเมื่อนำามาผสมผสานกับกระบวนการเรียนรู้
  • 6. อย่างมีส่วนร่วม พบว่าผู้ป่วยเบาหวานมีการรับรู้สุขภาวะสุขภาพของตนเอง จากการ วิเคราะห์ตนเอง การวิเคราะห์กลุ่ม ทำาให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดความตระหนักที่จะมี พฤติกรรมดูแลสุขภาพตนเอง นำาไปสู่การประชุมเชิงปฏิบัติการการสร้างอนาคตร่วม กัน(FSC) และผลการทดสอบประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผู้ป่วยเบาหวานมี ความรู้ดีขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ และผลจากการติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดทุกๆ เดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่มีผลระดับนำ้าตาลในเลือด< 126 mg/dl แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดี ขึ้นและถูกต้องจนสามารถควบคุมระดับนำ้าตาลในเลือดและอยู่กับเบาหวานได้อย่างมี ความสุข ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะของหน่วยงาน 1.หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้การส่งเสริมสุขภาพผู้ ป่วยเบาหวานให้มีการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ถูกต้อง และต่อเนื่อง เช่น สนับสนุน งบประมาณ การจัดสถานที่ในการจัดกิจกรรม และการอบรมพัฒนาความรู้เพิ่มเติมให้แก่ ชมรมเบาหวานให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 2.จัดตั้งชมรมผู้ป่วยเบาหวานในด้านการส่งเสริมสุขภาพ เวทีแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3.ควรมีการอบรมให้ความรู้แก่บุคคลในครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเบา หวาน เพื่อจะได้สนับสนุนหรือดูแลพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกต้อง ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1.ควรมีการศึกษาปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลหรือทำานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของผู้ป่วยเบาหวานว่ามีความสัมพันธ์กับการรับรู้ หรือเรียนรู้ของผู้ป่วยเบาหวานหรือไม่ เพื่อจะได้ปรับกระบวนการเรียนรู้ต่อไป 2.ควรศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคลในครอบครัวว่ามีส่วนช่วยผลักดันหรือ สนับสนุนให้ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลตนเองหรือไม่ เพื่อเป็นแนวทางในการ จัดกิจกรรมสุขภาพแก่บุคคลเหล่านี้ เอกสารอ้างอิง วรกาล ธิปกะ. รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย โ ร ค เ บ า ห ว า น ก ร ณีศึก ษ า :ใ น พื้น ที่ รับ ผิด ช อ บ โ ร ง พยาบาลศรีสงคราม จังหวัดนครพนม;2547 ชื่นฤดี ราชบัญดิษฐ์. โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบา หวานระดับสถานีอนามัย โรงพยาบาลปลาปาก จังหวัด
  • 7. นครพนม.วารสารสำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่7 จังหวัดอุบลราชธานี.2549 , 24 – 29 ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เอกสารประกอบ