SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 48
ไฟฟ้าสถิต (Static electric)
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน  (e)   หรือ ไอออน  (ion)
600 B.C.:   ทาลีส  (Thales)  นักวิทยาศาสตร์ชาวกรีกได้  ค้นพบอำนาจ   ไฟฟ้า  (Electr on ) คำว่า  Electricity  มาจากคำว่า  Elektron  ในภาษากรีก แปลว่า อำพัน
Benjamin Franklin ค . ศ .  1747
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ไฟฟ้าสถิต (Static Electric)
ไฟฟ้าสถิต   :   การที่วัตถุเสียดสีกันแล้วสามารถดูดวัตถุเล็กๆ ได้ เนื่องมาจากเกิดประจุไฟฟ้าขึ้นบนวัตถุนั้น เรียกว่า  เกิดไฟฟ้าสถิต  (Static Electric)   ขึ้นบนวัตถุนั้น ฉะนั้น ไฟฟ้าสถิต ก็คือ ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในวัตถุใดๆ ที่มีประจุไฟฟ้าอยู่
ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนี้ มี  2  ชนิด คือ  ประจุไฟฟ้าบวก   (positive electric charge)  มีค่าประจุเท่ากับ   +1.6  10 -19  Coulombs   และ ประจุไฟฟ้าลบ   (negative electric  charge )  มีค่าประจุเท่ากับ  -1.6  10 -19  Coulombs
ไฟฟ้าบวก ขนสัตว์ ขนนก แก้ว ฝ้าย ผ้าไหม ไม้ พลาสติก โลหะ กำมะถัน ยาง เอโบไนท์ ไฟฟ้าลบ
Plastic rubbed with fur becomes  negatively  charged,  glass rubbed with silk becomes  positively  charged
A charged comb  attracts a piece of paper
การเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต  (Electrostatic Induction)
แรงทางไฟฟ้า
เมื่อมีประจุไฟฟ้าหรืออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น อนุภาคเหล่านี้จะมีแรงกระทำต่อกัน ตัวอย่างเช่น เมื่อนำหวีมาถูกับผม หรือใช้แผ่น  PVC  ถูกับผ้าสักหลาดแล้ว สามารถดูดกระดาษแผ่นเล็กๆ ได้ แสดงว่ามีแรงดึงดูดกันเกิดขึ้น แรงนี้เกิดขึ้นเนื่องจากประจุไฟฟ้า เรียกว่า  แรงทางไฟฟ้า  (Electric Force)
Coulomb's Law   เมื่อ F = แรง  ( นิวตัน , Newton) Q1,Q2 = ปริมาณของประจุตัวที่  1  และ  2 ( คูลอมบ์ ,  C oulomb) r = ระยะห่างระหว่างประจุทั้งสอง  ( เมตร , metre) k = ค่าคงที่  (9  10 9   นิวตัน เมตร 2  /  คูลอมบ์ 2 )
ประจุชนิดเดียวกันจะเกิดแรงในทิศทางที่  ผลักกัน  ประจุต่างชนิดกัน แรงที่เกิดขึ้นจะมีทิศทางที่  ดูดกัน  มีลักษณะดังนี้
สนามไฟฟ้า (Electric Field)
ถ้ามีประจุ  Q  วางอยู่บริเวณหนึ่ง จะเกิดอำนาจทางไฟฟ้าอย่างหนึ่ง แผ่ออกมารอบๆ ประจุไฟฟ้านี้ เรียกว่า  สนามไฟฟ้า  ถ้านำประจุไฟฟ้า  Q ´   มาวางไว้ในบริเวณสนามไฟฟ้านี้ โดยห่างจากประจุ  Q  เป็นระยะทาง  r  จะเกิดแรง  F  กระทำกับ  Q ´   สนามไฟฟ้าที่ทำให้เกิดแรงขนาดนี้จะมีขนาดของสนามไฟฟ้า คือ
E  มีหน่วยเป็น นิวตันต่อคูลอมป์ หรือ โวลท์ต่อเมตร
ตัวอย่าง วิธีทำ A 3   m จาก E = kQ/r 2 แทนค่า Q = 10 -10 คูลอมบ์ R = 3  เมตร k = 9×10 9 เพราะฉะนั้น  E = = 0.1 นิวตัน / คูลอมบ์ วัตถุทรงกลมตัวนำชนิดหนึ่งมีรัศมี  0.5  เมตร ถ้านำประจุไฟฟ้าขนาด  10 -10   คูลอมบ์ มาใส่ไว้ในวัตถุตัวนำนี้ อยากทราบว่า ที่ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม  3  เมตรจะมีขนาดของสนามไฟฟ้าเท่าใด
สนามไฟฟ้า  เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เรียกว่าเป็น  ปริมาณเวกเตอร์  (Vector)   เขียนแทนด้วย     ทิศทางของสนามไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับชนิดของประจุ  คือ ถ้าเป็นประจุบวก สนามไฟฟ้าจะมีทิศทางพุ่งออกจากประจุบวกนี้ทุกทิศทุกทาง และถ้าเป็นประจุลบสนามไฟฟ้าจะมีทิศทางพุ่งเข้าทุกทิศทาง ดังรูป
 
ถ้ามีประจุไฟฟ้า  2  กลุ่ม อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน สนามไฟฟ้าจะไม่มีทางตัดกันเลย แต่จะเลี้ยวจนขนานกันออกไป
 
การกระจายของประจุไฟฟ้าตามลักษณะของวัสดุ ตัวนำ  ( Conductors) ฉนวน  ( Insulators) + + + + + + + + + + + + + + - - - - - - - - - - - - + + + + + + + + + + + + + - - - - - - - - - - - - - - -
ความหนาแน่นผิวของประจุ จำนวนประจุไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่บนผิววัตถุ ความหนาแน่นผิวของประจุจะมากถ้าผิวโค้งมา และที่ส่วนแหลมของผิวจะมีประจุไฟฟ้าหนาแน่นมาก วัตถุทรงกลมจะมีความหนาแน่นผิวของประจุคงที่
นอกจากทรงกลมแล้ว เราสามารถที่จะเก็บประจุไฟฟ้าไว้ในรูปแบบอื่นอีก เช่น เก็บไว้ในแผ่นตัวนำคู่ขนาน ถ้าแผ่นคู่ขนานนี้อยู่ห่างกันเป็นระยะทาง  D  แล้วใส่ประจุไฟฟ้าเข้าไปในแผ่นคู่ขนานนี้ โดยต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟหรือแบตเตอรี่ ประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนไปอยู่บนแผ่น ดังรูป ประจุบวกก็จะไปอยู่บนแผ่นที่ต่อเข้ากับไฟบวก และประจุลบจะไปอยู่บนแผ่นที่ต่ออยู่กับไฟขั้วลบ
บริเวณระหว่างแผ่นคู่ขนานนี้ จะมีสนามไฟฟ้าเกิดขึ้น โดยมีทิศทางจากบวกไปลบ ถ้าแหล่งข่ายไฟที่ใช้มีแรงเคลื่อนขนาด  V  โวลท์ ขนาดของสนามไฟฟ้าจะมีค่า มีหน่วยเป็น โวลท์ต่อเมตร
ฟารัด  (Farad) เมื่อนำแหล่งจ่ายไฟฟ้าออก ประจุก็ยังคงอยู่บนแผ่นคู่ขนานนี้ แสดงว่าเราสามารถเก็บประจุไฟฟ้าไว้บนแผ่นตัวนำคู่ขนานนี้ได้ จะเรียกแผ่นคู่ขนานนี้ว่า   ตัวเก็บประจุ หรือ  Capacitor   ตัวเก็บประจุนี้จะสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้สูงสุดค่าหนึ่งเท่านั้น ค่านี้เรียกว่า ค่าความจุของตัวเก็บประจุ มีหน่วยเป็น   ฟาหรัด  (Farad)   แต่นิยมใช้ในหน่วยที่เล็กกว่านี้ เช่น ไมโครฟารัด  (10 -6 ,   F ),  นาโนฟารัด  (10 -9 ,  nF) ,  พิโคฟารัด  (pF)   ถ้ามีประจุไฟฟ้าบนแผ่นตัวนำคู่ขนานสูงสุด  Q  คูลอมบ์ โดยใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้า  V  โวลท์ จะมีค่าความจุ
กรณีตัวนำทรงกลมก็สามารถเก็บประจุได้เช่นเดียวกัน ถ้าทรงกลมมีรัศมี  R  สามารถเก็บประจุได้สูงสุด  Q  จะมีค่าความจุ เท่ากับ   k =   9  10 9 ในการนำมาใช้งานจริงในปัจจุบัน ส่วนมากจะพบเฉพาะตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนาน ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป เช่น ในวิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ทำหน้าที่ส่งผ่านสัญญาณที่กระเพื่อม  (AC)  แต่จะกั้นสัญญาณที่อยู่นิ่งๆ  (DC)  นอกจากนี้ยังช่วยกรองกระแสไฟฟ้าให้เรียบขึ้นในวงจรภาคจ่ายไฟ เช่น ในอะแดปเตอร์  (adaptor)
แบบอนุกรม  (Series) การต่อตัวเก็บประจุ แบบขนาน  (Parallel) C 1 C 2 C 3 C 1 C 2 C 3
รูปร่าง ตัวเก็บประจุแบบทรงกลม   งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์  HV-source
Van de Graaff เครื่องกำเนิดศักย์ไฟฟ้าแรงสูงชนิดหนึ่ง  (High Voltage Sorce) (High Voltage Power Supply) พ . ศ . 2474  โดยนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน “ Robert Jemson Van de Graaff”
Schema working Van de Graaff generator -1 positief geladen hoofdbol -2 en 7 kammen voor elektronen overdracht -3 en 6 rolcylinders -4 transportband met lading -8 negatief geladen secundaire bol -9 overslagvonk
 
ศักย์ไฟฟ้า
ศักย์ไฟฟ้า ( Potential )   เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับประจุไฟฟ้าที่จุดหนึ่งในสนามไฟฟ้า เนื่องจาก   แรงที่กระทำกับประจุไฟฟ้านั้น     พลังงานของประจุไฟฟ้าขึ้นอยู่กับขนาดของประจุและศักย์ไฟฟ้าที่จุดนั้น      ประจุไฟฟ้าบวกจะมีแนวโน้มเคลื่อนที่เข้าสู่จุดที่มีศักย์ไฟฟ้าตำ่กว่านั้นคือ      เคลื่อนลงตามเกรเดียนร์ของศักย์ไฟฟ้า                 เราไม่สามารถวัดศักย์ไฟฟ้าได้    แต่สามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดได้
เป็นพลังงานศักย์ต่อหนึ่งหน่วยประจุที่จุดหนึ่งในสนามไฟฟ้า ประจุบวกมีแนวโน้มเคลื่อนที่มายังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (  Potential  difference )    ความต่างศักย์ของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด  2   จุด   มีค่าเท่ากับการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อประจุไฟฟ้าบวกหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่จากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่งในสนามไฟฟ้าหน่วยของความต่างศักย์ไฟฟ้าคือ    โวลต์    บางทีเรียกความต่างศักย์ไฟฟ้าว่า โวลเตจ   พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยน   ไป  1   จูล เมื่อประจุไฟฟ้า  1   คูลอมบ์ เคลื่อนที่ระหว่างจุดสองจุดที่มีความต่างศักย์  1   โวลต์ มีการกำหนดจุดอ้างอิงจุดหนึ่ง ( ต่อลงดิน )   ให้มีศักย์ไฟฟ้าศูนย์
ความแตกต่างระหว่างศักย์ไฟฟ้า  2  จุด เรียกว่า  ความต่างศักย์ไฟฟ้า จากรูป r B r A Q Volt
การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตมาใช้ประโยชน์
เครื่องกำจัดฝุ่นในอากาศหรือเครื่องฟอกอากาศ
เครื่องพ่นสี การพ่นสี ธรรมดาละอองสีจะฟุ้งกระจายไปทั่ว การเกาะติดกับผิวงานก็จะไม่สม่ำเสมอ ทำให้สีไม่เรียบและไม่คงทน จึงมีการทำให้ละอองสีที่ถูกพ่นออกมา กลายเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ละอองสีเหล่านี้ก็จะสามารถไปเกาะติดกับผิวงานได้แน่นขึ้นด้วยแรงทางไฟฟ้า และจะสม่ำเสมอ สวยงาม คงทน หลักการนี้นำไปใช้มากในการพ่นสียานพาหนะ เช่น รถยนต์ เรือ เครื่องบิน
เครื่องถ่ายเอกสาร (Xerography)
 
 
เลเซอร์พรินเตอร์
เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
สรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้าสรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้า9nicky
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าSaranyu Srisrontong
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3พนภาค ผิวเกลี้ยง
 

La actualidad más candente (19)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
สรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้าสรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้า
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
 

Destacado

ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
สไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอนสไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอนV-yuth Aon
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Worrachet Boonyong
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTom Vipguest
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiencytatong it
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 

Destacado (16)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
สไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอนสไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอน
 
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์  physics41 ไฟฟ้าสถิตย์  physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แม่เหล็ก ไฟฟ้า
แม่เหล็ก ไฟฟ้าแม่เหล็ก ไฟฟ้า
แม่เหล็ก ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
การนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าการนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

Similar a ไฟฟ้าสถิต

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าMaliwan303fkk
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศSomporn Laothongsarn
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

Similar a ไฟฟ้าสถิต (20)

514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
Electrostatic
ElectrostaticElectrostatic
Electrostatic
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

ไฟฟ้าสถิต