SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 52
Descargar para leer sin conexión
คู่มือ ตรวจสอบ
และซ่อมแซม                            บ้าน
     หลังน้ำลด
            �



คณะกรรมการเพื่อให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูเยียวยาฯ�(กฟย.)
    จัดทำาโดย�กรมโยธาธิการและผังเมือง�กระทรวงมหาดไทย
2
สารบัญ
             ง
 1.�โครงสร้าง�                                6
•�รั้วบ้านเอียง�                              6
•�อาคารทรุดเอียง�                             7
•�ฐานรากถูกน้ำ�เซาะ�                          8
•�เสา�คาน�ผนัง�พื้น�แตก�ร้าว�                 9
•�บันไดผุ�หัก�ร้าว�                          11
 2.�งานสถาปัตตยกรรม�ตกแตงภายใน�และงานจัดสวน
 2.�งานสถาปั ยกรรม�ตกแต่งภายใน�และงานจัดสวน� 12
                          ่
•�รั้ว�                                      13
•�พื้น�                                      14
•�ผนัง�                                      16
•�ประตู�                                     17
•�บานพับ�ลูกบิด�และรูกุญแจ�                  18
•�ฝ้าเพดาน�                                  18
•�สี�                                        19
•�เฟอร์นิเจอร์�พรม�ผ้าม่าน�วอลล์เปเปอร์� 20
•�ต้นไม้�สนามหญ้า�                          21




4
3.�ระบบสุขาภิบาล                             23
•�ท่อระบายน้ำ�อุดตัน�                         23
•�ส้วมเหม็น�ส้วมเต็ม�ราดน้ำ�ไม่ลง�            24
•�ระบบประปา�                                  26
 4.�ระบบไฟฟ้า�                                28
•�แผงเมนสวิตช์�                               28
•�อุปกรณ์ไฟฟ้าจมน้ำ��                         32
•�ขันตอนการจ่ายไฟฟ้าหลังการตรวจสอบและแก้ไข�
    ้                                         33
•�ระบบไฟฟ้าถูกน้ำ�ท่วมเสียหายมาก�             35
•�ข้อแนะนำ�เกี่ยวกับสายดิน�                   36
 5.�เครื่องกล�
          งกล                                 41
•�เครื่องปรับอากาศ�                           41
•�การตรวจดูสภาพและแก้ไขปัญหาเบื้องต้น�           �
� ของเครื่องปรับอากาศจากปัญหาน้ำ�ท่วม�        42
•�มอเตอร์�                                    44
•�ปั๊มน้ำ��                                   46



                                                 5
(คำ�อธิบ�ยของคำ�ศัพท์
สีน้ำ�ต�ลในเนื้อเรื่อง)                                         1
โครงสร้าง
ส่วนแกนของรูปทรง ทำ�                               โครงสร้าง
หน้�ที่พยุงรูปทรงให้คงรูป
อยู่ได้เช่นเดียวกับโครง
กระดูก
แนวศูนย์ถ่วง
แนวจ�กจุดศูนย์ถ่วงของ
วัตถุซึ่งดิ่งลงกับพื้น วัตถุที่
เอียงจนแนวศูนย์ถ่วงพ้น                โครงสร้ า งถื อ ว่ า เป็ น ส่ ว นที่ สำ า คั ญ ที่ สุ ด ในด้ า น
ฐ�น วัตถุก็จะล้ม                  ความปลอดภัย จึงควรรีบตรวจสอบโดยสังเกตอาการ
                                  และแนวทางการแก้ไขในระยะเวลาหนึ่งเมื่อแน่ใจจึง
                                  ควรดำาเนินการดังต่อไปนี้
                                  รั้วบ้านเอียง�
                                        ถ้ารั้วเอียงมากจนออกนอกแนวศูนย์ถ่วง (ภาพ ๑)
                                  รั้วอาจล้มลงได้ ให้รีบซ่อมแซมกลับมาให้ได้แนวตรง
ฐานราก                                                  ำ้
                                  เหมือนเดิม ถ้าถูกนาเซาะจนฐานรากโผล่ หรือเห็น
ส่วนของอ�ค�ร ทำ�หน้�ที่
ส่งน้ำ�หนักรวมของอ�ค�ร
                                  ลอยตั้งอยู่บนเสาเข็ม (ภาพ ๒) ให้เอาดินถมกลับคืน
สู่เส�เข็ม มีลักษณะแผ่ออก         ไป มิฉะนั้นเสาเข็มอาจหักทำาให้รั้วพังลงมาได้ ส่วนรั้ว
คลุมหัวเส�เข็ม                    ทรุดตัวไม่เท่ากัน ต้องให้ช่างผู้ชำานาญมาทำาการเสริม
                                  ฐานรากยกกลับขึ้นมาให้อยู่ในระดับเดิม




6
ภาพ ๑
                                             เสาเข็ม
                                             เส�ใต้ดินทำ�หน้�ที่ผ่อง
                                             ถ่�ยน้ำ�หนักอ�ค�รสู่ดิน
                                             เส�เข็มสั้น (ไม่เกิน ๘
                                             เมตร) รับน้ำ�หนักโดย
                                             อ�ศัยคว�มฝืดระหว่�งผิว
                                             เส�เข็มกับดิน เส�เข็มของ
  ภาพ ๒                                      อ�ค�รใหญ่จะย�วลงไป
                                             ยันกับพื้นดินด�น (ลึก ๑๖
                                             เมตร ในพื้นที่ กทม.)




อาคารทรุดเอียง�
    (ภาพ ๓) จะต้องดีดยกอาคารและเสริมฐานราก
โดยต้องปรึกษาวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
  ภาพ ๓
                                             วิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
                                             น�ยช่�งผู้ควบคุมก�ร
                                             ก่อสร้�ง มีหล�ยส�ข�
                                             ได้แก่ วิศวกรโครงสร้�ง
                                             (อ�ค�ร), วิศวกรโยธ�
                                             (ส�ธ�รณูปโภค), วิศวกร
                                             ไฟฟ้�, วิศวกรเครื่องกล
                                             ฯลฯ                    7
ฐานรากถูกน้ำเซาะ �
                        ้
          ถ้าฐานรากถูกนำาเซาะจนดินที่ห่อหุ้มฐานรากหาย
    ไป เมื่อตรวจดูแล้วพบว่าฐานรากยังตั้งตรงอยู่ในสภาพ
    ปกติ ไม่ทรุด ไม่แตกร้าว ก็ให้ถมดินกลับคืนไป แต่ถ้า
    ฐานรากเกิดเอียง หรือทรุดตัวลง (ภาพ ๔) หรือแตก
    ร้าว (ภาพ ๕) ในเรื่องนี้คงแก้ไขเองไม่ได้ ต้องให้วิศวกร
    มาตรวจสอบเพื่อแก้ไขซ่อมแซมต่อไป




                                              ภาพ ๔

                                              ภาพ ๕




8
เสา�แตก�หัก�ร้าว�                                                  รอยแตกร้าว
        ถ้าเป็นเสาไม้รับนำ้าหนักไม่มากอาจพอหาช่างมา                รอยร้�วของเส�-ค�น
แก้ไขได้ แต่ถ้าเป็นเสาคอนกรีตหัก หรือมีรอยร้าวเป็น                 ที่แสดงสภ�พอันตร�ย
แนวเฉียง (ภาพ ๖) หรือมีรอยร้าวบริเวณรอยต่อเสาคาน                   ภาพ ๖
(ภาพ ๗) หรือผิวปูนแตกจนเห็นเหล็กเสริมในเสา (ภาพ                    รอยเส�ร้�วเป็นแนวเฉียง
๘) หรือเสาเอียง ควรให้วิศวกรมาตรวจสอบแก้ไขทันที
เนื่ อ งจากเสาดั ง กล่ า วอาจสู ญ เสี ย กำ า ลั ง ในการรั บ นำ้า
หนักและพังทลายลงมาได้ ซึ่งเป็น “อันตราย” ต่อผู้อยู่
อาศัยอย่างยิ่ง
คาน�แตก�ร้าว�หัก�                                                  ภาพ ๗
        ถ้าเป็นคานไม้ สังเกตได้ไม่ยาก คานหักหรือแตก                รอยร้�วบริเวณรอยต่อ
ก็ยังพอให้ช่างมาดามด้วยไม้หรือเหล็ก หรือเปลี่ยนไม้                 เส�-ค�น
ใหม่ให้ได้ แต่ถ้าเป็นคานคอนกรีตหัก หรือมีรอยแตกร้าว
โดยรอยแยกของรอยร้าวกว้างมากกว่า ๐.๕ มิลลิเมตร
(สามารถสอดไส้ดินสอกดขนาด ๐.๕ มิล. เข้าไปในรอย
แยกได้) (ภาพ ๙) ควรให้วิศวกรมาตรวจสอบแก้ไขจะ
ปลอดภัยกว่า แต่ถ้าหากรอยแยกกว้างน้อยกว่า ๐.๕
มิล. อาจต้องตรวจดูรอยร้าวในเนื้อคานคอนกรีต (รอย                    ภาพ ๘
ร้าวนี้หมายถึงรอยร้าวที่เนื้อคอนกรีตจริงๆ ไม่ใช่ที่ปูน             ผิวปูนแตก
                                                                   จนเห็นเหล็กเสริม
ฉาบ) โดยให้สกัดเฉพาะปูนฉาบออกเพื่อดูว่ามีรอยร้าว
ที่เนื้อคอนกรีตหรือไม่ (ไม่แน่ใจให้ปรึกษาผู้รู้)

   ภาพ ๙

   ตรวจรอยร้�วเทียบกับ
   ขน�ดไส้ดินสอ ๐.๕ มิล.
                                                                                         9
พื้นคอนกรีต                  หากไม่มีรอยร้าวก็ถือว่าปลอดภัย แค่ฉาบปูนตกแต่ง
ชนิดวางบนดิน                 ปิดให้เรียบร้อยตามเดิมก็พอ แต่หากพบรอยร้าวที่เนื้อ
คือ พื้นคอนกรีตที่ถ่�ย       คอนกรีต ควรให้วิศวกรมาตรวจสอบแก้ไข
น้ำ�หนักลงพื้นดินโดยตรง
ไม่ผ่�นค�นและเส� แต่มัก
                             ผนังแตกร้าว�
มีค�นคอดินล้อมรอบเพื่อ             ผนังคอนกรีตหรือผนังก่ออิฐฉาบปูนแตกร้าวเป็น
ป้องกันดินหรือทร�ยไหล        เส้นลายงาเล็กๆ โดยทั่วไปแล้วมักจะไม่มีอันตรายอะไร
ออก หลังน้ำ�ลด พื้นชนิดนี้   สามารถแก้ไขได้โดยอุดรอยร้าวด้วยสีโป๊ว หรืออะครีลิค
มักทรุดตัว แตกร้�ว เพร�ะ     หรือสารเคมีช่วยประสานรอยต่อแล้วทาสีทับอีกชั้น
ดินข้�งใต้ไหลออกต�มน้ำ�
ไม่มีตัวรับน้ำ�หนักพื้น      หนึ่ง แต่ถ้าผนังแตกร้าวโดยมีรอยแตกกว้างและยาว
พื้นชนิดนี้ช่วยลดน้ำ�หนัก    อย่างเห็นได้ชัดเจนมากและมักจะทะลุถึงอีกด้านหนึ่ง
อ�ค�รที่จะถ่�ยลงสู่เส�เข็ม   ของผนัง แสดงว่าอาจเกิดการแอ่นตัวหรือการทรุดตัวที่
ช่วยประหยัดเส�เข็ม แต่มี     ไม่เท่ากันของโครงสร้างอาคาร ควรรีบปรึกษาวิศวกร
ปัญห�ที่ทรุดตัวได้ง่�ย       เพื่อช่วยในการตรวจสอบแก้ไข
พื้นคอนกรีต                  พื้น�แตก�ร้าว�ทรุด
ชนิดวางบนคาน                       ถ้าเป็นพืนไม้แตกร้าวหรือหัก คงแก้ไขได้ไม่ยากโดย
                                            ้
คือ พื้นคอนกรีตที่ถ่�ย       ใช้ไม้พนขนาดเดียวกันถอดเปลียนเข้าไปแทน ถ้าเป็น
                                       ้ื                  ่
น้ำ�หนักลงสู่ค�น และจ�ก
ค�นสู่เส� ได้แก่
                             พื้นคอนกรีตชนิดวางบนดิน เกิดการทรุดตัวแตกร้าว
พื้นคอนกรีตทั่วไป            มาก (ต้องแน่ใจว่าเป็นพืนวางบนดินจริงๆ และตัดขาด
                                                      ้
ที่ลอยอยู่เหนือพื้นดิน       จากโครงสร้างอื่น) อาจซ่อมแซมโดยรื้อพื้นนั้นออก และ
                             ลอกดิน โคลน หรือดินอ่อนออกแล้วถมกลับด้วยทราย
                                    ำ้
                             ราดนาอัดแน่น (การขุดลอกและการถมต้องระวังมิให้




10
ดินเคลื่อนตั ว จนเกิดความเสียหายต่อโครงสร้างใกล้        บันไดแบบมีคาน
เคียง) จากนั้นจึงผูกเหล็กเทพื้นคอนกรีตใหม่ แต่ถ้าเป็น   แม่บันได
พืนคอนกรีตชนิดวางบนคาน หรือมีโครงสร้างอืนรองรับ
   ้                                        ่           คือ บันไดที่มีค�นเชื่อม
เกิดรอยแตกร้าวอย่างชัดเจน คงต้องให้วิศวกรหรือ           ระหว่�งชั้น
ผู้เชี่ยวชาญมาช่วยตรวจสอบแก้ไขจะปลอดภัยกว่า
บันได�ผุ�หัก�ร้าว
      ถ้าเป็นบันไดไม้ คงแก้ไขได้ไม่ยาก สามารถซื้อไม้
ขนาดเดียวกันมาซ่อมแซมแก้ไขไปได้
      ถ้าเป็นบันไดเหล็ก เกิดผุหรือหัก ควรตามช่าง
เหล็กมาซ่อมแซม
                                 ำ้
      สำาหรับบันไดคอนกรีตซึ่งมีนาหนักมาก และบันได
ก็มีหลายรูปแบบ เช่น บันไดแบบที่มีคานแม่บันได และ        บันไดแบบพื้นยื่น
บันไดแบบพื้นยื่น ซึ่งแต่ละแบบมีพฤติกรรมแตกต่าง          คือ บันไดที่ไม่มีค�น
กัน หากมีความเสียหาย การตรวจสอบแก้ไขควรปล่อย            เชื่อมระหว่�งชั้น
ให้เป็นหน้าที่ของวิศวกรจะดีกว่า




                                                                                  11
อาคารที่พื้นวางบนดิน
คือ อ�ค�รที่พื้นคอนกรีต
                                                     2
ชั้นล่�งเป็นชนิดว�งบน
ดิน อ�ศัยดินรับน้ำ�หนักพื้น      งานสถาปัตยกรรม�
โดยตรง
                                 งานตกแต่งภายใน
                                  และงานจัดสวน

อาคารที่ยกพื้นเหนือดิน
คือ อ�ค�รที่พื้นชั้นล่�งซึ่ง
อ�จเป็นพื้นคอนกรีต หรือ
พื้นไม้ ว�งบนค�น ยกสูง
จ�กพื้นดินประม�ณ ๑ เมตร                  ่ ั                   ้
                                   อาคารทีได้รบความเสียหายจากนำาท่วม เมือระดับ
                                                                       ่
เกิดเป็นที่ว่�งใต้ถุน บ�งที     ำ้
                               นาลดลงแล้วมีข้อแนะนำาดังนี้
ก็ก่อกำ�แพงปิด เพื่อไม่ให้         ๑. อาคารที่พื้นวางบนดิน
สัตว์เข้�ไปอยู่อ�ศัย                ใต้พื้นอาคารจะยังคงมีความชื้นสะสมอยู่มาก ถ้า
                                            ำ้                          ำ้
                               รอบอาคารนายังลดไม่หมด ควรทำาคันกั้นนา เช่น การ
                               ใช้กระสอบทรายเป็นเขื่อน พื้นภายในจะได้แห้งเร็วขึ้น
                               ส่วนช่องว่างทีมดนโคลนทับถมอยู่ ให้ลางทำาความสะอาด
                                               ่ีิ                ้
                               โดยเร็วก่อนโคลนแข็งตัว




12
๒. อาคารที่ยกพื้นเหนือดิน
                  ำ้
         อย่าให้นาขังสะสมใต้ถุนอาคาร แก้ไขโดยถ้าใต้ถุน
อับทึบระบายอากาศไม่ดีให้ทุบผนังและให้ทำาช่องเปิด
โล่งให้มีการระบายอากาศมากที่สุด
         อาคารทัง ๒ ประเภทนี้ ส่วนพืนและผนังของอาคาร
                  ้                    ้
ชั้ น ล่ า งจะได้ รั บ ความเสี ย หายมากกว่ า พื้ น และผนั ง
อาคารส่วนชั้นบน โดยหลักการแก้ไข คือ ให้อาคารระดับ
ชันล่างมีการระบายความชืนออกให้หมด ถ้าพืนเสียหาย
   ้                            ้                 ้
มาก ให้สกัดเอาวัสดุที่ปูไว้ออกก่อน ควรเปิดหน้าต่าง            บ่อเกรอะ
ทิ้งไว้เพื่อไล่ความชื้นออก ให้ภายในมีการถ่ายเทอากาศ           คือ บ่อเก็บและบำ�บัดของ
          ำ้
ห้องนาชั้นล่าง ให้สำารวจตำาแหน่งบ่อเกรอะ บ่อซึม แก้ไข         เสียจ�กส้วม โดยอ�ศัย
                          ำ้        ำ้
รอบบริเวณอย่าให้มีนาขัง ห้องนาชั้นล่างควรระงับการ             ก�รทำ�ง�นของจุลินทรีย์
ใช้งานไว้ก่อน ส่วนความเสียหายของวัสดุต่าง ๆ มีข้อ             ย่อยสล�ยของเสียให้กล�ย
                                                              เป็นน้ำ� บ่อเกรอะมักทำ�ด้วย
แนะนำา ดังนี้                                                 ท่อคอนกรีตทึบตัน
รั้ว
       รั้วเหล็ก                                              บ่อซึม
       ถ้าเป็นสนิม ให้ขัดสนิมออกก่อนทาสีใหม่                  คือ บ่อรับน้ำ�ที่เกิดจ�กก�ร
       รั้วไม้                                                ย่อยสล�ยในบ่อเกรอะ แล้ว
                                                              ปล่อยให้ซึมสู่พื้นดินรอบๆ
       ถ้าผุ หรือหัก ให้ถอดเปลี่ยน                            บ่อซึม บ่อซึมมักทำ�ด้วย
       รั้วคอนกรีต                                            อิฐก่อโปร่ง และมีอิฐหัก
     โดยปกติแล้วจะไม่เสียหายเพียงแต่อาจสกปรกให้               โปร่งๆ ล้อมรอบ เพื่อให้
ล้างทำาความสะอาด ปล่อยให้แห้งก่อนทาสีใหม่                     น้ำ�ซึมออกได้เร็ว
                                                              (ดูภ�พ หน้� ๒๔)




                                                                                    13
ไม้จริง                        พื้น
คือ ไม้ที่แปรรูปจ�กต้นไม้           พื้นไม้จริง
เป็นขน�ดหน้�ตัดต่�งๆ                 พื้นไม้จริงชนิดตีเข้าลิ้นวางบนตงไม้ หรือปูบนพื้น
ให้เลือกใช้ง�น เช่น            คอนกรีต อาจมีการบวมหรือบิดงอ จะต้องรอให้แห้ง
๑ x ๒ นิว, ๑๑/๒ x ๓ นิว,
           ้              ้
๒ x ๔ นิ้ว, ๒ x ๖ นิ้ว         สนิทก่อน และตรวจสอบว่าทำาการขัด ซ่อมแซมและทำา
เป็นต้น                        สีได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้รื้อมาตากให้แห้งแล้ว ทำาการ
                               ขัดแต่ง ก่อนปูใหม่
ตง                                  พื้นปูกระเบื้อง
คือ ค�นเล็กรับพื้น มักเว้น         โดยปกติ พื้นประเภทนี้จะไม่เสียหาย เพียงขัดทำา
ระยะห่�งประม�ณ ๕๐ ซ.ม.
อ�จเป็นไม้หรือเหล็กก็ได้       ความสะอาดก็จะกลับมาใช้ได้เหมือนเดิม
                                    พื้นหินขัด หินแกรนิต หินอ่อน
หินขัด                             พื้นหินขัด หินแกรนิต และหินอ่อน อาจต้องใช้
วัสดุแต่งผิวชนิดหนึ่ง ทำ�      เวลาและเครื่องมือเฉพาะ ถ้าจะให้สวยงามเหมือนเดิม
จ�กเกล็ดหินอ่อนหล�ยสี
                               ควรจ้างช่างที่มีความชำานาญมาดำาเนินการ
ผสมปูนซีเมนต์ข�ว เมื่อ
ฉ�บแห้งแล้วก็ขัดผิวจน               พื้นปาร์เก้
เรียบมัน ให้ทำ�คว�มสะอ�ด             ปาร์เก้ลอย หลุดล่อน ควรเปิดประตูหน้าต่างให้
ง่�ย แต่จะลื่นเมื่อเปียกน้ำ�   อากาศถ่ายเทความชื้นออกไป เลาะเอาปาร์เก้ที่บิดงอ
                               ออกแล้วใส่ปาร์เก้แผ่นใหม่เข้าไปโดยติดกับพื้นด้วยกาว
                               ลาเท็กซ์ ก่อนทากาว ต้องรอให้คอนกรีตแห้งสนิทก่อน
                               มิเช่นนั้นปาร์เก้จะล่อนออกมาอีก จากนั้น ขัดปาร์เก้
                               ใหม่ให้สูงเสมอกับปาร์เก้เดิม รอจนพื้นปาร์เก้แห้งสนิท
                               แล้วทายูริเทน หรือสีย้อมไม้




14
หากจะเปลี่ยนพื้นโดยใช้วัสดุใหม่แทน เช่น การ         ปาร์เก้(Parquet)
ปูกระเบื้องหรือหินอ่อนหรือหินแกรนิต ขอให้คำานึงถึง       คือ พื้นไม้แต่งผิว ทำ�จ�ก
 ำ้
นาหนักที่อาจเพิ่มขึ้นด้วย                                ไม้ชิ้นเล็กๆ หน�ประม�ณ
     พื้นกระเบื้องยาง                                    ๑ นิ้ว ม�เรียงปิดพื้น
      กระเบื้องยางชนิดแผ่นหากเสียหายมาก ควรเลาะ          คอนกรีต ยึดด้วยก�ว
                                                         ล�เท็กซ์ ซึ่งจะละล�ยล่อน
เปลี่ยนทั้งหมด เพราะถึงบางแผ่นยังไม่หลุดล่อน แต่ยัง      หลุดเมื่อโดนน้ำ�
คงมีความชื้นฝังอยู่ในพื้นด้านล่าง
      หากหลุดล่อนบางส่วน การแก้ไขเบื้องต้น คือ ทิ้ง      ยูริเทน
ไว้ให้พื้นที่ปูแห้งสนิท ใช้เตารีดรีดลงบนแผ่นกระเบื้อง    คือ โพลียูรีเทน (Poly-
ที่บิดงอ โดยใช้แผ่นอลูมิเนียมฟอยล์รองระหว่างเตารีด       urethane) เป็นน้ำ�ย�
                                                         เคลือบผิวไม้ให้มีคุณสมบัติ
กับแผ่นกระเบื้องยาง เมื่อหายงอแล้ว ก็ใช้กาวที่ใช้        กันน้ำ�และแข็งทนก�รขีด
สำาหรับติดกระเบื้องยางโดยเฉพาะ ทาบนพื้น แล้วกด           ข่วนได้ระดับหนึ่ง
กระเบื้องยางให้สนิท ใช้ผ้าแห้งเช็ดกาวส่วนที่เลอะออก
หาของมาทับ ทิ้งไว้จนกว่าจะแห้ง หากต้องการเปลี่ยน
                                                         ไม้เทียมผิวลามิเนต
                                                         คือ วัสดุประดิษฐ์แต่งผิว
                              ำ้
พื้นใช้วัสดุใหม่ ให้คำานึงถึงนาหนักที่อาจเพิ่มขึ้นด้วย   พื้นให้ดูคล้�ยพื้นไม้ แบบ
     พื้นไม้เทียมผิวลามิเนต                              เดียวกับป�ร์เก้ แกนกล�ง
        หากโดนเพียงความชื้น อาจยังไม่เกิดอาการบวม        เป็นเยื่อไม้ผสมก�วอัดแข็ง
ควรเปิดพื้นที่ให้ความชื้นระเหยออกให้หมด หากถูก           ก่อนจะเคลือบทับ (lami-
  ำ้                         ำ้
นาท่วม วัสดุด้านในจะบวมนา จะต้องเลาะออกแล้ว              nated) ผิวหล�ยชั้นให้
เปลี่ยนใหม่ หากต้องการเปลี่ยนวัสดุพื้นใหม่ ให้คำานึง     แข็งแรงและสวยง�ม แต่
                                                         วัสดุแกนกล�งจะดูดซึมน้ำ�
     ำ้
ถึงนาหนักที่อาจเพิ่มขึ้นด้วย
                                                         ได้ม�กกว่�ไม้เสียอีก




                                                                               15
สีรองพื้นปูนเก่า               ผนัง
คือ น้ำ�ย�อะคริลิกเรซิ่นที่        ผนังไม้
มีคุณสมบัติเป็นก�วช่วยยึด                                                     ำ้
                                    ปล่อยให้แห้งก็เพียงพอ ถ้าผนังบางจุดที่แช่นาอาจ
ผิวสีเก่�ที่กำ�ลังเสื่อมกล�ย
                               ผุได้ ใช้ผ้าเช็ดทำาความสะอาดปล่อยให้แห้งสนิทก่อน
เป็นฝุ่นให้ยึดตัวกันและยึด
กับผนังก่อนท�สีใหม่            ทาสีหรือแลกเกอร์
                                   ผนังปูน
ยิปซั่มบอร์ด                                                         ำ้
                                     โดยทั่วไปแล้วจะไม่เสียหาย เมื่อนาลดลงแล้วใช้
แผ่นวัสดุทำ�ผนังและเพด�น       ผ้าเช็ดทำาความสะอาด ปล่อยให้แห้งสนิทก่อนทาสีตาม
แกนเป็นปูนยิปซั่ม บุผิวสอง
                               ขั้นตอนต่อไป เช่น การทาสีผนังเก่า ถ้าให้ได้ผลดีจะ
ข้�งด้วยกระด�ษแข็ง จึงไม่
ทนน้ำ�เลย                      ต้องทาสีรองพื้นปูนเก่าก่อนทาสีจริง
                                   ผนังยิปซั่มบอร์ด
โครงเคร่า                                    ำ้
                                    เมื่อถูกนาท่วม ยิปซั่มบอร์ดจะเสียหาย เพราะทำา
โครงที่ช่วยให้วัสดุชนิด        ด้วยผงปูนยิปซั่มหุ้มด้วยกระดาษ ให้เลาะออกแล้วบุ
แผ่นแข็งแรงคงรูปอยู่ได้
มักทำ�เป็นต�ร�งขน�ด
                               แผ่นใหม่ โดยจะต้องปล่อยให้โครงเคร่าและด้านในผนัง
๔๐x๔๐ หรือ ๖๐x๖๐               แห้งก่อนบุ มิฉะนั้นความชื้นจะถูกกักอยู่ข้างใน
ซ.ม. เคร่�ผนังมักเป็นไม้           ผนังโลหะ หรือผนังกระจก
หรือเหล็กชุบสังกะสี                                 ำ้
                                     ตรวจสอบว่ามีนาหรือเศษผงขังอยู่หรือไม่ หากมี
                               ให้ทำาความสะอาดเสียก่อน
                                     สำาหรับผนังชนิดอื่น เช่น ผนังกระดาษอัด ผนัง
                               สังกะสี ผนังไม้อัด ฯลฯ จะมีธรรมชาติคล้ายกับผนัง
                               ข้างต้น ให้เปรียบเทียบการแก้ไขตามแนวทางที่กล่าว
                               มาแล้ว




16
ประตู                                                   กระดาษอัด
     ประตูเหล็ก                                         หรือ ฮ�ร์ดบอร์ด มี ๒ สี
      มักขึ้นสนิม ต้องเช็ดให้แห้ง ขัดสนิมออก ทาสีรอง    คือ น้ำ�ต�ล กับเหลืองนวล
                                                        ทำ�จ�กเยื่อไม้อัดแน่นด้วย
พื้นกันสนิม ก่อนทาสีใหม่ (การขัดแบบผ่อนแรงมีทั้ง
                                                        ก�ว มีคุณสมบัติซึมน้ำ�
เครื่องขัดติดกระดาษทราย และ หัวขัดแปรงเหล็กติด          โป่งพองง่�ย
สว่าน)
     ประตูเอียงหรือตก                                   สีรองพื้นกันสนิม
                       ำ้             ำ้        ำ้
      ประตูไม้เมื่อแช่นานานๆ จะอมนาทำาให้มีนาหนัก       ก่อนท�สีง�นเหล็กต้องท�
                          ำ้
เพิ่มขึ้น บานพับรับนาหนักไม่ไหว ตัววงกบเปื่อยยุ่ย       หรือพ่นสีรองพื้นกันสนิม
น๊อตหรือตะปูยึดได้ไม่แน่น แก้ไขโดยใช้ลิ่มไม้หรือเหล็ก   ก่อนเสมอ (ยกเว้นเหล็ก
                                                        สเตนเลส ซึ่งไม่ต้องท�)
          ำ้
สอดรับนาหนักของบานให้ตงตรงไว้กอน รอจนความชืน
                             ้ั    ่               ้    สีรองพื้นกันสนิมมี ๒ สี
ระเหยออกไป น๊อตหรือตะปูก็จะยึดได้แน่นขึ้นสามารถ         คือ สีน้ำ�ต�ลแดง กับสี
เอาลิ่มออกได้ แต่ถ้าวงกบผุพังก็จำาเป็นต้องเปลี่ยนใหม่   เท�อ่อน
             ำ้
ถ้าเป็นห้องนาจะเปลียนเป็นวงกบและประตู พี.วี.ซี. ก็ได้
                     ่
                                                        ประตู พี.วี.ซี.
จะได้ไม่เกิดปัญหาขึ้นอีก
                                                        พี.วี.ซี. (PVC-Poly-
                                                        Vinyl Chrolide) เป็น
                                      ไม้กระหน�บ        พล�สติกชนิดหนึ่ง ประตู
                                      ในกรณีที่ประตู    พี.วี.ซี. จึงเหม�ะกับประตู
                                      มีอ�ก�รบิดด้วย    ห้องน้ำ�และประตูที่ถูกฝน
                                                        ประตู พี.วี.ซี. เป็นประตู
                                                        สำ�เร็จรูปมีหล�ยขน�ด
                                                        และหล�ยแบบ มีข�ย
                                                        พร้อมวงกบ


                                      ลิ่มไม้/ เหล็ก
                                      ยกบ�นประตู
                                      ไม่ให้ตก


                                                                              17
บานพับ�ลูกบิด�และรูกุญแจ
            อุปกรณ์ประตูหน้าต่าง เช่น บานพับ ลูกบิด และรู
     กุญแจ ทำาด้วยโลหะ มีวิธีแก้ไข คือ เช็ดให้แห้ง ขัดส่วน
                             ำ้
     ที่เป็นสนิมออก ใช้นายาหล่อลื่นชะโลมตามจุดรอยต่อ
         และรูต่างๆ ให้ทั่ว หรือใช้สเปรย์ไล่ความชื้น ข้อควร
              ระวังคือ อย่าใช้จาระบี หรือพวกขี้ผึ้งทา เพราะ
                 จะทำาให้ความชื้นระเหยออกไม่ได้ ถ้ายังใช้
                   การไม่ได้ ก็ลองทำาตามวิธีที่ว่านี้หลายๆ
                   ครั้ง ถ้ายังมีปัญหา ก็ควรจะต้องถอดออก
                 แล้วซื้อมาเปลี่ยนใหม่
     ฝ้าเพดาน
                             ำ้                ำ้
            ฝ้าเพดานที่ถูกนาท่วม เมื่อนาลดแล้วให้ตรวจดู
     ว่ า สายไฟฟ้ า ดวงโคมที่ ติ ด อยู่ มี อ ะไรเสี ย หายหรื อ ไม่
     ต้องซ่อมแซมเปลี่ยนใหม่หรือไม่                มีแมลงหรือสัตว์
                เลื้อยคลานเข้าไปหลบอยู่ในฝ้าเพดานหรือไม่
                 ถ้ามีต้องไล่หรือจับออกไปก่อนบุฝ้าใหม่
               ฝ้ายิปซั่มบอร์ดหรือกระดาษอัด
             โดยมากจะต้องเลาะออกแล้วเปลี่ยนใหม่ เพราะ
     ส่วนที่เป็นกระดาษจะเปื่อยยุ่ย




18
ฝ้าโลหะ                                            เครื่องขัด
    ให้เช็ดทำาความสะอาดให้แห้ง ถ้าเป็นสนิม ก็ใช้        ติดกระดาษทราย
กระดาษทรายขัดออกให้เรียบร้อย แล้วจึงทาสีทับเข้า
ไปใหม่ (อย่าลืมทาสีรองพื้นกันสนิมก่อน)
     ฝ้าไม้จริง
     อาจมีอาการบวมหรือบิดงอ จะต้องรอให้แห้งสนิท
ก่อน และจึงทำาการซ่อมแซมและทาสีต่อไป
     โครงฝ้าเพดาน
       โครงฝ้าเพดานมีหลายชนิด ทั้งที่เป็นไม้ เป็นโลหะ   หัวขัดแปรงเหล็ก
ที่เป็นสนิม (เหล็ก) และไม่เป็นสนิม (อะลูมิเนียม)        ติดสว่าน
       โครงฝ้าเพดานที่เป็นไม้ หากเกิดการแอ่นหรือ
ทรุดตัว ต้องแก้ไขให้ได้ระดับก่อนการติดตั้งแผ่นฝ้าใหม่
หากเป็นโครงโลหะ ให้ทำาความสะอาด ขัดสนิม และ
ทาสีรองพื้นกันสนิมต่อไป
สี
               ำ้
     เมื่อเกิดนาท่วมขัง สีจะได้รับความเสียหาย หลุด
ล่อน ขึ้นรา โป่งพอง ก่อนจะทาสีใหม่ จะต้องทำาความ
สะอาดหรือลอกสีเดิมออกก่อน เพราะถ้าหากทาทับไป
เลย ก็จะอยู่ได้ไม่นาน จะเกิดการหลุดร่อนออกมาอีก




                                                                          19
ถ้าเป็นงานเหล็กจะต้องขัดสนิมออกให้หมดก่อน
                                      ำ้
                              ทาสีนามัน โดยทาสีรองพื้นกันสนิมก่อน แล้วตามด้วย
                              สีที่ต้องการ
                                          งานปูน หรือกระเบื้องแผ่นเรียบ หรือยิบซั่ม
                                         บอร์ดสีที่ใช้คือ สีพลาสติก
                                                                            ำ้
                                              งานโลหะหรือไม้ สีที่ใช้คือ สีนามัน
สีน้ำามัน                     เฟอร์นิเจอร์
เป็นสีสำ�หรับท�ไม้ หรือ              ได้แก่ โต๊ะ เตียง เก้าอี้ ตู้โชว์ ตู้เสื้อผ้า
โลหะ เป็นสีเชื้อน้ำ�มัน คือ          ๑) พยายามเอาความชื้นออกจากเฟอร์นิเจอร์ให้
ทำ�ให้เจือจ�งด้วยน้ำ�มัน      เร็วที่สุด โดยการผึ่งแดด หรือผึ่งลม
หรือทินเนอร์
                                                            ำ้
                                     ๒) เฟอร์นิเจอร์ที่อมนามาก เช่น โซฟานวม ที่นอน
สีพลาสติก                     หมอน หากไม่จำาเป็น ไม่ควรนำากลับมาใช้อีก เพราะ
เป็นสีสำ�หรับท�ง�นปูน           ำ้
                              นาท่วมจะพาเชื้อโรคเข้าไปอยู่ภายใน แม้ตากแดดแห้ง
เป็นสีเชื้อน้ำ� คือ ทำ�ให้    แล้วเชื้อโรคอาจยังอยู่ เป็นอันตรายต่อสุขภาพในระยะ
เจือจ�งด้วยน้ำ�               ยาวได้
                                     ๓) เฟอร์นิเจอร์ประเภทติดกับที่ (Built-in) ต้อง
                              ตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้อยู่ในสภาพ
                              เดิมหรือใกล้เคียงของเดิม รวมทั้งสายไฟที่ฝังอยู่ในตู้
                              และอุปกรณ์ต่างๆ
                                     ๔) เฟอร์นิเจอร์ที่ทำาด้วยไม้ ไม่ควรนำาไปตากแดด
                              ให้แห้ง เพราะจะทำาให้แตกเสียหายได้ ควรใช้วิธีผึ่งลม
                              และเมื่อจะทาสีทับลงไปจะต้องรอให้ไม้แห้งสนิทก่อน




20
พรม
                ำ้
     พรมที่ถูกนาท่วมให้รีบรื้อออกโดยเร็ว เพื่อไม่ให้
พรมส่งกลิ่นเหม็น แล้วนำาไปซักและตากแห้ง ก่อนนำา
กลับมาปูใหม่ ก่อนปูควรจะให้แน่ใจว่าพื้นคอนกรีต
แห้งสนิทแล้ว แต่ทางที่ดี หากรู้ว่าจะถูกนา ำ้
ท่วมพรมแน่ ควรรื้อพรมออกมาก่อนที่นาจะ ำ้
ท่วมขึ้นมาถึง เพราะการซักและตากอาจจะ
ไม่สะอาดและดีเหมือนเดิม
ผ้าม่าน
      เป็นคราบสกปรก ให้ถอดจากราวออกมาซัก
วอลล์เปเปอร์
    วอลล์เปเปอร์ลอก ล่อน ให้ลอกออกก่อนเพื่อให้
ความชื้นระเหยออกมาได้ เมื่อผนังแห้งจึงให้ช่างมา
ลอกออกให้หมดก่อนปูใหม่

ต้นไม้
      อย่าเพิ่งให้ปุ๋ย ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือ
                    ำ้
ปุ๋ยคอก เพราะนาท่วมรากต้นไม้จะอ่อนแอ ต้องใช้เวลา
พักฟื้น โดยขุดหลุมขนาดเล็กลึก ๕๐ ซ.ม. ถึง ๑ เมตร
                                  ำ้
ไว้ข้างๆ ต้นไม้ เพื่อให้นาที่ขังอยู่บริเวณรากไหลลงสู่
หลุ ม ที่ ขุ ด ไว้ แล้ ว ค่ อ ยดู ด หรื อ ตั ก นำ้ า ออกจากหลุ ม




                                                                   21
ำ้
                        ทำาให้นาที่ท่วมรากอยู่ลดลงเร็วยิ่งขึ้น อย่าอัดดินลงไป
                        ที่โคนต้นไม้ให้แน่น ควรใช้วิธีดาม หรือค้�ยันลำาต้นไว้
                                                                  ำ
                        ไม่ให้ล้ม ตัดแต่งกิ่งที่ตาย พรวนดินรอบโคนต้น ให้
                        รากของพืชหายใจได้ดียิ่งขึ้น ให้แสงแดดฆ่าเชื้อโรค
                                   ำ้
                        และให้นาที่ขังอยู่ระเหยออกได้เร็วขึ้น บำาบัดรักษาด้วย
                        ยาฆ่าแมลง และกำาจัดโรคที่เกิดกับต้นไม้ เปลี่ยนต้นไม้
                        ที่ตายหรือไม่เจริญเติบโตออกไป
ทรายขี้เป็ด             สนามหญ้า
คือ ทร�ยผสมดิน ทร�ยมี
คว�มร่วนซุยให้ร�กหญ้�                  ำ้
                             เมื่อเกิดนาท่วมขังเป็นเวลานาน หญ้าจะตายหมด
งอกชำ�แรกได้ง่�ย ส่วน                                            ำ้
                        ต้องปลูกใหม่ ถ้ามีตะกอนดินเหนียวถูกนาพัดพามา
ดินที่ผสมในทร�ยก็เป็น   ทับถมที่สนามหญ้าจะต้องปรับพื้นที่ให้ได้ระดับก่อนลง
ส�รอ�ห�รแก่หญ้�         ทรายขี้เป็ดแล้วค่อยปูหญ้าใหม่




22
3
       ระบบสุขาภิบาล


                                                       ท่อระบายน้�
                                                                 ำ
                                                       คือ ท่อที่ระบ�ยน้ำ�จ�ก
                                                       บ้�นออกสู่ท่อส�ธ�รณะ
ท่อระบายน้ำ�อุดตัน                                     ที่เป็นท่อแอสเบสทอสจะ
                                                       ชำ�รุดได้ง่�ยถ้�ทำ�คว�ม
            ำ้                       ำ้
        ถ้านาท่วมล้นเข้ามาในท่อระบายนาในบ้าน ดินโคลน   สะอ�ดด้วยเครื่องมือที่แข็ง
               ำ้                             ำ้
ที่มากับนาท่วมจะไหลเข้ามายังท่อระบายนาในบ้านเรา        เช่น ชะแลง
                  ำ้                    ำ้
ด้วย พอนาลดดินโคลนจะไม่ไปกับนา แต่จะตกค้างอยู่
ในท่อและบ่อพักรอบๆ บ้าน ซึ่งไม่ควรมองข้าม เพราะ        บ่อพัก
     ำ้                                    ำ้
ถ้านาระบายออกไปตามท่อนี้ไม่ได้ นาในบ้านก็จะไหล         ท่อระบ�ยน้ำ�ที่ย�วม�ก
                                                       ต้องมีบ่อพักเพื่อช่วยดัก
ออกไปไม่ได้เช่นกัน                                     ตะกอนไม่ให้ไปกองใน
                     ำ้
        ดังนั้นเมื่อนาลด ให้ทำาการลอกท่อตักดินโคลน     ระหว่�งท่อ บ่อพักทุกแห่ง
                         ำ้
ออกให้หมด ห้ามใช้นาล้างเพราะดินที่ไหลจากที่เราล้าง     จะมีฝ�เปิดให้ตักตะกอน
ก็จะไหลไปกองที่อื่น ทำาให้เกิดปัญหาที่อื่นขึ้นอีก      ดินหรือขยะออกได้

       ท่อระบ�ยล�ดเอียง         บ่อพักดักขยะ           ท่อระบาย
                                                       และ บ่อพัก

         ไหลลง

                                                                              23
ส้วมเหม็น�ส้วมเต็ม�ราดน้ำ�ไม่ลง
                                            ก่อนจะแก้ปัญหานี้เราต้องทำาความเข้าใจก่อนว่า
 ส้วมซึม                            ส้วมแบบโบราณของเราคือ ส้วมซึม บ่อบำาบัดที่ใช้กัน
 คือ ส้วมที่กำ�จัดของเสีย                                                           ำ้
                                    มาก็คือบ่อเกรอะบ่อซึม ถ้าสร้างในพื้นที่ที่มีนาในดิน
 โดยใช้บ่อเกรอะกับบ่อซึม            มากๆ เช่น กรุงเทพฯ อยุธยา หรือพื้นที่ใกล้สระนา         ำ้
 ซึ่งต้องอยู่ในดิน (ก�ร                  ำ้
                                    แม่นาลำาคลอง บ่อเกรอะบ่อซึมก็จะทำางานได้ไม่ดีนัก
 ทำ�ง�นของบ่อเกรอะและ
 บ่อซึม ดังแสดงในรูป)                                                           ำ้
                                    อยู่แล้ว เพราะอาศัยการซึมลงดิน ถ้านาในดินมากก็
                                                           ำ้
                                    จะซึมได้ไม่ดี ยิ่งถ้านาท่วมแล้วยิ่งไม่ซึมเอาเลยทีเดียว
                                                        ำ้
                                            ดังนั้น ถ้านาลดแล้ว หากพอมีเงินอยู่บ้าง ก็ควร
                                    เปลี่ยนเป็นบ่อบำาบัดสำาเร็จรูปที่มีขายทั่วไป แต่หากยัง
                                    ไม่พร้อม อยากจะทำาอย่างพอเพียงไปก่อน ก็ให้รถสูบ
                                    ส้วมมาสูบดินโคลนทิ้งไปก่อน และบ่อเกรอะบ่อซึมก็จะ
                                    ใช้งานได้อีกครั้งหนึ่ง
                                              จะฟนฟบอบาบดสาเรจรปอยางไร?
                                                 ้ื ู ่ ำ ั ำ ็ ู ่
                                          ถ้าบ้านเราใช้บ่อบำาบัดสำาเร็จรูปอยู่ก่อนแล้ว เมื่อ
                ของเสีย




                                      ำ้
                                    นาลดเราจะต้องทำาอะไรบ้าง เพื่อให้กลับมาใช้งานได้ดี
                                    อีกครั้ง
                                                                  ำ้
                                          เริ่มแรกเราต้องล้างท่อนาทิ้งต่าง ๆ ให้เรียบร้อย
ของเสียถูก                          ก่อน ดินโคลนทั้งหลายที่อยู่ในท่อก็จะไหลมารวมกันที่
 จุลินทรีย์                         บ่อบำาบัด หลังจากนั้น ให้รถสูบส้วมมาสูบดินโคลนไป
ย่อยสล�ย                                               ำ้              ำ้
                                    ทิ้ง แต่ในการสูบนาจากถังบำาบัดนาเสียสำาเร็จรูปนี้ ควร
                          อ�ก�ศ




   เป็นน้ำ�
                                                                       อ�ก�ศ




                                  ระดับน้ำ�
                                  ใต้ดิน



                                    น้ำ�                                             น้�ซึมออก
                                                                                      ำ
 24
              บ่อเกรอะ                                     บ่อซึม
ำ้
ระวังให้เป็นอันมาก เพราะหากสูบนาทิ้งรวดเดียวหมด
ถัง อาจจะเกิดถังดันลอยตัวขึ้นมาทำาความเสียหาย
แก่โครงสร้างของบ้านเราได้ หรือหากถังไม่ลอยขึ้นมา                  ส้วมถังบำาบัด
ก็อาจจะถูกดินดันจนแตกเสียหายได้ จึงควรใจเย็นๆ                     คือ ส้วมที่กำ�จัดของเสีย
             ำ้                       ำ้
ค่อยๆ สูบนาเก่าออกพร้อมกับเติมนาใหม่ลงไป ให้มี                    ในถังบำ�บัดเช่นเดียว
  ำ้
นาอยู่ในถัง ไม่น้อยกว่าครึ่งถัง ตลอดเวลา อย่าให้ถัง               กับบ่อเกรอะ แต่มีระบบ
บำาบัดกลายเป็นถังเปล่าเด็ดขาด                                     ช่วยให้จุลินทรีย์ทำ�ง�น
     ส้ ว มราดไม่ ล งนอกจากปั ญ หาที่ เ ป็ น บ่ อ ซึ ม ดั ง ที่   มีประสิทธิภ�พม�กกว่�
                                                                  แล้วระบ�ยน้ำ�ที่เกิดจ�ก
กล่าวมาแล้ว ยังอาจมีสาเหตุอื่นอีก เช่น ท่อส้วมแตก                 ก�รย่อยสล�ยออกสู่ท่อ
                                         ำ้
ท่ออากาศหลุด หรืออุดตัน ท่อระบายนาของถังบำาบัด                    ระบ�ยน้ำ�ส�ธ�รณะ
หลุด หรืออุดตัน เป็นต้น                                           ถังบำ�บัดนี้ว�งอยู่ที่ไหน
      ท่อส้วมแตก                                                  ก็ได้ที่ต่ำ�กว่�ส้วม
     เมื่อหาจุดที่ท่อแตกเจอแล้ว ก็ทำาการต่อท่อ ข้อควร
ระวังคือ ท่อส้วมต้องมีความลาดเอียงจากโถส้วมไปยัง
                                                                   อ�ก�ศ
บ่อเกรอะหรือถังสำาเร็จรูป
      ท่ออากาศหลุด หรืออุดตัน
      ท่ออากาศของถังส้วมทำาหน้าที่ระบายอากาศออก
          ำ้
เมื่อราดนาลงไป ถ้าไม่มีท่อระบายอากาศ หรือท่อ
ระบายอากาศอุดตัน อากาศในถังส้วมจะดันนาที่ราดำ้
หรือชักโครกไว้ไม่ให้ไหลลงท่อส้วม
                                                                    ของเสีย




      ดังนั้น ท่อส้วมและถังส้วมจึงมีความจำาเป็นต้อง
ต่อท่อระบายอากาศ
                                 อ�ก�ศ




      น้ำ�ลงท่อส�ธ�รณะ
      ที่อ�ศัยของจุลินทรีย์
                                                                                          25
ทอระบายน�จากถงบาบดหลดหรออดตน
            ่      ำ้   ั ำ ั ุ ื ุ ั
           ถังส้วมสำาเร็จรูปทุกรุ่นทุกยี่ห้อที่บอกว่า “ไม่มีวัน
                       ่           ำ้
     เต็ม” ก็เพราะมีทอระบายนาออกจากถังไปสูทางระบาย  ่
       ำ้
     นานั่นเอง แต่ถ้าท่อทางออกตัน ก็ย่อมระบายไม่ออก
     แน่นอน ต้องรีบซ่อมโดยด่วน และอย่าลืมว่าท่อทางออก
     ต้องอยู่สูงกว่าระดับท่อสาธารณะภายนอกด้วย
     ระบบประปา
           น�ไม่สะอาดค้างท่อ ค้างถัง
            ำ้
                                 ำ้
           ท่อประปาเป็นท่อนามาให้เรากินเราใช้ ถ้านาท่วม            ำ้
               ำ้
     ก็จะมีนาที่ไม่สะอาดเข้ามาในท่อ ดังนั้นพอนาลดเรา            ำ้
     จึงต้องทำาความสะอาดท่อก่อน ถ้าใช้นาประปาอย่าง   ำ้
                        ำ้
     เดียวไม่มีถังเก็บนาใต้ดิน ให้เปิดก๊อกนาเพือให้นาใน ำ้ ่ ำ้
                           ำ้
     ท่อไหลออกมาจนนาใสสะอาดก็ถือว่าใช้ได้แล้ว
                              ำ้
           แต่ถ้ามีถังเก็บนาสำารองและเครื่องสูบนา ให้ล้าง  ำ้
                  ำ้                      ำ้
     ถังเก็บนาให้สะอาด ถ้าหากถังเก็บนาเป็นถังใต้ดนสำาเร็จรูป  ิ
     ให้ร ะวังเหมือนกับการล้ า งถั ง บำ า บั ด นำ้าเสี ย สำ า เร็ จรู ป
                                                  ำ้
     ด้วย นอกจากนี้การล้างท่อและถังเก็บนาควรใช้คลอรีน
            ำ้
     ผสมนาไปด้วย ทิ้งไว้ค้างคืน สังเกตว่ามีกลิ่นคลอรีน
     เหลืออยู่ ก็ถือว่าใช้ได้
           ท่อแตกหัก
           ถ้าเป็นท่อพีวีซี อาจจะซ่อมเองได้ ข้อแนะนำาใน
     เรื่องการต่อท่อพีวีซี คือ ต้องทำาความสะอาดท่อและ




26
ข้อต่อให้สะอาด แห้ง และไม่มีคราบไขมัน ให้ทากาว
ให้ทั่วบริเวณที่จะต่อ อย่าทากาวมากไป เพราะกาว     อุปกรณ์ตัดต่อ
จะปลิ้นออกมา แห้งแข็งขวางการไหลในท่อ เมื่อทา      ท่อ พ.ว.ซ.
                                                        ี ี ี
กาวและต่อท่อเข้าไปแล้ว จึงทิ้งไว้ประมาณ ๑๐ นาที   ...............
ถ้าเป็นท่อประเภทอื่น คงซ่อมเองยาก เพราะต้องมี     คีมตัดท่อ
เครื่องมือหลายอย่าง ควรตามช่างมาซ่อมจะดีกว่า



                                                  น้ำ�ย�เชื่อมท่อ




                                                  ตลับเมตร




                                                  ป�กก�เคมี




                                                                    27
4
                                         ระบบไฟฟ้า
สายเมน
ส�ยตัวนำ�ที่ต่อระหว่�ง
มิเตอร์ของก�รไฟฟ้�ฯกับ
แผงเมนสวิตช์ซึ่งมีทั้งส�ย
เมนเข้�อ�ค�รเดินลอยใน
อ�ก�ศและส�ยเมนเข้�
อ�ค�รแบบฝังใต้ดิน
มิเตอร์                     แผงเมนสวิตช์
ม�ตรวัดค่�ก�รใช้ไฟฟ้�             หมายถึง อุปกรณ์ตวหลักทีมจดประสงค์เพือควบคุม
                                                  ั        ่ีุ           ่
คิดร�ค�เป็นหน่วย (ยูนิต)    และปลดวงจรทังหมดของระบบจ่ายไฟบ้านพักอาศัย เมือ
                                           ้                                      ่
๑ หน่วย เท่�กับปริม�ณ       ปลดวงจรดับไฟแล้ว สามารถทำางานได้อย่างปลอดภัย
ไฟฟ้� ๑ กิโลวัตต์-ชั่วโมง
                                  แผงเมนสวิตช์ชนิดที่ใช้กับบ้านอยู่อาศัยในปัจจุบัน
หลักดิน                     ได้แก่ แผงคัทเอาท์และแผงสวิตช์อัตโนมัติหรือที่มักรู้จัก
แท่งโลหะที่ฝังอยู่ในดิน     กันว่า แผงคอนซูมเมอร์ยูนิต
เพื่อทำ�หน้�ที่กระจ�ย
ประจุไฟฟ้�หรือกระแส
ไฟฟ้�ให้ไหลลงสู่ดินได้
โดยสะดวก เช่น แท่ง
ทองแดงขน�ดเส้นผ่�
ศูนย์กล�ง ๑๖ ม.ม.
(๕/๘ นิ้ว) ย�วไม่น้อย
กว่� ๒.๔๐ เมตร เป็นต้น


                            การต่อไฟฟ้าเข้าบ้าน
                            ผ่านแผงเมนสวิทช์


28
http://www.snw.ac.th/courseware/www.nectec.or.th




     แผงคัทเอาท์                                               คัทเอาท์
        ปัจจุบันมีใช้น้อยลง ประกอบด้วยฐานคัทเอาท์
ทำ า ด้ ว ยกระเบื้ อ งมี ส ะพานไฟเป็ น ตั ว นำ า โลหะพร้ อ ม
คั น โยกกระเบื้ อ งสำ า หรั บ โยกขึ้ น ต่ อ วงจรหรื อ โยกลง
ปลดวงจรไฟจากการไฟฟ้าฯ
หลั ง สะพานไฟที่ มี คั น โยกมี
ฟิวส์ตะกั่วต่ออยู่เพื่อป้องกัน
กระแสเกินซึ่งอาจมีฟิวส์ลูก
ถ้ ว ยหรื อ คาร์ ท ริ ด จ์ ฟิ ว ส์ ต่ อ
ร่วมอยู่ด้วย                                                   ส่วนประกอบ
                                                               คัทเอาท์

     แผงสวิตช์อัตโนมัติ                                        ฟิวส์ลูกถ้วย
     แผงคอนซูมเมอร์ยูนิต
     เป็นแผงที่ติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ สามารถตัด
วงจรโดยอัตโนมัติเมื่อกระแสเกินหรือเกิดกระแสไฟฟ้า
ลัดวงจร หรือติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดตัดไฟรั่ว
ได้ หรือติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว ต่อเชื่อมรับไฟฟ้าจาก           อุปกรณ์ป้องกันกระแส
มิเตอร์ของการไฟฟ้าฯ ปัจจุบันมีใช้มาก สามารถแบ่ง                ไฟฟ้�เกินชนิดหนึ่ง ซึ่ง
                                                               จะตัดวงจรไฟฟ้�โดย
วงจรไฟฟ้าได้ง่าย เช่น แยกวงจรย่อยชั้นบนกับชั้นล่าง
                                                               อัตโนมัติ เมื่อมีกระแส
                                                               ไฟฟ้�ไหลเกินค่�ที่กำ�หนด
                                                               และเมื่อฟิวส์ทำ�ง�นแล้วจะ
                                                               ต้องเปลี่ยนฟิวส์ใหม่




       แผงสวิตช์อัตโนมัติ หรือ แผงคอนซูมเมอร์ยูนิต
                                                                                    29
เซอร์กิตเบรกเกอร์          หรือแยกเป็นวงจรปลั๊กหรือเต้ารับไฟฟ้า วงจรย่อยดวง
(Circuit Breaker)          โคมไฟฟ้า วงจรย่อยเครื่องปรับอากาศ วงจรย่อยเครื่อง
อุปกรณ์ที่ส�ม�รถใช้สับ         ำ้
                           ทำานาอุ่น เป็นต้น ซึ่งแต่ละวงจรย่อยควบคุมด้วยเซอร์-
หรือปลดวงจรไฟฟ้�ได้        กิตเบรกเกอร์
ในขณะเดียวกันก็ส�ม�รถ
ปลดวงจรที่มีก�รใช้กระแส                      มิเตอร์
ไฟฟ้�เกินและกระแส
ลัดวงจรได้โดยอัตโนมัติ                                                  เปิด       เปิด
                           ส�ยดิน
                                                                         ปิด        ปิด
                                                       ส�ยนิวทรัล   อุปกรณ์ไฟฟ้�
                           หลักดิน                      ส�ยมีไฟ


                                     การตรวจสอบแผงเมนสวิตช์ หลังน�ลด
                                                                 ำ้
                                                       ำ้
                                  หากพบว่ามีร่องรอยถูกนาท่วม แนะนำาให้เปลี่ยน
สายไฟฟ้า                   ใหม่ กรณีของเดิมเป็นแผงคัทเอาท์ให้เปลี่ยนเป็นแผง
ประกอบด้วยส�ยมีไฟ หรือ     คอนซูมเมอร์ยูนิตติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดตัดไฟ
ส�ยเฟส (Line) และส�ย       รั่วได้ กรณีของเดิมเป็นแผงคอนซูมเมอร์ยูนิตอยู่แล้ว
ไม่มีไฟ เรียกว่� นิวทรัล   แต่ไม่มีเครื่องตัดไฟรั่ว แนะนำาให้เปลี่ยนเป็นเซอร์กิต
หรือ ส�ยศูนย์ (N)
แรงดันไฟฟ้�ระหว่�งส�ย      เบรกเกอร์ชนิดตัดไฟรั่วได้ โดยเลือกชนิดที่เหมาะสม
เส้นไฟกับส�ยนิวทรัล        กับการใช้งาน ตำาแหน่งติดตั้งแผงสวิตช์ควรติดตั้งสูง
๒๓๐ โวลต์                                    ำ้
                           กว่าระดับที่ถูกนาท่วมถึง กรณีเป็นบ้าน ๒ ชั้น ควรติด




30
ตั้งชั้นบน                                                       RCCB
        แผงเมนสวิ ต ช์ ที่ ไ ม่ ถู ก นำ้าท่ ว มให้ ป ลดวงจรออก   (Residaul Current
ก่อน กรณีเป็นแผงคัทเอาท์ให้ดึงคันโยกสะพานไฟลง                    Circuit Breaker)
ปลดวงจร กรณีเป็นแผงคอนซูมเมอร์ยูนิตให้ดึงคัน                     เครื่องตัดไฟรั่วที่ไม่
โยกเซอร์กิตเบรกเกอร์ลงปลดวงจรทั้งหมด (เซอร์กิต                   ส�ม�รถตัดกระแสลัดวงจร
                                                                 จึงต้องใช้ร่วมกับฟิวส์หรือ
เบรกเกอร์เมน และเซอร์กิตเบรกเกอร์ย่อย) หากพบ                     เบรกเกอร์ด้วยทุกครั้ง
ว่าปลดวงจรอยู่แล้วให้ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นให้
เรียบร้อยก่อนจ่ายไฟฟ้า                                           RCBO
                                   ้
        แผงคัทเอาท์ที่ไม่ถูกนำาท่วมแนะนำาให้เปลี่ยนเป็น          (RCCB with Over-
แผงคอนซูมเมอร์ยูนิตและติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว                    load Protection)
                                                                 เครื่องตัดไฟรั่วที่ตัดกระแส
                                                                 ลัดวงจรได้ ส�ม�รถใช้
                                                                 ตัดได้ทั้งไฟรั่วและกระแส
                                                                 ลัดวงจร

                                                                      การติดตั้งเซอร์กิต
                                                                 เบรคเกอร์ชนิดตัดไฟรั่ว
                                                                 ได้ (RCBO) แทนเซอร์กิต
      แผงคอนซูมเมอร์ยูนิตที่ไม่ถูกนำ้าท่วมแนะนำาให้              เบรกเกอร์เมนและ/หรือ
                                                                 เซอร์กิตเบรกเกอร์ย่อย
เปลี่ยนเซอร์กิตเบรกเกอร์เมนเป็นชนิดตัดไฟรั่วได้ด้วย              ของเดิม
หรือติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วเสริมหรือเพิ่มเติมเพื่อความ
ปลอดภัย


                                                                      การติดตั้งเครื่อง
                                                                 ตัดไฟรั่ว (RCCB) เสริม
                                                                 เพิ่มเติมถัดจากเซอร์กิต
                                                                 เบรกเกอร์เมน


                                                                                         31
เต้ารับ                      อุปกรณ์ไฟฟ้าจมน้ำ�
หรือปลั๊กตัวเมีย                    ปลั๊ก หรือสวิตช์จมน�
                                                       ำ้
คือ ขั้วรับสำ�หรับหัวเสียบ         ปลั๊ ก หรื อ เต้ า รั บ และสวิ ต ช์ ไ ฟฟ้ า ที่ ถู ก นำ้ า ท่ ว ม
จ�กเครื่องใช้ไฟฟ้� ปกติ      แนะนำาให้เปลี่ยนใหม่ หรือถอดออกมาทำาความสะอาด
เต้�รับจะติดตั้งอยู่กับที่   และทำาให้แห้งก่อนต่อกลับที่เดิมโดยช่างผู้ชำานาญงาน
เช่น ติดอยู่กับผนัง
                             และมีความรู้ด้านไฟฟ้าปลั๊กหรือเต้ารับไฟฟ้าและสวิตช์
                                        ำ้
                             ไฟฟ้าที่นาท่วมถึงควรย้ายตำาแหน่งติดตั้งให้สูงขึ้นเหนือ
                             ระดับที่ถูกนำ้าท่วมเดิมที่สามารถใช้งานได้สะดวกและ
                             ควรแยกวงจรปลั๊ก ไฟฟ้ า ที่ มี โ อกาสถู ก นำ้าท่ วมบ่ อ ยๆ
                             เพื่อให้สามารถปลดวงจรเฉพาะส่วนที่ถูกนาท่วมได้      ำ้


                                                           ตำ�แหน่งใหม่
                             คร�บน้ำ�ท่วม
                                                            ตำ�แหน่งเดิม
            ย้ายปลั๊กและ                                       จมน้ำ�
           สวิตช์ให้พ้นน้�
                         ำ
                             พื้นชั้นล่�ง


                                    เครื่องใช้ไฟฟ้าจมน�
                                                      ำ้
                                   เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น เครื่องปรับอากาศตู้เย็น ตู้แช่
                                                        ำ้            ำ้
                             เครื่องซักผ้า มอเตอร์ปั้มนา ฯลฯ ที่ถูกนาท่วมโดยส่วน




32
ใหญ่จะเสียหายใช้งานไม่ได้ ควรตรวจสอบแก้ไขโดย           เต้าเสียบหรือปลั๊กตัวผู้
ช่างผู้ชำานาญงานก่อนนำามาใช้งาน ตู้เย็นที่ปล่อยคว่�ำ   คือ ขั้วหรือหัวเสียบจ�ก
            ำ้
หน้าลอยนาเพื่อป้องกันส่วนที่มีไฟฟ้าไว้ ให้ทำาความ      เครื่องใช้ไฟฟ้� เพื่อ
สะอาด ปล่อยให้แห้งและตั้งทิ้งไว้ ๑-๒ วันก่อนใช้งาน     เสียบเข้�กับเต้�รับทำ�ให้
                                                       ส�ม�รถใช้เครื่องใช้
     สายไฟฟ้าแช่น�
                 ำ้                                    ไฟฟ้�นั้นได้
                                    ำ้
      สายไฟฟ้าภายในบ้านส่วนที่แช่นา หากเป็นสาย
เดินลอยใช้งานไม่เกิน ๕ ปี ให้ทำาความสะอาดและทำาให้
แห้ง ปลอกสายสังเกตฉนวนและตัวนำาทองแดงไม่มี
ร่อ งรอยสิ่ ง สกปรกติดอยู่ฉนวนไม่มีร อยแตกหรื อ ฉี ก
ขาด การต่อใช้งานควรปรึกษาช่างผู้ชำานาญการ หรือผู้
มีความรู้ด้านไฟฟ้าก่อนหรือเปลี่ยนสายใหม่เฉพาะสาย
            ำ้
ส่วนที่แช่นาต่อเนื่องไปยังกล่องต่อสาย

ขั้นตอนการจ่ายไฟฟ้า�� �
หลังการตรวจสอบและแก้ไข
    การจ่ า ยไฟฟ้ า หลั ง การตรวจสอบและแก้ ไ ข
อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านเรียบร้อยแล้ว ควรดำาเนินการ
ตามขั้นตอนดังนี้
     ๑. ถอด ปลด ปิด
     ถอดหรือปลดเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านทั้งหมด
ส่วนที่เป็นเต้าเสียบให้ดึงเต้าเสียบออกจากปลั๊กไฟฟ้า
ทั้งหมด ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านทั้งหมด เครื่อง




                                                                              33
มิเตอร์                                           ำ้
                            ปรับอากาศ เครื่องทำานาอุ่นและอื่นๆ ให้ปลดวงจรที่
ม�ตรวัดค่�ก�รใช้ไฟฟ้�       เซอร์กิตเบรกเกอร์ของแต่ละเครื่อง
คิดร�ค�เป็นหน่วย (ยูนิต)
๑ หน่วย เท่�กับปริม�ณ
                                  ๒. มีไฟรั่วหรือไม่
ไฟฟ้� ๑ กิโลวัตต์-ชั่วโมง        กรณีใช้แผงคัทเอาท์ให้โยกสะพานไฟขึ้นต่อวงจร
                            กรณีเป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์ให้โยกเฉพาะเซอร์กิตเบรก-
                            เกอร์ เ มนตรวจสอบไฟฟ้ า รั่ ว เบื้ อ งต้ น โดยสั ง เกตการ
                            หมุนของมิเตอร์หากมิเตอร์ยังหมุนอยู่แสดงว่ามีไฟรั่ว
                            ให้โยกคัทเอาท์และเซอร์กิตเบรกเกอร์เมนลงตามช่าง
                            ของการไฟฟ้าฯหรือช่างผู้มีความรู้ด้านไฟฟ้ามาตรวจ
                            สอบแก้ไขอย่าพยายามแก้ไขเองเนื่องจากอาจถูกไฟ
                            ดูดเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ หากมิเตอร์ไม่หมุน ให้โยก
                            เซอร์กิตเบรกเกอร์วงจรย่อยแต่ละตัว (ยังไม่เปิดสวิตช์
มิเตอร์ไฟฟ้�ที่ใช้ต�มบ้�น   ควบคุมอุปกรณ์เพื่อใช้งาน) สังเกตการหมุนของมิเตอร์
โดยทั่วไปมีรูปร่�งต�ม       ตามลำาดับ
ภ�พข้�งบน เมื่อมีกระแส            ๓. ทดสอบปลั๊กและอุปกรณ์ทีละตัว
ไฟไหลผ่�นมิเตอร์ จ�น
วัดใต้หน้�ปัดตัวเลขก็จะ
                                  เสี ย บเต้ า เสี ย บและเปิ ด อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า แต่ ล ะตั ว
หมุน                        เพื่อทดสอบใช้งานจริงตามลำาดับ หากฟิวส์ขาด หรือ
                            เซอร์กิตเบรกเกอร์ทริปปลดวงจร ให้ตามช่างของการ
                            ไฟฟ้าฯหรือช่างผู้มีความรู้ด้านไฟฟ้ามาตรวจสอบแก้ไข
                            ต่อไป หากระบบไฟฟ้าภายในบ้านไม่มีสายดินควรให้
                            ช่างผู้มีความรู้ด้านไฟฟ้าเป็นผู้ตรวจสอบ เนื่องจากผู้ใช้




34
ไฟฟ้ามีโอกาสถูกไฟดูดได้หากสัมผัสโครงหรือเปลือก
ของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็นโลหะที่มีไฟฟ้ารั่วอยู่
      ข้อแนะนำาเกี่ยวกับการทดสอบ
    ควรติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว ที่ เ มนสวิ ต ช์ ก่ อ นการ
ทดสอบ เพื่อให้การทดสอบสามารถทำาได้อย่างถูกต้อง
แม่นยำา และมีความปลอดภัยยิ่งขึ้น

ระบบไฟฟ้าถูกน้ำ�ท่วมเสียหายมาก
      เดินสายใหม่ แยกวงจรควบคุม
                                 ้
      กรณีระบบไฟฟ้าถูกนำาและเกิดความเสียหายมาก
แนะนำ า ให้ เ ดิ น สายติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า ใหม่ โ ดยใช้ แ ผง
สวิตช์อัตโนมัติแยกวงจรควบคุมเป็นแต่ละวงจรย่อย
พร้อมติดตั้งระบบสายดิน และเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิด
ตัดไฟรั่วได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้ไฟฟ้า
สูงสุด




                                                                     35
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด

Más contenido relacionado

Más de Poramate Minsiri

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open PlatformPoramate Minsiri
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริPoramate Minsiri
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Poramate Minsiri
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้FloodPoramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพPoramate Minsiri
 

Más de Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
 

คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด

  • 1.
  • 2.
  • 3. คู่มือ ตรวจสอบ และซ่อมแซม บ้าน หลังน้ำลด � คณะกรรมการเพื่อให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูเยียวยาฯ�(กฟย.) จัดทำาโดย�กรมโยธาธิการและผังเมือง�กระทรวงมหาดไทย
  • 4. 2
  • 5.
  • 6. สารบัญ ง 1.�โครงสร้าง� 6 •�รั้วบ้านเอียง� 6 •�อาคารทรุดเอียง� 7 •�ฐานรากถูกน้ำ�เซาะ� 8 •�เสา�คาน�ผนัง�พื้น�แตก�ร้าว� 9 •�บันไดผุ�หัก�ร้าว� 11 2.�งานสถาปัตตยกรรม�ตกแตงภายใน�และงานจัดสวน 2.�งานสถาปั ยกรรม�ตกแต่งภายใน�และงานจัดสวน� 12 ่ •�รั้ว� 13 •�พื้น� 14 •�ผนัง� 16 •�ประตู� 17 •�บานพับ�ลูกบิด�และรูกุญแจ� 18 •�ฝ้าเพดาน� 18 •�สี� 19 •�เฟอร์นิเจอร์�พรม�ผ้าม่าน�วอลล์เปเปอร์� 20 •�ต้นไม้�สนามหญ้า� 21 4
  • 7. 3.�ระบบสุขาภิบาล 23 •�ท่อระบายน้ำ�อุดตัน� 23 •�ส้วมเหม็น�ส้วมเต็ม�ราดน้ำ�ไม่ลง� 24 •�ระบบประปา� 26 4.�ระบบไฟฟ้า� 28 •�แผงเมนสวิตช์� 28 •�อุปกรณ์ไฟฟ้าจมน้ำ�� 32 •�ขันตอนการจ่ายไฟฟ้าหลังการตรวจสอบและแก้ไข� ้ 33 •�ระบบไฟฟ้าถูกน้ำ�ท่วมเสียหายมาก� 35 •�ข้อแนะนำ�เกี่ยวกับสายดิน� 36 5.�เครื่องกล� งกล 41 •�เครื่องปรับอากาศ� 41 •�การตรวจดูสภาพและแก้ไขปัญหาเบื้องต้น� � � ของเครื่องปรับอากาศจากปัญหาน้ำ�ท่วม� 42 •�มอเตอร์� 44 •�ปั๊มน้ำ�� 46 5
  • 8. (คำ�อธิบ�ยของคำ�ศัพท์ สีน้ำ�ต�ลในเนื้อเรื่อง) 1 โครงสร้าง ส่วนแกนของรูปทรง ทำ� โครงสร้าง หน้�ที่พยุงรูปทรงให้คงรูป อยู่ได้เช่นเดียวกับโครง กระดูก แนวศูนย์ถ่วง แนวจ�กจุดศูนย์ถ่วงของ วัตถุซึ่งดิ่งลงกับพื้น วัตถุที่ เอียงจนแนวศูนย์ถ่วงพ้น โครงสร้ า งถื อ ว่ า เป็ น ส่ ว นที่ สำ า คั ญ ที่ สุ ด ในด้ า น ฐ�น วัตถุก็จะล้ม ความปลอดภัย จึงควรรีบตรวจสอบโดยสังเกตอาการ และแนวทางการแก้ไขในระยะเวลาหนึ่งเมื่อแน่ใจจึง ควรดำาเนินการดังต่อไปนี้ รั้วบ้านเอียง� ถ้ารั้วเอียงมากจนออกนอกแนวศูนย์ถ่วง (ภาพ ๑) รั้วอาจล้มลงได้ ให้รีบซ่อมแซมกลับมาให้ได้แนวตรง ฐานราก ำ้ เหมือนเดิม ถ้าถูกนาเซาะจนฐานรากโผล่ หรือเห็น ส่วนของอ�ค�ร ทำ�หน้�ที่ ส่งน้ำ�หนักรวมของอ�ค�ร ลอยตั้งอยู่บนเสาเข็ม (ภาพ ๒) ให้เอาดินถมกลับคืน สู่เส�เข็ม มีลักษณะแผ่ออก ไป มิฉะนั้นเสาเข็มอาจหักทำาให้รั้วพังลงมาได้ ส่วนรั้ว คลุมหัวเส�เข็ม ทรุดตัวไม่เท่ากัน ต้องให้ช่างผู้ชำานาญมาทำาการเสริม ฐานรากยกกลับขึ้นมาให้อยู่ในระดับเดิม 6
  • 9. ภาพ ๑ เสาเข็ม เส�ใต้ดินทำ�หน้�ที่ผ่อง ถ่�ยน้ำ�หนักอ�ค�รสู่ดิน เส�เข็มสั้น (ไม่เกิน ๘ เมตร) รับน้ำ�หนักโดย อ�ศัยคว�มฝืดระหว่�งผิว เส�เข็มกับดิน เส�เข็มของ ภาพ ๒ อ�ค�รใหญ่จะย�วลงไป ยันกับพื้นดินด�น (ลึก ๑๖ เมตร ในพื้นที่ กทม.) อาคารทรุดเอียง� (ภาพ ๓) จะต้องดีดยกอาคารและเสริมฐานราก โดยต้องปรึกษาวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ภาพ ๓ วิศวกรผู้เชี่ยวชาญ น�ยช่�งผู้ควบคุมก�ร ก่อสร้�ง มีหล�ยส�ข� ได้แก่ วิศวกรโครงสร้�ง (อ�ค�ร), วิศวกรโยธ� (ส�ธ�รณูปโภค), วิศวกร ไฟฟ้�, วิศวกรเครื่องกล ฯลฯ 7
  • 10. ฐานรากถูกน้ำเซาะ � ้ ถ้าฐานรากถูกนำาเซาะจนดินที่ห่อหุ้มฐานรากหาย ไป เมื่อตรวจดูแล้วพบว่าฐานรากยังตั้งตรงอยู่ในสภาพ ปกติ ไม่ทรุด ไม่แตกร้าว ก็ให้ถมดินกลับคืนไป แต่ถ้า ฐานรากเกิดเอียง หรือทรุดตัวลง (ภาพ ๔) หรือแตก ร้าว (ภาพ ๕) ในเรื่องนี้คงแก้ไขเองไม่ได้ ต้องให้วิศวกร มาตรวจสอบเพื่อแก้ไขซ่อมแซมต่อไป ภาพ ๔ ภาพ ๕ 8
  • 11. เสา�แตก�หัก�ร้าว� รอยแตกร้าว ถ้าเป็นเสาไม้รับนำ้าหนักไม่มากอาจพอหาช่างมา รอยร้�วของเส�-ค�น แก้ไขได้ แต่ถ้าเป็นเสาคอนกรีตหัก หรือมีรอยร้าวเป็น ที่แสดงสภ�พอันตร�ย แนวเฉียง (ภาพ ๖) หรือมีรอยร้าวบริเวณรอยต่อเสาคาน ภาพ ๖ (ภาพ ๗) หรือผิวปูนแตกจนเห็นเหล็กเสริมในเสา (ภาพ รอยเส�ร้�วเป็นแนวเฉียง ๘) หรือเสาเอียง ควรให้วิศวกรมาตรวจสอบแก้ไขทันที เนื่ อ งจากเสาดั ง กล่ า วอาจสู ญ เสี ย กำ า ลั ง ในการรั บ นำ้า หนักและพังทลายลงมาได้ ซึ่งเป็น “อันตราย” ต่อผู้อยู่ อาศัยอย่างยิ่ง คาน�แตก�ร้าว�หัก� ภาพ ๗ ถ้าเป็นคานไม้ สังเกตได้ไม่ยาก คานหักหรือแตก รอยร้�วบริเวณรอยต่อ ก็ยังพอให้ช่างมาดามด้วยไม้หรือเหล็ก หรือเปลี่ยนไม้ เส�-ค�น ใหม่ให้ได้ แต่ถ้าเป็นคานคอนกรีตหัก หรือมีรอยแตกร้าว โดยรอยแยกของรอยร้าวกว้างมากกว่า ๐.๕ มิลลิเมตร (สามารถสอดไส้ดินสอกดขนาด ๐.๕ มิล. เข้าไปในรอย แยกได้) (ภาพ ๙) ควรให้วิศวกรมาตรวจสอบแก้ไขจะ ปลอดภัยกว่า แต่ถ้าหากรอยแยกกว้างน้อยกว่า ๐.๕ มิล. อาจต้องตรวจดูรอยร้าวในเนื้อคานคอนกรีต (รอย ภาพ ๘ ร้าวนี้หมายถึงรอยร้าวที่เนื้อคอนกรีตจริงๆ ไม่ใช่ที่ปูน ผิวปูนแตก จนเห็นเหล็กเสริม ฉาบ) โดยให้สกัดเฉพาะปูนฉาบออกเพื่อดูว่ามีรอยร้าว ที่เนื้อคอนกรีตหรือไม่ (ไม่แน่ใจให้ปรึกษาผู้รู้) ภาพ ๙ ตรวจรอยร้�วเทียบกับ ขน�ดไส้ดินสอ ๐.๕ มิล. 9
  • 12. พื้นคอนกรีต หากไม่มีรอยร้าวก็ถือว่าปลอดภัย แค่ฉาบปูนตกแต่ง ชนิดวางบนดิน ปิดให้เรียบร้อยตามเดิมก็พอ แต่หากพบรอยร้าวที่เนื้อ คือ พื้นคอนกรีตที่ถ่�ย คอนกรีต ควรให้วิศวกรมาตรวจสอบแก้ไข น้ำ�หนักลงพื้นดินโดยตรง ไม่ผ่�นค�นและเส� แต่มัก ผนังแตกร้าว� มีค�นคอดินล้อมรอบเพื่อ ผนังคอนกรีตหรือผนังก่ออิฐฉาบปูนแตกร้าวเป็น ป้องกันดินหรือทร�ยไหล เส้นลายงาเล็กๆ โดยทั่วไปแล้วมักจะไม่มีอันตรายอะไร ออก หลังน้ำ�ลด พื้นชนิดนี้ สามารถแก้ไขได้โดยอุดรอยร้าวด้วยสีโป๊ว หรืออะครีลิค มักทรุดตัว แตกร้�ว เพร�ะ หรือสารเคมีช่วยประสานรอยต่อแล้วทาสีทับอีกชั้น ดินข้�งใต้ไหลออกต�มน้ำ� ไม่มีตัวรับน้ำ�หนักพื้น หนึ่ง แต่ถ้าผนังแตกร้าวโดยมีรอยแตกกว้างและยาว พื้นชนิดนี้ช่วยลดน้ำ�หนัก อย่างเห็นได้ชัดเจนมากและมักจะทะลุถึงอีกด้านหนึ่ง อ�ค�รที่จะถ่�ยลงสู่เส�เข็ม ของผนัง แสดงว่าอาจเกิดการแอ่นตัวหรือการทรุดตัวที่ ช่วยประหยัดเส�เข็ม แต่มี ไม่เท่ากันของโครงสร้างอาคาร ควรรีบปรึกษาวิศวกร ปัญห�ที่ทรุดตัวได้ง่�ย เพื่อช่วยในการตรวจสอบแก้ไข พื้นคอนกรีต พื้น�แตก�ร้าว�ทรุด ชนิดวางบนคาน ถ้าเป็นพืนไม้แตกร้าวหรือหัก คงแก้ไขได้ไม่ยากโดย ้ คือ พื้นคอนกรีตที่ถ่�ย ใช้ไม้พนขนาดเดียวกันถอดเปลียนเข้าไปแทน ถ้าเป็น ้ื ่ น้ำ�หนักลงสู่ค�น และจ�ก ค�นสู่เส� ได้แก่ พื้นคอนกรีตชนิดวางบนดิน เกิดการทรุดตัวแตกร้าว พื้นคอนกรีตทั่วไป มาก (ต้องแน่ใจว่าเป็นพืนวางบนดินจริงๆ และตัดขาด ้ ที่ลอยอยู่เหนือพื้นดิน จากโครงสร้างอื่น) อาจซ่อมแซมโดยรื้อพื้นนั้นออก และ ลอกดิน โคลน หรือดินอ่อนออกแล้วถมกลับด้วยทราย ำ้ ราดนาอัดแน่น (การขุดลอกและการถมต้องระวังมิให้ 10
  • 13. ดินเคลื่อนตั ว จนเกิดความเสียหายต่อโครงสร้างใกล้ บันไดแบบมีคาน เคียง) จากนั้นจึงผูกเหล็กเทพื้นคอนกรีตใหม่ แต่ถ้าเป็น แม่บันได พืนคอนกรีตชนิดวางบนคาน หรือมีโครงสร้างอืนรองรับ ้ ่ คือ บันไดที่มีค�นเชื่อม เกิดรอยแตกร้าวอย่างชัดเจน คงต้องให้วิศวกรหรือ ระหว่�งชั้น ผู้เชี่ยวชาญมาช่วยตรวจสอบแก้ไขจะปลอดภัยกว่า บันได�ผุ�หัก�ร้าว ถ้าเป็นบันไดไม้ คงแก้ไขได้ไม่ยาก สามารถซื้อไม้ ขนาดเดียวกันมาซ่อมแซมแก้ไขไปได้ ถ้าเป็นบันไดเหล็ก เกิดผุหรือหัก ควรตามช่าง เหล็กมาซ่อมแซม ำ้ สำาหรับบันไดคอนกรีตซึ่งมีนาหนักมาก และบันได ก็มีหลายรูปแบบ เช่น บันไดแบบที่มีคานแม่บันได และ บันไดแบบพื้นยื่น บันไดแบบพื้นยื่น ซึ่งแต่ละแบบมีพฤติกรรมแตกต่าง คือ บันไดที่ไม่มีค�น กัน หากมีความเสียหาย การตรวจสอบแก้ไขควรปล่อย เชื่อมระหว่�งชั้น ให้เป็นหน้าที่ของวิศวกรจะดีกว่า 11
  • 14. อาคารที่พื้นวางบนดิน คือ อ�ค�รที่พื้นคอนกรีต 2 ชั้นล่�งเป็นชนิดว�งบน ดิน อ�ศัยดินรับน้ำ�หนักพื้น งานสถาปัตยกรรม� โดยตรง งานตกแต่งภายใน และงานจัดสวน อาคารที่ยกพื้นเหนือดิน คือ อ�ค�รที่พื้นชั้นล่�งซึ่ง อ�จเป็นพื้นคอนกรีต หรือ พื้นไม้ ว�งบนค�น ยกสูง จ�กพื้นดินประม�ณ ๑ เมตร ่ ั ้ อาคารทีได้รบความเสียหายจากนำาท่วม เมือระดับ ่ เกิดเป็นที่ว่�งใต้ถุน บ�งที ำ้ นาลดลงแล้วมีข้อแนะนำาดังนี้ ก็ก่อกำ�แพงปิด เพื่อไม่ให้ ๑. อาคารที่พื้นวางบนดิน สัตว์เข้�ไปอยู่อ�ศัย ใต้พื้นอาคารจะยังคงมีความชื้นสะสมอยู่มาก ถ้า ำ้ ำ้ รอบอาคารนายังลดไม่หมด ควรทำาคันกั้นนา เช่น การ ใช้กระสอบทรายเป็นเขื่อน พื้นภายในจะได้แห้งเร็วขึ้น ส่วนช่องว่างทีมดนโคลนทับถมอยู่ ให้ลางทำาความสะอาด ่ีิ ้ โดยเร็วก่อนโคลนแข็งตัว 12
  • 15. ๒. อาคารที่ยกพื้นเหนือดิน ำ้ อย่าให้นาขังสะสมใต้ถุนอาคาร แก้ไขโดยถ้าใต้ถุน อับทึบระบายอากาศไม่ดีให้ทุบผนังและให้ทำาช่องเปิด โล่งให้มีการระบายอากาศมากที่สุด อาคารทัง ๒ ประเภทนี้ ส่วนพืนและผนังของอาคาร ้ ้ ชั้ น ล่ า งจะได้ รั บ ความเสี ย หายมากกว่ า พื้ น และผนั ง อาคารส่วนชั้นบน โดยหลักการแก้ไข คือ ให้อาคารระดับ ชันล่างมีการระบายความชืนออกให้หมด ถ้าพืนเสียหาย ้ ้ ้ มาก ให้สกัดเอาวัสดุที่ปูไว้ออกก่อน ควรเปิดหน้าต่าง บ่อเกรอะ ทิ้งไว้เพื่อไล่ความชื้นออก ให้ภายในมีการถ่ายเทอากาศ คือ บ่อเก็บและบำ�บัดของ ำ้ ห้องนาชั้นล่าง ให้สำารวจตำาแหน่งบ่อเกรอะ บ่อซึม แก้ไข เสียจ�กส้วม โดยอ�ศัย ำ้ ำ้ รอบบริเวณอย่าให้มีนาขัง ห้องนาชั้นล่างควรระงับการ ก�รทำ�ง�นของจุลินทรีย์ ใช้งานไว้ก่อน ส่วนความเสียหายของวัสดุต่าง ๆ มีข้อ ย่อยสล�ยของเสียให้กล�ย เป็นน้ำ� บ่อเกรอะมักทำ�ด้วย แนะนำา ดังนี้ ท่อคอนกรีตทึบตัน รั้ว รั้วเหล็ก บ่อซึม ถ้าเป็นสนิม ให้ขัดสนิมออกก่อนทาสีใหม่ คือ บ่อรับน้ำ�ที่เกิดจ�กก�ร รั้วไม้ ย่อยสล�ยในบ่อเกรอะ แล้ว ปล่อยให้ซึมสู่พื้นดินรอบๆ ถ้าผุ หรือหัก ให้ถอดเปลี่ยน บ่อซึม บ่อซึมมักทำ�ด้วย รั้วคอนกรีต อิฐก่อโปร่ง และมีอิฐหัก โดยปกติแล้วจะไม่เสียหายเพียงแต่อาจสกปรกให้ โปร่งๆ ล้อมรอบ เพื่อให้ ล้างทำาความสะอาด ปล่อยให้แห้งก่อนทาสีใหม่ น้ำ�ซึมออกได้เร็ว (ดูภ�พ หน้� ๒๔) 13
  • 16. ไม้จริง พื้น คือ ไม้ที่แปรรูปจ�กต้นไม้ พื้นไม้จริง เป็นขน�ดหน้�ตัดต่�งๆ พื้นไม้จริงชนิดตีเข้าลิ้นวางบนตงไม้ หรือปูบนพื้น ให้เลือกใช้ง�น เช่น คอนกรีต อาจมีการบวมหรือบิดงอ จะต้องรอให้แห้ง ๑ x ๒ นิว, ๑๑/๒ x ๓ นิว, ้ ้ ๒ x ๔ นิ้ว, ๒ x ๖ นิ้ว สนิทก่อน และตรวจสอบว่าทำาการขัด ซ่อมแซมและทำา เป็นต้น สีได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้รื้อมาตากให้แห้งแล้ว ทำาการ ขัดแต่ง ก่อนปูใหม่ ตง พื้นปูกระเบื้อง คือ ค�นเล็กรับพื้น มักเว้น โดยปกติ พื้นประเภทนี้จะไม่เสียหาย เพียงขัดทำา ระยะห่�งประม�ณ ๕๐ ซ.ม. อ�จเป็นไม้หรือเหล็กก็ได้ ความสะอาดก็จะกลับมาใช้ได้เหมือนเดิม พื้นหินขัด หินแกรนิต หินอ่อน หินขัด พื้นหินขัด หินแกรนิต และหินอ่อน อาจต้องใช้ วัสดุแต่งผิวชนิดหนึ่ง ทำ� เวลาและเครื่องมือเฉพาะ ถ้าจะให้สวยงามเหมือนเดิม จ�กเกล็ดหินอ่อนหล�ยสี ควรจ้างช่างที่มีความชำานาญมาดำาเนินการ ผสมปูนซีเมนต์ข�ว เมื่อ ฉ�บแห้งแล้วก็ขัดผิวจน พื้นปาร์เก้ เรียบมัน ให้ทำ�คว�มสะอ�ด ปาร์เก้ลอย หลุดล่อน ควรเปิดประตูหน้าต่างให้ ง่�ย แต่จะลื่นเมื่อเปียกน้ำ� อากาศถ่ายเทความชื้นออกไป เลาะเอาปาร์เก้ที่บิดงอ ออกแล้วใส่ปาร์เก้แผ่นใหม่เข้าไปโดยติดกับพื้นด้วยกาว ลาเท็กซ์ ก่อนทากาว ต้องรอให้คอนกรีตแห้งสนิทก่อน มิเช่นนั้นปาร์เก้จะล่อนออกมาอีก จากนั้น ขัดปาร์เก้ ใหม่ให้สูงเสมอกับปาร์เก้เดิม รอจนพื้นปาร์เก้แห้งสนิท แล้วทายูริเทน หรือสีย้อมไม้ 14
  • 17. หากจะเปลี่ยนพื้นโดยใช้วัสดุใหม่แทน เช่น การ ปาร์เก้(Parquet) ปูกระเบื้องหรือหินอ่อนหรือหินแกรนิต ขอให้คำานึงถึง คือ พื้นไม้แต่งผิว ทำ�จ�ก ำ้ นาหนักที่อาจเพิ่มขึ้นด้วย ไม้ชิ้นเล็กๆ หน�ประม�ณ พื้นกระเบื้องยาง ๑ นิ้ว ม�เรียงปิดพื้น กระเบื้องยางชนิดแผ่นหากเสียหายมาก ควรเลาะ คอนกรีต ยึดด้วยก�ว ล�เท็กซ์ ซึ่งจะละล�ยล่อน เปลี่ยนทั้งหมด เพราะถึงบางแผ่นยังไม่หลุดล่อน แต่ยัง หลุดเมื่อโดนน้ำ� คงมีความชื้นฝังอยู่ในพื้นด้านล่าง หากหลุดล่อนบางส่วน การแก้ไขเบื้องต้น คือ ทิ้ง ยูริเทน ไว้ให้พื้นที่ปูแห้งสนิท ใช้เตารีดรีดลงบนแผ่นกระเบื้อง คือ โพลียูรีเทน (Poly- ที่บิดงอ โดยใช้แผ่นอลูมิเนียมฟอยล์รองระหว่างเตารีด urethane) เป็นน้ำ�ย� เคลือบผิวไม้ให้มีคุณสมบัติ กับแผ่นกระเบื้องยาง เมื่อหายงอแล้ว ก็ใช้กาวที่ใช้ กันน้ำ�และแข็งทนก�รขีด สำาหรับติดกระเบื้องยางโดยเฉพาะ ทาบนพื้น แล้วกด ข่วนได้ระดับหนึ่ง กระเบื้องยางให้สนิท ใช้ผ้าแห้งเช็ดกาวส่วนที่เลอะออก หาของมาทับ ทิ้งไว้จนกว่าจะแห้ง หากต้องการเปลี่ยน ไม้เทียมผิวลามิเนต คือ วัสดุประดิษฐ์แต่งผิว ำ้ พื้นใช้วัสดุใหม่ ให้คำานึงถึงนาหนักที่อาจเพิ่มขึ้นด้วย พื้นให้ดูคล้�ยพื้นไม้ แบบ พื้นไม้เทียมผิวลามิเนต เดียวกับป�ร์เก้ แกนกล�ง หากโดนเพียงความชื้น อาจยังไม่เกิดอาการบวม เป็นเยื่อไม้ผสมก�วอัดแข็ง ควรเปิดพื้นที่ให้ความชื้นระเหยออกให้หมด หากถูก ก่อนจะเคลือบทับ (lami- ำ้ ำ้ นาท่วม วัสดุด้านในจะบวมนา จะต้องเลาะออกแล้ว nated) ผิวหล�ยชั้นให้ เปลี่ยนใหม่ หากต้องการเปลี่ยนวัสดุพื้นใหม่ ให้คำานึง แข็งแรงและสวยง�ม แต่ วัสดุแกนกล�งจะดูดซึมน้ำ� ำ้ ถึงนาหนักที่อาจเพิ่มขึ้นด้วย ได้ม�กกว่�ไม้เสียอีก 15
  • 18. สีรองพื้นปูนเก่า ผนัง คือ น้ำ�ย�อะคริลิกเรซิ่นที่ ผนังไม้ มีคุณสมบัติเป็นก�วช่วยยึด ำ้ ปล่อยให้แห้งก็เพียงพอ ถ้าผนังบางจุดที่แช่นาอาจ ผิวสีเก่�ที่กำ�ลังเสื่อมกล�ย ผุได้ ใช้ผ้าเช็ดทำาความสะอาดปล่อยให้แห้งสนิทก่อน เป็นฝุ่นให้ยึดตัวกันและยึด กับผนังก่อนท�สีใหม่ ทาสีหรือแลกเกอร์ ผนังปูน ยิปซั่มบอร์ด ำ้ โดยทั่วไปแล้วจะไม่เสียหาย เมื่อนาลดลงแล้วใช้ แผ่นวัสดุทำ�ผนังและเพด�น ผ้าเช็ดทำาความสะอาด ปล่อยให้แห้งสนิทก่อนทาสีตาม แกนเป็นปูนยิปซั่ม บุผิวสอง ขั้นตอนต่อไป เช่น การทาสีผนังเก่า ถ้าให้ได้ผลดีจะ ข้�งด้วยกระด�ษแข็ง จึงไม่ ทนน้ำ�เลย ต้องทาสีรองพื้นปูนเก่าก่อนทาสีจริง ผนังยิปซั่มบอร์ด โครงเคร่า ำ้ เมื่อถูกนาท่วม ยิปซั่มบอร์ดจะเสียหาย เพราะทำา โครงที่ช่วยให้วัสดุชนิด ด้วยผงปูนยิปซั่มหุ้มด้วยกระดาษ ให้เลาะออกแล้วบุ แผ่นแข็งแรงคงรูปอยู่ได้ มักทำ�เป็นต�ร�งขน�ด แผ่นใหม่ โดยจะต้องปล่อยให้โครงเคร่าและด้านในผนัง ๔๐x๔๐ หรือ ๖๐x๖๐ แห้งก่อนบุ มิฉะนั้นความชื้นจะถูกกักอยู่ข้างใน ซ.ม. เคร่�ผนังมักเป็นไม้ ผนังโลหะ หรือผนังกระจก หรือเหล็กชุบสังกะสี ำ้ ตรวจสอบว่ามีนาหรือเศษผงขังอยู่หรือไม่ หากมี ให้ทำาความสะอาดเสียก่อน สำาหรับผนังชนิดอื่น เช่น ผนังกระดาษอัด ผนัง สังกะสี ผนังไม้อัด ฯลฯ จะมีธรรมชาติคล้ายกับผนัง ข้างต้น ให้เปรียบเทียบการแก้ไขตามแนวทางที่กล่าว มาแล้ว 16
  • 19. ประตู กระดาษอัด ประตูเหล็ก หรือ ฮ�ร์ดบอร์ด มี ๒ สี มักขึ้นสนิม ต้องเช็ดให้แห้ง ขัดสนิมออก ทาสีรอง คือ น้ำ�ต�ล กับเหลืองนวล ทำ�จ�กเยื่อไม้อัดแน่นด้วย พื้นกันสนิม ก่อนทาสีใหม่ (การขัดแบบผ่อนแรงมีทั้ง ก�ว มีคุณสมบัติซึมน้ำ� เครื่องขัดติดกระดาษทราย และ หัวขัดแปรงเหล็กติด โป่งพองง่�ย สว่าน) ประตูเอียงหรือตก สีรองพื้นกันสนิม ำ้ ำ้ ำ้ ประตูไม้เมื่อแช่นานานๆ จะอมนาทำาให้มีนาหนัก ก่อนท�สีง�นเหล็กต้องท� ำ้ เพิ่มขึ้น บานพับรับนาหนักไม่ไหว ตัววงกบเปื่อยยุ่ย หรือพ่นสีรองพื้นกันสนิม น๊อตหรือตะปูยึดได้ไม่แน่น แก้ไขโดยใช้ลิ่มไม้หรือเหล็ก ก่อนเสมอ (ยกเว้นเหล็ก สเตนเลส ซึ่งไม่ต้องท�) ำ้ สอดรับนาหนักของบานให้ตงตรงไว้กอน รอจนความชืน ้ั ่ ้ สีรองพื้นกันสนิมมี ๒ สี ระเหยออกไป น๊อตหรือตะปูก็จะยึดได้แน่นขึ้นสามารถ คือ สีน้ำ�ต�ลแดง กับสี เอาลิ่มออกได้ แต่ถ้าวงกบผุพังก็จำาเป็นต้องเปลี่ยนใหม่ เท�อ่อน ำ้ ถ้าเป็นห้องนาจะเปลียนเป็นวงกบและประตู พี.วี.ซี. ก็ได้ ่ ประตู พี.วี.ซี. จะได้ไม่เกิดปัญหาขึ้นอีก พี.วี.ซี. (PVC-Poly- Vinyl Chrolide) เป็น ไม้กระหน�บ พล�สติกชนิดหนึ่ง ประตู ในกรณีที่ประตู พี.วี.ซี. จึงเหม�ะกับประตู มีอ�ก�รบิดด้วย ห้องน้ำ�และประตูที่ถูกฝน ประตู พี.วี.ซี. เป็นประตู สำ�เร็จรูปมีหล�ยขน�ด และหล�ยแบบ มีข�ย พร้อมวงกบ ลิ่มไม้/ เหล็ก ยกบ�นประตู ไม่ให้ตก 17
  • 20. บานพับ�ลูกบิด�และรูกุญแจ อุปกรณ์ประตูหน้าต่าง เช่น บานพับ ลูกบิด และรู กุญแจ ทำาด้วยโลหะ มีวิธีแก้ไข คือ เช็ดให้แห้ง ขัดส่วน ำ้ ที่เป็นสนิมออก ใช้นายาหล่อลื่นชะโลมตามจุดรอยต่อ และรูต่างๆ ให้ทั่ว หรือใช้สเปรย์ไล่ความชื้น ข้อควร ระวังคือ อย่าใช้จาระบี หรือพวกขี้ผึ้งทา เพราะ จะทำาให้ความชื้นระเหยออกไม่ได้ ถ้ายังใช้ การไม่ได้ ก็ลองทำาตามวิธีที่ว่านี้หลายๆ ครั้ง ถ้ายังมีปัญหา ก็ควรจะต้องถอดออก แล้วซื้อมาเปลี่ยนใหม่ ฝ้าเพดาน ำ้ ำ้ ฝ้าเพดานที่ถูกนาท่วม เมื่อนาลดแล้วให้ตรวจดู ว่ า สายไฟฟ้ า ดวงโคมที่ ติ ด อยู่ มี อ ะไรเสี ย หายหรื อ ไม่ ต้องซ่อมแซมเปลี่ยนใหม่หรือไม่ มีแมลงหรือสัตว์ เลื้อยคลานเข้าไปหลบอยู่ในฝ้าเพดานหรือไม่ ถ้ามีต้องไล่หรือจับออกไปก่อนบุฝ้าใหม่ ฝ้ายิปซั่มบอร์ดหรือกระดาษอัด โดยมากจะต้องเลาะออกแล้วเปลี่ยนใหม่ เพราะ ส่วนที่เป็นกระดาษจะเปื่อยยุ่ย 18
  • 21. ฝ้าโลหะ เครื่องขัด ให้เช็ดทำาความสะอาดให้แห้ง ถ้าเป็นสนิม ก็ใช้ ติดกระดาษทราย กระดาษทรายขัดออกให้เรียบร้อย แล้วจึงทาสีทับเข้า ไปใหม่ (อย่าลืมทาสีรองพื้นกันสนิมก่อน) ฝ้าไม้จริง อาจมีอาการบวมหรือบิดงอ จะต้องรอให้แห้งสนิท ก่อน และจึงทำาการซ่อมแซมและทาสีต่อไป โครงฝ้าเพดาน โครงฝ้าเพดานมีหลายชนิด ทั้งที่เป็นไม้ เป็นโลหะ หัวขัดแปรงเหล็ก ที่เป็นสนิม (เหล็ก) และไม่เป็นสนิม (อะลูมิเนียม) ติดสว่าน โครงฝ้าเพดานที่เป็นไม้ หากเกิดการแอ่นหรือ ทรุดตัว ต้องแก้ไขให้ได้ระดับก่อนการติดตั้งแผ่นฝ้าใหม่ หากเป็นโครงโลหะ ให้ทำาความสะอาด ขัดสนิม และ ทาสีรองพื้นกันสนิมต่อไป สี ำ้ เมื่อเกิดนาท่วมขัง สีจะได้รับความเสียหาย หลุด ล่อน ขึ้นรา โป่งพอง ก่อนจะทาสีใหม่ จะต้องทำาความ สะอาดหรือลอกสีเดิมออกก่อน เพราะถ้าหากทาทับไป เลย ก็จะอยู่ได้ไม่นาน จะเกิดการหลุดร่อนออกมาอีก 19
  • 22. ถ้าเป็นงานเหล็กจะต้องขัดสนิมออกให้หมดก่อน ำ้ ทาสีนามัน โดยทาสีรองพื้นกันสนิมก่อน แล้วตามด้วย สีที่ต้องการ งานปูน หรือกระเบื้องแผ่นเรียบ หรือยิบซั่ม บอร์ดสีที่ใช้คือ สีพลาสติก ำ้ งานโลหะหรือไม้ สีที่ใช้คือ สีนามัน สีน้ำามัน เฟอร์นิเจอร์ เป็นสีสำ�หรับท�ไม้ หรือ ได้แก่ โต๊ะ เตียง เก้าอี้ ตู้โชว์ ตู้เสื้อผ้า โลหะ เป็นสีเชื้อน้ำ�มัน คือ ๑) พยายามเอาความชื้นออกจากเฟอร์นิเจอร์ให้ ทำ�ให้เจือจ�งด้วยน้ำ�มัน เร็วที่สุด โดยการผึ่งแดด หรือผึ่งลม หรือทินเนอร์ ำ้ ๒) เฟอร์นิเจอร์ที่อมนามาก เช่น โซฟานวม ที่นอน สีพลาสติก หมอน หากไม่จำาเป็น ไม่ควรนำากลับมาใช้อีก เพราะ เป็นสีสำ�หรับท�ง�นปูน ำ้ นาท่วมจะพาเชื้อโรคเข้าไปอยู่ภายใน แม้ตากแดดแห้ง เป็นสีเชื้อน้ำ� คือ ทำ�ให้ แล้วเชื้อโรคอาจยังอยู่ เป็นอันตรายต่อสุขภาพในระยะ เจือจ�งด้วยน้ำ� ยาวได้ ๓) เฟอร์นิเจอร์ประเภทติดกับที่ (Built-in) ต้อง ตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้อยู่ในสภาพ เดิมหรือใกล้เคียงของเดิม รวมทั้งสายไฟที่ฝังอยู่ในตู้ และอุปกรณ์ต่างๆ ๔) เฟอร์นิเจอร์ที่ทำาด้วยไม้ ไม่ควรนำาไปตากแดด ให้แห้ง เพราะจะทำาให้แตกเสียหายได้ ควรใช้วิธีผึ่งลม และเมื่อจะทาสีทับลงไปจะต้องรอให้ไม้แห้งสนิทก่อน 20
  • 23. พรม ำ้ พรมที่ถูกนาท่วมให้รีบรื้อออกโดยเร็ว เพื่อไม่ให้ พรมส่งกลิ่นเหม็น แล้วนำาไปซักและตากแห้ง ก่อนนำา กลับมาปูใหม่ ก่อนปูควรจะให้แน่ใจว่าพื้นคอนกรีต แห้งสนิทแล้ว แต่ทางที่ดี หากรู้ว่าจะถูกนา ำ้ ท่วมพรมแน่ ควรรื้อพรมออกมาก่อนที่นาจะ ำ้ ท่วมขึ้นมาถึง เพราะการซักและตากอาจจะ ไม่สะอาดและดีเหมือนเดิม ผ้าม่าน เป็นคราบสกปรก ให้ถอดจากราวออกมาซัก วอลล์เปเปอร์ วอลล์เปเปอร์ลอก ล่อน ให้ลอกออกก่อนเพื่อให้ ความชื้นระเหยออกมาได้ เมื่อผนังแห้งจึงให้ช่างมา ลอกออกให้หมดก่อนปูใหม่ ต้นไม้ อย่าเพิ่งให้ปุ๋ย ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือ ำ้ ปุ๋ยคอก เพราะนาท่วมรากต้นไม้จะอ่อนแอ ต้องใช้เวลา พักฟื้น โดยขุดหลุมขนาดเล็กลึก ๕๐ ซ.ม. ถึง ๑ เมตร ำ้ ไว้ข้างๆ ต้นไม้ เพื่อให้นาที่ขังอยู่บริเวณรากไหลลงสู่ หลุ ม ที่ ขุ ด ไว้ แล้ ว ค่ อ ยดู ด หรื อ ตั ก นำ้ า ออกจากหลุ ม 21
  • 24. ำ้ ทำาให้นาที่ท่วมรากอยู่ลดลงเร็วยิ่งขึ้น อย่าอัดดินลงไป ที่โคนต้นไม้ให้แน่น ควรใช้วิธีดาม หรือค้�ยันลำาต้นไว้ ำ ไม่ให้ล้ม ตัดแต่งกิ่งที่ตาย พรวนดินรอบโคนต้น ให้ รากของพืชหายใจได้ดียิ่งขึ้น ให้แสงแดดฆ่าเชื้อโรค ำ้ และให้นาที่ขังอยู่ระเหยออกได้เร็วขึ้น บำาบัดรักษาด้วย ยาฆ่าแมลง และกำาจัดโรคที่เกิดกับต้นไม้ เปลี่ยนต้นไม้ ที่ตายหรือไม่เจริญเติบโตออกไป ทรายขี้เป็ด สนามหญ้า คือ ทร�ยผสมดิน ทร�ยมี คว�มร่วนซุยให้ร�กหญ้� ำ้ เมื่อเกิดนาท่วมขังเป็นเวลานาน หญ้าจะตายหมด งอกชำ�แรกได้ง่�ย ส่วน ำ้ ต้องปลูกใหม่ ถ้ามีตะกอนดินเหนียวถูกนาพัดพามา ดินที่ผสมในทร�ยก็เป็น ทับถมที่สนามหญ้าจะต้องปรับพื้นที่ให้ได้ระดับก่อนลง ส�รอ�ห�รแก่หญ้� ทรายขี้เป็ดแล้วค่อยปูหญ้าใหม่ 22
  • 25. 3 ระบบสุขาภิบาล ท่อระบายน้� ำ คือ ท่อที่ระบ�ยน้ำ�จ�ก บ้�นออกสู่ท่อส�ธ�รณะ ท่อระบายน้ำ�อุดตัน ที่เป็นท่อแอสเบสทอสจะ ชำ�รุดได้ง่�ยถ้�ทำ�คว�ม ำ้ ำ้ ถ้านาท่วมล้นเข้ามาในท่อระบายนาในบ้าน ดินโคลน สะอ�ดด้วยเครื่องมือที่แข็ง ำ้ ำ้ ที่มากับนาท่วมจะไหลเข้ามายังท่อระบายนาในบ้านเรา เช่น ชะแลง ำ้ ำ้ ด้วย พอนาลดดินโคลนจะไม่ไปกับนา แต่จะตกค้างอยู่ ในท่อและบ่อพักรอบๆ บ้าน ซึ่งไม่ควรมองข้าม เพราะ บ่อพัก ำ้ ำ้ ถ้านาระบายออกไปตามท่อนี้ไม่ได้ นาในบ้านก็จะไหล ท่อระบ�ยน้ำ�ที่ย�วม�ก ต้องมีบ่อพักเพื่อช่วยดัก ออกไปไม่ได้เช่นกัน ตะกอนไม่ให้ไปกองใน ำ้ ดังนั้นเมื่อนาลด ให้ทำาการลอกท่อตักดินโคลน ระหว่�งท่อ บ่อพักทุกแห่ง ำ้ ออกให้หมด ห้ามใช้นาล้างเพราะดินที่ไหลจากที่เราล้าง จะมีฝ�เปิดให้ตักตะกอน ก็จะไหลไปกองที่อื่น ทำาให้เกิดปัญหาที่อื่นขึ้นอีก ดินหรือขยะออกได้ ท่อระบ�ยล�ดเอียง บ่อพักดักขยะ ท่อระบาย และ บ่อพัก ไหลลง 23
  • 26. ส้วมเหม็น�ส้วมเต็ม�ราดน้ำ�ไม่ลง ก่อนจะแก้ปัญหานี้เราต้องทำาความเข้าใจก่อนว่า ส้วมซึม ส้วมแบบโบราณของเราคือ ส้วมซึม บ่อบำาบัดที่ใช้กัน คือ ส้วมที่กำ�จัดของเสีย ำ้ มาก็คือบ่อเกรอะบ่อซึม ถ้าสร้างในพื้นที่ที่มีนาในดิน โดยใช้บ่อเกรอะกับบ่อซึม มากๆ เช่น กรุงเทพฯ อยุธยา หรือพื้นที่ใกล้สระนา ำ้ ซึ่งต้องอยู่ในดิน (ก�ร ำ้ แม่นาลำาคลอง บ่อเกรอะบ่อซึมก็จะทำางานได้ไม่ดีนัก ทำ�ง�นของบ่อเกรอะและ บ่อซึม ดังแสดงในรูป) ำ้ อยู่แล้ว เพราะอาศัยการซึมลงดิน ถ้านาในดินมากก็ ำ้ จะซึมได้ไม่ดี ยิ่งถ้านาท่วมแล้วยิ่งไม่ซึมเอาเลยทีเดียว ำ้ ดังนั้น ถ้านาลดแล้ว หากพอมีเงินอยู่บ้าง ก็ควร เปลี่ยนเป็นบ่อบำาบัดสำาเร็จรูปที่มีขายทั่วไป แต่หากยัง ไม่พร้อม อยากจะทำาอย่างพอเพียงไปก่อน ก็ให้รถสูบ ส้วมมาสูบดินโคลนทิ้งไปก่อน และบ่อเกรอะบ่อซึมก็จะ ใช้งานได้อีกครั้งหนึ่ง จะฟนฟบอบาบดสาเรจรปอยางไร? ้ื ู ่ ำ ั ำ ็ ู ่ ถ้าบ้านเราใช้บ่อบำาบัดสำาเร็จรูปอยู่ก่อนแล้ว เมื่อ ของเสีย ำ้ นาลดเราจะต้องทำาอะไรบ้าง เพื่อให้กลับมาใช้งานได้ดี อีกครั้ง ำ้ เริ่มแรกเราต้องล้างท่อนาทิ้งต่าง ๆ ให้เรียบร้อย ของเสียถูก ก่อน ดินโคลนทั้งหลายที่อยู่ในท่อก็จะไหลมารวมกันที่ จุลินทรีย์ บ่อบำาบัด หลังจากนั้น ให้รถสูบส้วมมาสูบดินโคลนไป ย่อยสล�ย ำ้ ำ้ ทิ้ง แต่ในการสูบนาจากถังบำาบัดนาเสียสำาเร็จรูปนี้ ควร อ�ก�ศ เป็นน้ำ� อ�ก�ศ ระดับน้ำ� ใต้ดิน น้ำ� น้�ซึมออก ำ 24 บ่อเกรอะ บ่อซึม
  • 27. ำ้ ระวังให้เป็นอันมาก เพราะหากสูบนาทิ้งรวดเดียวหมด ถัง อาจจะเกิดถังดันลอยตัวขึ้นมาทำาความเสียหาย แก่โครงสร้างของบ้านเราได้ หรือหากถังไม่ลอยขึ้นมา ส้วมถังบำาบัด ก็อาจจะถูกดินดันจนแตกเสียหายได้ จึงควรใจเย็นๆ คือ ส้วมที่กำ�จัดของเสีย ำ้ ำ้ ค่อยๆ สูบนาเก่าออกพร้อมกับเติมนาใหม่ลงไป ให้มี ในถังบำ�บัดเช่นเดียว ำ้ นาอยู่ในถัง ไม่น้อยกว่าครึ่งถัง ตลอดเวลา อย่าให้ถัง กับบ่อเกรอะ แต่มีระบบ บำาบัดกลายเป็นถังเปล่าเด็ดขาด ช่วยให้จุลินทรีย์ทำ�ง�น ส้ ว มราดไม่ ล งนอกจากปั ญ หาที่ เ ป็ น บ่ อ ซึ ม ดั ง ที่ มีประสิทธิภ�พม�กกว่� แล้วระบ�ยน้ำ�ที่เกิดจ�ก กล่าวมาแล้ว ยังอาจมีสาเหตุอื่นอีก เช่น ท่อส้วมแตก ก�รย่อยสล�ยออกสู่ท่อ ำ้ ท่ออากาศหลุด หรืออุดตัน ท่อระบายนาของถังบำาบัด ระบ�ยน้ำ�ส�ธ�รณะ หลุด หรืออุดตัน เป็นต้น ถังบำ�บัดนี้ว�งอยู่ที่ไหน ท่อส้วมแตก ก็ได้ที่ต่ำ�กว่�ส้วม เมื่อหาจุดที่ท่อแตกเจอแล้ว ก็ทำาการต่อท่อ ข้อควร ระวังคือ ท่อส้วมต้องมีความลาดเอียงจากโถส้วมไปยัง อ�ก�ศ บ่อเกรอะหรือถังสำาเร็จรูป ท่ออากาศหลุด หรืออุดตัน ท่ออากาศของถังส้วมทำาหน้าที่ระบายอากาศออก ำ้ เมื่อราดนาลงไป ถ้าไม่มีท่อระบายอากาศ หรือท่อ ระบายอากาศอุดตัน อากาศในถังส้วมจะดันนาที่ราดำ้ หรือชักโครกไว้ไม่ให้ไหลลงท่อส้วม ของเสีย ดังนั้น ท่อส้วมและถังส้วมจึงมีความจำาเป็นต้อง ต่อท่อระบายอากาศ อ�ก�ศ น้ำ�ลงท่อส�ธ�รณะ ที่อ�ศัยของจุลินทรีย์ 25
  • 28. ทอระบายน�จากถงบาบดหลดหรออดตน ่ ำ้ ั ำ ั ุ ื ุ ั ถังส้วมสำาเร็จรูปทุกรุ่นทุกยี่ห้อที่บอกว่า “ไม่มีวัน ่ ำ้ เต็ม” ก็เพราะมีทอระบายนาออกจากถังไปสูทางระบาย ่ ำ้ นานั่นเอง แต่ถ้าท่อทางออกตัน ก็ย่อมระบายไม่ออก แน่นอน ต้องรีบซ่อมโดยด่วน และอย่าลืมว่าท่อทางออก ต้องอยู่สูงกว่าระดับท่อสาธารณะภายนอกด้วย ระบบประปา น�ไม่สะอาดค้างท่อ ค้างถัง ำ้ ำ้ ท่อประปาเป็นท่อนามาให้เรากินเราใช้ ถ้านาท่วม ำ้ ำ้ ก็จะมีนาที่ไม่สะอาดเข้ามาในท่อ ดังนั้นพอนาลดเรา ำ้ จึงต้องทำาความสะอาดท่อก่อน ถ้าใช้นาประปาอย่าง ำ้ ำ้ เดียวไม่มีถังเก็บนาใต้ดิน ให้เปิดก๊อกนาเพือให้นาใน ำ้ ่ ำ้ ำ้ ท่อไหลออกมาจนนาใสสะอาดก็ถือว่าใช้ได้แล้ว ำ้ แต่ถ้ามีถังเก็บนาสำารองและเครื่องสูบนา ให้ล้าง ำ้ ำ้ ำ้ ถังเก็บนาให้สะอาด ถ้าหากถังเก็บนาเป็นถังใต้ดนสำาเร็จรูป ิ ให้ร ะวังเหมือนกับการล้ า งถั ง บำ า บั ด นำ้าเสี ย สำ า เร็ จรู ป ำ้ ด้วย นอกจากนี้การล้างท่อและถังเก็บนาควรใช้คลอรีน ำ้ ผสมนาไปด้วย ทิ้งไว้ค้างคืน สังเกตว่ามีกลิ่นคลอรีน เหลืออยู่ ก็ถือว่าใช้ได้ ท่อแตกหัก ถ้าเป็นท่อพีวีซี อาจจะซ่อมเองได้ ข้อแนะนำาใน เรื่องการต่อท่อพีวีซี คือ ต้องทำาความสะอาดท่อและ 26
  • 29. ข้อต่อให้สะอาด แห้ง และไม่มีคราบไขมัน ให้ทากาว ให้ทั่วบริเวณที่จะต่อ อย่าทากาวมากไป เพราะกาว อุปกรณ์ตัดต่อ จะปลิ้นออกมา แห้งแข็งขวางการไหลในท่อ เมื่อทา ท่อ พ.ว.ซ. ี ี ี กาวและต่อท่อเข้าไปแล้ว จึงทิ้งไว้ประมาณ ๑๐ นาที ............... ถ้าเป็นท่อประเภทอื่น คงซ่อมเองยาก เพราะต้องมี คีมตัดท่อ เครื่องมือหลายอย่าง ควรตามช่างมาซ่อมจะดีกว่า น้ำ�ย�เชื่อมท่อ ตลับเมตร ป�กก�เคมี 27
  • 30. 4 ระบบไฟฟ้า สายเมน ส�ยตัวนำ�ที่ต่อระหว่�ง มิเตอร์ของก�รไฟฟ้�ฯกับ แผงเมนสวิตช์ซึ่งมีทั้งส�ย เมนเข้�อ�ค�รเดินลอยใน อ�ก�ศและส�ยเมนเข้� อ�ค�รแบบฝังใต้ดิน มิเตอร์ แผงเมนสวิตช์ ม�ตรวัดค่�ก�รใช้ไฟฟ้� หมายถึง อุปกรณ์ตวหลักทีมจดประสงค์เพือควบคุม ั ่ีุ ่ คิดร�ค�เป็นหน่วย (ยูนิต) และปลดวงจรทังหมดของระบบจ่ายไฟบ้านพักอาศัย เมือ ้ ่ ๑ หน่วย เท่�กับปริม�ณ ปลดวงจรดับไฟแล้ว สามารถทำางานได้อย่างปลอดภัย ไฟฟ้� ๑ กิโลวัตต์-ชั่วโมง แผงเมนสวิตช์ชนิดที่ใช้กับบ้านอยู่อาศัยในปัจจุบัน หลักดิน ได้แก่ แผงคัทเอาท์และแผงสวิตช์อัตโนมัติหรือที่มักรู้จัก แท่งโลหะที่ฝังอยู่ในดิน กันว่า แผงคอนซูมเมอร์ยูนิต เพื่อทำ�หน้�ที่กระจ�ย ประจุไฟฟ้�หรือกระแส ไฟฟ้�ให้ไหลลงสู่ดินได้ โดยสะดวก เช่น แท่ง ทองแดงขน�ดเส้นผ่� ศูนย์กล�ง ๑๖ ม.ม. (๕/๘ นิ้ว) ย�วไม่น้อย กว่� ๒.๔๐ เมตร เป็นต้น การต่อไฟฟ้าเข้าบ้าน ผ่านแผงเมนสวิทช์ 28
  • 31. http://www.snw.ac.th/courseware/www.nectec.or.th แผงคัทเอาท์ คัทเอาท์ ปัจจุบันมีใช้น้อยลง ประกอบด้วยฐานคัทเอาท์ ทำ า ด้ ว ยกระเบื้ อ งมี ส ะพานไฟเป็ น ตั ว นำ า โลหะพร้ อ ม คั น โยกกระเบื้ อ งสำ า หรั บ โยกขึ้ น ต่ อ วงจรหรื อ โยกลง ปลดวงจรไฟจากการไฟฟ้าฯ หลั ง สะพานไฟที่ มี คั น โยกมี ฟิวส์ตะกั่วต่ออยู่เพื่อป้องกัน กระแสเกินซึ่งอาจมีฟิวส์ลูก ถ้ ว ยหรื อ คาร์ ท ริ ด จ์ ฟิ ว ส์ ต่ อ ร่วมอยู่ด้วย ส่วนประกอบ คัทเอาท์ แผงสวิตช์อัตโนมัติ ฟิวส์ลูกถ้วย แผงคอนซูมเมอร์ยูนิต เป็นแผงที่ติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ สามารถตัด วงจรโดยอัตโนมัติเมื่อกระแสเกินหรือเกิดกระแสไฟฟ้า ลัดวงจร หรือติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดตัดไฟรั่ว ได้ หรือติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว ต่อเชื่อมรับไฟฟ้าจาก อุปกรณ์ป้องกันกระแส มิเตอร์ของการไฟฟ้าฯ ปัจจุบันมีใช้มาก สามารถแบ่ง ไฟฟ้�เกินชนิดหนึ่ง ซึ่ง จะตัดวงจรไฟฟ้�โดย วงจรไฟฟ้าได้ง่าย เช่น แยกวงจรย่อยชั้นบนกับชั้นล่าง อัตโนมัติ เมื่อมีกระแส ไฟฟ้�ไหลเกินค่�ที่กำ�หนด และเมื่อฟิวส์ทำ�ง�นแล้วจะ ต้องเปลี่ยนฟิวส์ใหม่ แผงสวิตช์อัตโนมัติ หรือ แผงคอนซูมเมอร์ยูนิต 29
  • 32. เซอร์กิตเบรกเกอร์ หรือแยกเป็นวงจรปลั๊กหรือเต้ารับไฟฟ้า วงจรย่อยดวง (Circuit Breaker) โคมไฟฟ้า วงจรย่อยเครื่องปรับอากาศ วงจรย่อยเครื่อง อุปกรณ์ที่ส�ม�รถใช้สับ ำ้ ทำานาอุ่น เป็นต้น ซึ่งแต่ละวงจรย่อยควบคุมด้วยเซอร์- หรือปลดวงจรไฟฟ้�ได้ กิตเบรกเกอร์ ในขณะเดียวกันก็ส�ม�รถ ปลดวงจรที่มีก�รใช้กระแส มิเตอร์ ไฟฟ้�เกินและกระแส ลัดวงจรได้โดยอัตโนมัติ เปิด เปิด ส�ยดิน ปิด ปิด ส�ยนิวทรัล อุปกรณ์ไฟฟ้� หลักดิน ส�ยมีไฟ การตรวจสอบแผงเมนสวิตช์ หลังน�ลด ำ้ ำ้ หากพบว่ามีร่องรอยถูกนาท่วม แนะนำาให้เปลี่ยน สายไฟฟ้า ใหม่ กรณีของเดิมเป็นแผงคัทเอาท์ให้เปลี่ยนเป็นแผง ประกอบด้วยส�ยมีไฟ หรือ คอนซูมเมอร์ยูนิตติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดตัดไฟ ส�ยเฟส (Line) และส�ย รั่วได้ กรณีของเดิมเป็นแผงคอนซูมเมอร์ยูนิตอยู่แล้ว ไม่มีไฟ เรียกว่� นิวทรัล แต่ไม่มีเครื่องตัดไฟรั่ว แนะนำาให้เปลี่ยนเป็นเซอร์กิต หรือ ส�ยศูนย์ (N) แรงดันไฟฟ้�ระหว่�งส�ย เบรกเกอร์ชนิดตัดไฟรั่วได้ โดยเลือกชนิดที่เหมาะสม เส้นไฟกับส�ยนิวทรัล กับการใช้งาน ตำาแหน่งติดตั้งแผงสวิตช์ควรติดตั้งสูง ๒๓๐ โวลต์ ำ้ กว่าระดับที่ถูกนาท่วมถึง กรณีเป็นบ้าน ๒ ชั้น ควรติด 30
  • 33. ตั้งชั้นบน RCCB แผงเมนสวิ ต ช์ ที่ ไ ม่ ถู ก นำ้าท่ ว มให้ ป ลดวงจรออก (Residaul Current ก่อน กรณีเป็นแผงคัทเอาท์ให้ดึงคันโยกสะพานไฟลง Circuit Breaker) ปลดวงจร กรณีเป็นแผงคอนซูมเมอร์ยูนิตให้ดึงคัน เครื่องตัดไฟรั่วที่ไม่ โยกเซอร์กิตเบรกเกอร์ลงปลดวงจรทั้งหมด (เซอร์กิต ส�ม�รถตัดกระแสลัดวงจร จึงต้องใช้ร่วมกับฟิวส์หรือ เบรกเกอร์เมน และเซอร์กิตเบรกเกอร์ย่อย) หากพบ เบรกเกอร์ด้วยทุกครั้ง ว่าปลดวงจรอยู่แล้วให้ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นให้ เรียบร้อยก่อนจ่ายไฟฟ้า RCBO ้ แผงคัทเอาท์ที่ไม่ถูกนำาท่วมแนะนำาให้เปลี่ยนเป็น (RCCB with Over- แผงคอนซูมเมอร์ยูนิตและติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว load Protection) เครื่องตัดไฟรั่วที่ตัดกระแส ลัดวงจรได้ ส�ม�รถใช้ ตัดได้ทั้งไฟรั่วและกระแส ลัดวงจร การติดตั้งเซอร์กิต เบรคเกอร์ชนิดตัดไฟรั่ว ได้ (RCBO) แทนเซอร์กิต แผงคอนซูมเมอร์ยูนิตที่ไม่ถูกนำ้าท่วมแนะนำาให้ เบรกเกอร์เมนและ/หรือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ย่อย เปลี่ยนเซอร์กิตเบรกเกอร์เมนเป็นชนิดตัดไฟรั่วได้ด้วย ของเดิม หรือติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วเสริมหรือเพิ่มเติมเพื่อความ ปลอดภัย การติดตั้งเครื่อง ตัดไฟรั่ว (RCCB) เสริม เพิ่มเติมถัดจากเซอร์กิต เบรกเกอร์เมน 31
  • 34. เต้ารับ อุปกรณ์ไฟฟ้าจมน้ำ� หรือปลั๊กตัวเมีย ปลั๊ก หรือสวิตช์จมน� ำ้ คือ ขั้วรับสำ�หรับหัวเสียบ ปลั๊ ก หรื อ เต้ า รั บ และสวิ ต ช์ ไ ฟฟ้ า ที่ ถู ก นำ้ า ท่ ว ม จ�กเครื่องใช้ไฟฟ้� ปกติ แนะนำาให้เปลี่ยนใหม่ หรือถอดออกมาทำาความสะอาด เต้�รับจะติดตั้งอยู่กับที่ และทำาให้แห้งก่อนต่อกลับที่เดิมโดยช่างผู้ชำานาญงาน เช่น ติดอยู่กับผนัง และมีความรู้ด้านไฟฟ้าปลั๊กหรือเต้ารับไฟฟ้าและสวิตช์ ำ้ ไฟฟ้าที่นาท่วมถึงควรย้ายตำาแหน่งติดตั้งให้สูงขึ้นเหนือ ระดับที่ถูกนำ้าท่วมเดิมที่สามารถใช้งานได้สะดวกและ ควรแยกวงจรปลั๊ก ไฟฟ้ า ที่ มี โ อกาสถู ก นำ้าท่ วมบ่ อ ยๆ เพื่อให้สามารถปลดวงจรเฉพาะส่วนที่ถูกนาท่วมได้ ำ้ ตำ�แหน่งใหม่ คร�บน้ำ�ท่วม ตำ�แหน่งเดิม ย้ายปลั๊กและ จมน้ำ� สวิตช์ให้พ้นน้� ำ พื้นชั้นล่�ง เครื่องใช้ไฟฟ้าจมน� ำ้ เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น เครื่องปรับอากาศตู้เย็น ตู้แช่ ำ้ ำ้ เครื่องซักผ้า มอเตอร์ปั้มนา ฯลฯ ที่ถูกนาท่วมโดยส่วน 32
  • 35. ใหญ่จะเสียหายใช้งานไม่ได้ ควรตรวจสอบแก้ไขโดย เต้าเสียบหรือปลั๊กตัวผู้ ช่างผู้ชำานาญงานก่อนนำามาใช้งาน ตู้เย็นที่ปล่อยคว่�ำ คือ ขั้วหรือหัวเสียบจ�ก ำ้ หน้าลอยนาเพื่อป้องกันส่วนที่มีไฟฟ้าไว้ ให้ทำาความ เครื่องใช้ไฟฟ้� เพื่อ สะอาด ปล่อยให้แห้งและตั้งทิ้งไว้ ๑-๒ วันก่อนใช้งาน เสียบเข้�กับเต้�รับทำ�ให้ ส�ม�รถใช้เครื่องใช้ สายไฟฟ้าแช่น� ำ้ ไฟฟ้�นั้นได้ ำ้ สายไฟฟ้าภายในบ้านส่วนที่แช่นา หากเป็นสาย เดินลอยใช้งานไม่เกิน ๕ ปี ให้ทำาความสะอาดและทำาให้ แห้ง ปลอกสายสังเกตฉนวนและตัวนำาทองแดงไม่มี ร่อ งรอยสิ่ ง สกปรกติดอยู่ฉนวนไม่มีร อยแตกหรื อ ฉี ก ขาด การต่อใช้งานควรปรึกษาช่างผู้ชำานาญการ หรือผู้ มีความรู้ด้านไฟฟ้าก่อนหรือเปลี่ยนสายใหม่เฉพาะสาย ำ้ ส่วนที่แช่นาต่อเนื่องไปยังกล่องต่อสาย ขั้นตอนการจ่ายไฟฟ้า�� � หลังการตรวจสอบและแก้ไข การจ่ า ยไฟฟ้ า หลั ง การตรวจสอบและแก้ ไ ข อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านเรียบร้อยแล้ว ควรดำาเนินการ ตามขั้นตอนดังนี้ ๑. ถอด ปลด ปิด ถอดหรือปลดเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านทั้งหมด ส่วนที่เป็นเต้าเสียบให้ดึงเต้าเสียบออกจากปลั๊กไฟฟ้า ทั้งหมด ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านทั้งหมด เครื่อง 33
  • 36. มิเตอร์ ำ้ ปรับอากาศ เครื่องทำานาอุ่นและอื่นๆ ให้ปลดวงจรที่ ม�ตรวัดค่�ก�รใช้ไฟฟ้� เซอร์กิตเบรกเกอร์ของแต่ละเครื่อง คิดร�ค�เป็นหน่วย (ยูนิต) ๑ หน่วย เท่�กับปริม�ณ ๒. มีไฟรั่วหรือไม่ ไฟฟ้� ๑ กิโลวัตต์-ชั่วโมง กรณีใช้แผงคัทเอาท์ให้โยกสะพานไฟขึ้นต่อวงจร กรณีเป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์ให้โยกเฉพาะเซอร์กิตเบรก- เกอร์ เ มนตรวจสอบไฟฟ้ า รั่ ว เบื้ อ งต้ น โดยสั ง เกตการ หมุนของมิเตอร์หากมิเตอร์ยังหมุนอยู่แสดงว่ามีไฟรั่ว ให้โยกคัทเอาท์และเซอร์กิตเบรกเกอร์เมนลงตามช่าง ของการไฟฟ้าฯหรือช่างผู้มีความรู้ด้านไฟฟ้ามาตรวจ สอบแก้ไขอย่าพยายามแก้ไขเองเนื่องจากอาจถูกไฟ ดูดเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ หากมิเตอร์ไม่หมุน ให้โยก เซอร์กิตเบรกเกอร์วงจรย่อยแต่ละตัว (ยังไม่เปิดสวิตช์ มิเตอร์ไฟฟ้�ที่ใช้ต�มบ้�น ควบคุมอุปกรณ์เพื่อใช้งาน) สังเกตการหมุนของมิเตอร์ โดยทั่วไปมีรูปร่�งต�ม ตามลำาดับ ภ�พข้�งบน เมื่อมีกระแส ๓. ทดสอบปลั๊กและอุปกรณ์ทีละตัว ไฟไหลผ่�นมิเตอร์ จ�น วัดใต้หน้�ปัดตัวเลขก็จะ เสี ย บเต้ า เสี ย บและเปิ ด อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า แต่ ล ะตั ว หมุน เพื่อทดสอบใช้งานจริงตามลำาดับ หากฟิวส์ขาด หรือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ทริปปลดวงจร ให้ตามช่างของการ ไฟฟ้าฯหรือช่างผู้มีความรู้ด้านไฟฟ้ามาตรวจสอบแก้ไข ต่อไป หากระบบไฟฟ้าภายในบ้านไม่มีสายดินควรให้ ช่างผู้มีความรู้ด้านไฟฟ้าเป็นผู้ตรวจสอบ เนื่องจากผู้ใช้ 34
  • 37. ไฟฟ้ามีโอกาสถูกไฟดูดได้หากสัมผัสโครงหรือเปลือก ของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็นโลหะที่มีไฟฟ้ารั่วอยู่ ข้อแนะนำาเกี่ยวกับการทดสอบ ควรติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว ที่ เ มนสวิ ต ช์ ก่ อ นการ ทดสอบ เพื่อให้การทดสอบสามารถทำาได้อย่างถูกต้อง แม่นยำา และมีความปลอดภัยยิ่งขึ้น ระบบไฟฟ้าถูกน้ำ�ท่วมเสียหายมาก เดินสายใหม่ แยกวงจรควบคุม ้ กรณีระบบไฟฟ้าถูกนำาและเกิดความเสียหายมาก แนะนำ า ให้ เ ดิ น สายติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า ใหม่ โ ดยใช้ แ ผง สวิตช์อัตโนมัติแยกวงจรควบคุมเป็นแต่ละวงจรย่อย พร้อมติดตั้งระบบสายดิน และเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิด ตัดไฟรั่วได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้ไฟฟ้า สูงสุด 35