SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
บทที 2
                               เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง

         ในการศึกษาครั งนี ผู้ ศึกษาได้ศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง ดังนี
         1. เชือรา Trichoderma spp.
         2. หลั กการเพาะเชื อรา
         3. ข้าว
         4. การขยายเชื อสด
         10. งานวิจ ัยทีเกียวข้อง
จัดหน้าใหม่ด ้วยจ๊ะ ครู สุ
เชือราไตรโคเดอร์ ม่า
           เชื อราไตรโคเดอร์ มาเป็ นเชื อราชั นสูงทีดํารงชีวิตอยู่ในดินอาศัยเศษซากพืชซากสัตว์และ
อินทรี ยวั ตถุเป็ นแหล่งอาหารเจริ ญได้รวดเร็ วบนอาหารเลี ยงเชื อราหลายชนิ ดสร้างเส้ ขาวและ
                                                                                   นใยสี
ผลิตส่วนขยายพั นธุ์ทีเรี ยกว่า“โคนิเดีย” หรื อ“สปอร์” จํ านวนมากรวมเป็ นกลุ่มหนาแน่นจนเห็นเป็ น
สี เขี ยวเชื อราไตรโคเดอร์ มาเป็ นศัตรู (ปฏิปัก ษ์) ต่ อเชื อราสาเหตุ โ รคพืชหลายชนิ ด โดยวิธีก าร
เบียดเบียนหรื อเป็ นปรสิตและแข่งขันหรื อแย่งใช้อาหารทีเชื อโรคต้องการนอกจากนี เชื อราไตรโค
เดอร์ มายั งสามารถผลิตปฏิชีวนสารและสารพิษตลอดจนนํ าย่อยหรื อเอนไซม์สําหรับช่ว ยละลาย
ผนังเส้นใยของเชื อโรคพืชคุณสมบัติพิเศษของเชื อราไตรโคเดอร์มาคือสามารถช่วยละลายแร่ ธาตุให้
อยู่ในรู ปทีเป็ นประโยชน์ต่อพืชจึงช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืชและชักนําให้ต ้นพืชมีความ
ต้านทานต่อเชื อโรคพืชทั งเชื อราและแบคทีเรี ยสาเหตุโรค
          จากผลการดํ าเนินงานวิจ ัยตั งแต่พ
                                          .ศ.2528 ถึงปัจจุบันสามารถคัดเลือกเชื อราไตรโคเดอร์ มา
จากดิน ในธรรมชาติได้หลายสายพัน ธุ์โ ดยเฉพาะสายพัน ธุCB-Pin-01 มีประสิ ทธิภ าพสูงในการ
                                                             ์
ควบคุ มโรคของพืชเศรษฐกิ จต่างๆทั งพืชไร่ ไม้ผลพืชผั ก และไม้ดอกไม้ประดับหลายชนิ ด ได้ใน
สภาพแปลงเกษตรกรทั งโรคทีเกิ ดบนส่ วนของพืชที อยู่ใต้ดินเช่ นโรคเมล็ดเน่ าโรคเน่ าระดับดิ น
(โรคกล้ ายุบ) รากเน่าหัวหรื อแง่งเน่าและโคนเน่าเป็ นต้นโรคทีเกิดบนส่ วนของพืชทีอยู่เหนื อดินไม่
ว่าจะเป็ นส่วนของกิ งผลใบหรื อดอกเช่นโรคลํ าต้นไหม้ของหน่ อไม้ฝรั งโรคแคงเกอร์ ของมะนาว
โรคราดํ าของมะเขือเทศโรคใบปื นเหลืองและโรคดอกสนิ มของกล้วยไม้โรคแอนแทรคโนสของ
มะม่วงและพริ กทั งก่อนและหลังเก็บเกียวผลผลิตนอกจากนี ยั งสามารถใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มา
ควบคุมโรครากเน่าของพืชผั กสลั ดและผั กกิ างๆทีปลูกในสารละลายธาตุอาหาร (ระบบไฮโดร
                                            นใบต่
โพนิกส์) และจากผลการวิจ ัยล่าสุดพบว่าการแช่เมล็ดข้าวเปลือกก่อนใช้หว่านลงในนาข้าวช่วยลด
การเกิดโรคเมล็ดด่างเมล็ดลีบของข้าวทีเกิดจากการเข้าทํ าลายของเชื อราหลายชนิดตลอดจนช่วยเพิ ม
ความสมบูรณ์และนํ าหนักเมล็ดและเพิ มผลลิตต่อไร่ ได้ด ้วย
                                       ผ
         ผู้ วิจ ัยได้พ ั ฒนาชีวภัณฑ์เชื อราไตรโคเดอร์มาให้อยู่ในรู ปผงหัวเชื อบริ สุทธิ เพือให้เกษตรกร
สามารถผลิตขยายเชื อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดไว้ ใช้ได้เองตามต้องการด้วยการหุ งปลายข้าวให้สุก
ในหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าอัต ราปลายข้าว 3 ส่ ว นนํ า2 ส่ วนตัก ใส่ ถุงพลาสติก แล้วใส่ ผงหัวเชื อลงไป
เล็กน้อยบ่มไว้ 5-7 วั นก็สามารถนําเชื อสดไปใช้ได้ขณะนี ได้พ ัฒนาเชื อสดดังกล่าวให้เป็ นชีวภัณฑ์
ในรู ปนํ าและรู ปผงแห้งผสมนํ าเพือใช้พ่นส่ วนต่างๆของพืชและพ่นลงดินได้ผงหัวเชื อบริ สุทธิ นี มี
สปอร์ของเชื อราไตรโคเดอร์มาในปริ มาณไม่น้อยกว่า 100 ล้านหน่วยชีวิต (สปอร์) ต่อผงเชื อ 1 กรัม
สามารถเก็บรัก ษาได้เป็ นระยะเวลานานไม่น้อยกว่า 1 ปี ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็น (ประมาณ 8-10 องศา
เซลเซียส) แต่ถ ้ าเก็บทีอุณหภูมิในห้องปกติ (25-30 องศาเซลเซียส) สามารถเก็บไว้ ได้นาน6 เดือน
           การใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ดสดสามารถใช้ได้หลายวิธีตามโอกาสและความสะดวก
ของเกษตรกรเช่นใช้เชื อสดผสมกับรําข้าวละเอียดและปุ ๋ ยอินทรี ย ์ในสัดส่ วน   1:4:100 โดยนํ าหนัก
สําหรับใส่ หลุมปลูก อัต รา 10-20 กรัม (1-2 ช้อนแกง) คลุก เคล้ากับดิ นในหลุมปลูกพืชก่ อนการ
หยอดเมล็ดพืชหรื อหว่านลงแปลงปลูกด้วยอัตรา 50-100 กรัมต่ อตารางเมตรหรื อใช้ผสมรวมกับ
วั สดุปลูกสําหรับการเพาะกล้ าโดยใส่ส่วนผสมของเชื อสด ปุ ๋ ยอินทรี ย ์ ผสมร่ วมกับดินหรื อวั สดุปลูก
                                                       +
อั ตรา 1: 4 โดยปริ มาตร (20%) นําดินหรื อวัสดุปลูกทีผสมด้วยส่ วนผสมของเชื อสดแล้วใส่ กระบะ
เพาะเมล็ดถุงหรื อกระถางปลูกพืชกรณี ของการคลุกเมล็ดพืชก่อนปลูกสามารถใช้เชื อสดล้ วนๆอัตรา
10 กรัม (1 ช้อนแกง) ต่อเมล็ด 1 กิโลกรัมเติมนํ า10 ซีซีและถ้าต้องการเชื อสดในรู ปนํ าสามารถใช้
เชื อสดผสมนํ าในอั ตรา กรัมต่อนํ า20 ลิตรกรองนํ าเชื อด้วยผ้ าหรื อกระชอนตาถีจะได้เชื อชนิ ด
                         100
นํ าสําหรับใช้พ่นราดรดลงดินหรื อพ่นส่วนบนของต้นพืหรื อใช้ปล่อยไปพร้อมระบบการให้น ํ าใต้
                                                       ช
ทรงพุ่มของพืชและใช้แช่ส่วนขยายพันธุ์พืชเช่นเมล็ดหัวเหง้าแง่งท่อนพันธุ์ก็ได้สําหรับเชื อราไตร
โคเดอร์มาชนิ ดผงแห้งได้ท ําสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการประยุกต์ใช้ก ับบริ ษ ัทยูนิ
ซีดส์จ ํ ากัดไปแล้ ว


ทีมาhttp://www.rdi.ku.ac.th/kufair50/plant/68_plant/68_plant.html


2.เทคนิคการขยายเชือราไตรโคเดอร์ ม่า
เชื อราไตรโคเดอร์ มา (Trichoderma spp.) เป็ นเชื อราชั นสูงทีเจริ ญได้ดีในดินเศษซากพืช
ซากของสิ งมีชีวิตต่างๆและวัสดุอินทรี ย ์ตามธรรมชาติจ ัดเป็ นเชื อราปฏิปักษ์ทีสามารถใช้ควบคุม
โรคพืชซึ งเกิดจากเชื อราสาเหตุโรคพืชในดินได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นโรคโคนเน่ าโรคเน่ าระดับ
ดิน (เน่าคอดิน)ของกล้ าพืชและโรคเหียวในปัจจุบันมีการส่งเสริ มให้เกษตรกรได้รู้จ ักและใช้เชื อรา
ไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืชอย่างกว้ างขวางโดยเฉพาะยิ งในภาครัฐสถาบันส่งเสริ มเกษตรชีวภาพ
และโรงเรี ยนเกษตรกรซึ งเป็ นหน่วยงานในสังกัดของกรมส่ งเสริ มการเกษตรได้ท ําหน้าทีผลิตเชื อ
สดโดยการเลี ยงเชื อราไตรโคเดอร์ มาบนเมล็ด ข้างฟ่ างที ผ่านการนึ งฆ่ าเชื อแล้ว เพือเผยแพร่ สู่
เกษตรกรอย่างไรก็ตามการผลิตเชื อสดดังกล่าวนอกจากจะประสบปั ญหาการผลิตทีไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของเกษตรกรแล้ วยั งพบปัญหาทีเกียวกับการปนเปื อนของจุลินทรี ย ์ อืนๆการเก็บรักษา
เชื อสดไม่ได้น านและการเสื อมหรื อกลายพัน ธุ์ของเชื อราไตรโคเดอร์ มาส่ งผลให้คุ ณ ภาพและ
ประสิทธิภาพของเชื อด้อยลงสําหรับภาคเอกชนได้มีบริ ษ ัทเอกชนผลิตเชื อราไตรโคเดอร์ มาในรู ป
ชีวภัณฑ์ชนิดผงแห้งออกจํ าหน่ายแล้ วซึ งเพิ มความสะดวกในการใช้และการเก้บรักษาแต่ก็ย ั งคงพบ
ปัญหาความไม่สะดวกในการจัดซือและชีวภัณฑ์มีราคาค่อนข้างสูงเพือแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้ นทาง
โครงการพั ฒนาวิชาการ " การพั ฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้ชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์ มา" ซึ งเป็ น
โครงการความร่ วมมือระหว่างภาควิชาโรคพืชคณะเกษตรมหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์ และบริ ษ ัทยูนิ
ซีดส์จ ํ ากัดได้พ ั ฒนาเทคนิคการขยา เชื อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดโดยใช้หัวเชื อบริ สุทธิ ชนิดผงแห้ง
                                    ย
ขึ นจนประสบความสําเร็ จซึ งคาดว่าจะก่ อให้เกิ ด ประโยชน์ต่ อเกษตรกรอย่างมากต่ อไปเพราะ
เทคนิคทีพั ฒนานี จะช่วยให้เกษตรหรื อประชาชนทั วไปสามารถผลิตเชื อราไตรโคเดอร์มาไว้ใช้ควบ
คนุมเชื อราสาเหตุโรคพืชได้ด ้วยตนเองด้วยวิธีการง่ายๆประหยั ดค่าใช้จ่ายช่วยลดต้นทุนในการผลิต
พืชลดการใช้สารเคมีช่วยให้เกิด ความปลอดภัยจากผู้ผลิต ผู้ บริ โ ภคและสภาพแวดล้อมสามารถ
ตอบสนองต่อกระบวนการผลิตพืชแบบเกาตรอินทรี ย ์ ต่อไป

ขั นตอนและวิธีการผลิตเชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด

ในการผลิตเชื อรานั นวั สดุ
                         อาหารและหัวเชื อเป็ นปั จจัยทีสําคัญผลการวิจ ัยพบว่าปลายข้าวเป็ นวัสดุ
อาหารทีดีทีสุดหาซื อง่ายและราคาถูกส่วนหัวเชื อไตรโคเดอร์มาทางโครงการได้พ ัฒนาให้อยู่ในรู ป
ผงแห้งซึ งสะดวกในการใช้และเก็บรักษา
หัวเชื อราไตรโคเดอร์ มาบริ สุทธิ : คือเชื อราไตรโคเดอร์ มาสายพันธุCB-Pin-01 ทีดีทีสุ ด จากการ
                                                                    ์
คัดเลือกเก็บในวัสดุอินทรี ย ์ทีปราศจากจุลินทรี ย ์ปนเปื อนทุกชนิ ด สามารถเก็บรัก ษาได้เป็ นระยะ
เวลานานและสะดวกต่อการนําไปใช้เพือขยายหรื อเพิ มปริ มาณเชื อ
วิธีเก็บ รักษาหัวเชื อ : เก็บไว้ในตู้เย็น ( ประมาณ8-10 องศาเซลเซียส ) สามารถมีชีวิตอยู่ได้นาน
ประมาณ1 ปี ถ้ าเก็บทีอุณหภูมิในห้องปกติสามารถเก็บไว้ ได้นาน เดือน
                                                             6
วัตถุประสงค์ เพือให้เกษตรกรและผู้ สนใจสามารถขยายปริ มาณเชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ดสดไว้
ใช้ได้เองตามต้องการช่วยประหยั ดค่าใช้จ่ายและสะดวกต่อการนําไปใช้

วิธีการขยายเชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด

       1. ใช้ปลายข้าวหรื อข้าวสาร3 แก้ว (1แก้วมีความจุประมาณ250 ซีซี )ประมาร600 กรัมใส่
       นํ าเปล่าสะอาด แก้วหรื อประมาณ0.5ลิตรหุ งด้วยหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าเมือสุ กแล้วจะได้ข ้าว
                        2
       สุก (ประมาณ1 กิโลกรัม)
       2. ตักข้ามทีหุงสุกใหม่ๆใส่ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด8*12นิ วถุงละ2แก้วนํ า(ประมาร250-
       300 กรัม )รี ดอากาศออกจากถุงแล้วพับปากถุงไว้รอให้ข ้าวอุ่นหรื อเก็บเย็นจึงเทหัวเชื อรา
       ไตรโคเดอร์มาใส่ลงในถุงพลาสติก (หัวเชื อราไตรโคเดอร์มา1 ขวดบรรจุ 20 กรัมใส่ ในข้าว
       สุกได้จ ํ านวน16 ถุงรวมทั งหมด4 กิโลกรัม )
       3. หลั งใส่หัวเชื อราไตรโคเดอร์มาแล้ วมั ดปากถุด ้วยหนังยางให้แน่ น (มัดให้สุดปลายถุง)
                                                        ง
       เขย่าหรื อขยํ าเบาๆให้หัวเชื อคลุกเค้ากับข้าวสุ กทั วทั งถุงใช้ปลายเข็มเจาะถุงพลาสติกใต้
       หนังยางที มัดเล็กน้อยประมาณ15-20 จุด ต่อถุง (เพือให้มีอากาศถ่ายเทเหมาะสมต่ อการ
       เจริ ญของเชื อราไตรโคเดอร์มา) แล้ วแผ่ข ้าวสุกให้แบนราบ
       4. บ่มเชื อไว้ ในทีมีอากาศถ่ายเทมีแสงสว่างส่องถึงไม่ตากแดดปลอดภัยจากมดไรและสัตว์
       อืนๆเมือครบ2 วันขยํ าถุงเบาๆเพือให้เส้นใยของเชื อกระจายทั วทั งถุงบ่มถุงเชื อต่ออี4-5   ก
       วั นก่อนนําไปใช้เมือบ่มเชื อครบ7 วันแล้วถ้ายั งไม่ใช้ต ้องเก็บถุงเชื อไว้ในตู้เย็นแต่ไม่ควร
       เก็บไว้ นานเกิน15 วั น
       คําแนะนํา : ในการบ่ มเชื อถ้าวางถุงเชื อในทีมีแสงสว่างน้อยควรเพิ มแสงด้ว ยการติ ดตั ง
       หลอดฟลูออเรสเซนต์(หลอดนีออน) ช่วยโดยให้แสงสว่างนาน12 ชั งโมง/วันหรื อตลอด24
       ชั วโมงเพือกระตุ ้นการสร้างสปอร์ของเชื อเชื อทีขึ นดีจะมีสีเขียวเข้ม
       คําเตือน : ต้องขยายเชื อโดยใช้หัว เชื อบริ สุทธิ เท่ านั นไม่ค วรต่ อเชื อจากเชื อทีขยายแล้ว
       เพราะจะทํ าให้เกิดการปนเปื อนเชื อจุลินทรี ย ์ชนิ ดอืนและเชื อทีขยายต่อจะมีประสิ ทธิภาพ
       ในการควบคุมโรคพืชลดลง

        วิธีการใช้ เชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด
การใช้ราไตรโคเดอร์มาชนิดสดผสมกับปุ ๋ ยอิ ย ์ นทรี
ใช้เชื อสดผสมกับรําข้าวละเอียดและปุ ๋ ยอินทรี(ปุ์ ๋ ยหมักปุ ๋ ยคอกเก่าในอัตราส่ วน1:4:100
                                                 ย      /            )
โดยนํ าหนักโดย
- เติมรําข้าวเล็กน้อยลงไปในถุงเชื อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดคลุกเคล้ าและบีบให้เชื อทีเกาะ
เป็ นก้อนแตกออกต่อจากนั นจึงเทเชื อทีคลุกรําข้าวแล้วผสมกับรําข้าวทีหลือให้ครบตาม
                                                                          เ
จํ านวนแล้ วคลุกให้เข้ากันอีกครั ง
- นําหัวเชื อสดทีผสมกับรําข้าว ตราส่วน1:4โดยนํ าหนัก ผสมกับปุ ๋ ยคอกหรื อปุ ๋ ยหมั ก
                               (อั                        )                           100
กิโลกรัมคลุกเคล้ าจนเข้ากันอย่างทั วถึงอาจพรมนํ าพอชื นเพือลดการฟุ ้ งกระจาย
เมือได้ส่วนผสมของเชื อสดกับปุ ๋ ยอินทรี ย ์ แล้ วสามารถนําไปใช้ด ้วยวิธีการดังต่อไปนี
1. การผสมกับวั สดุปลูกสําหรับการเพาะกล้ าในกระบะเพาะเมล็ดหรื อถุงเพาะชํ า
ใส่ ส่วนผสมของเชื อสดผสมดินปลูกอัตรา1:4 โดยปริ มาตร(20%)นําดินปลูก ทีผสมด้ว ย
ส่วนผสมของเชื อสดแล้ วใส่กระบะเพาะเมล็ดถุงหรื อกระถางปลูก
2. การใส่หลุมปลูกพืช
- ใช้ส่วนผสมของเชื อสดอั ตรา10-20กรัม(1-2ช้อนแกง) ต่อหลุมโรยในหลุมก่อนการหยอด
เมล็ดพืช
- ใช้ส่วนผสมของเชื อสดอั ตรา10-20กรัมคลุกเคล้ากับดินในหลุมปลูกพืชถ้าหลุมใหญ่อาจ
ใช้50-100กรัม/หลุม
3. การใช้เชื อหว่านในแปลงปลูก
หว่านส่ วนผสมเชื อสดลงบนแปลงปลูกก่ อนการปลูก พืชด้วยอัต รา50-100กรั มต่อตาราง
เมตรหว่านส่ วนผสมเชื อสดลงบนแปลงปลูกขณะทีพืชกําลังเจริ ญเติบโตและกําลังมีโรค
ระบาดด้วยอั ตรา50-100ต่อตารางเมตร
4. การใช้เชื อหว่านใต้ทรงพุ่มหรื อโรยโคนต้นพืช
หว่านส่ วนผสมเชื อสดทั วบริ เวณใต้ทรงพุ่มจนถึงรอบชายพุ่มอัตรา50-100กรั มต่อตาราง
เมตรหรื อโรยส่ ว นผสมเชื อสดบริ เวณโคนต้นพืชกรณี ทีเกิด โรคโคนเน่ าด้ว ยอัตรา10-20
กรัมต่อต้น
การใช้ เชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดคลุกเมล็ดพืช
ใส่เชื อสดลงในถุงพลาสติกทีจะใช้คลุกเมล็ดอั ตรา 0 กรัม (1ช้อนแกง) ต่อเมล็ด1 กิโลกรัม
                                                   1
เติมนํ า 0 ซีซีบีบเชื อสดให้แตกตัวเทเมล็ด1 กิโลกรัมลงในถุงแล้วเขย่าให้เชื อสดคลุกเคล้า
        1
จนติดผิวเมล็ดนําเมล็ดออกผึ งลมให้แห้งหรื อใช้ปลูกได้ทันที
การใช้ เชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดผสมกับนํา
ในกรณี ทีไม่สะดวกในการจัดหาปุ ๋ ยหมักปุ ๋ ยคอกและรําข้าวหรื อกรณี ทีต้องกา เชื อรา
                                                                            รใส่
ไตรโคเดอร์มาลงดินโดยไม่ประสงค์จะใส่ปุ ๋ ยอินทรี ย ์และรําข้าวลงไปในดินด้วยเนื องจาก
ไม่อยู่ในช่วงทีเหมาะสมสําหรับการใช้ปุ ๋ ยอินทรี ย ์ สามารถใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ดสด
ทีเตรี ยมไว้ผสมกับนํ าในอัตรา00 กรัมต่อนํ า 0 ลิตรหรื อ250 กรัม(เชื อสด1 ถุง)ต่อนํ า 0
                                  1              2                                   5
ลิตรใช้น ํ าเชื อที เตรี ยมได้ฉี ดพ่นลงดิ นด้วยอัต รา0-20 ลิตรต่อ100 ตารางเมตรสําหรั บ
                                                     1
ขั นตอนการใช้เชื อสดผสมนํ ามีด ังนี
1. นําเชื อสดมา1 ถุง(250กรัม) เติมนํ าลงไปในถุง 00มิลลิลิตร(ซีซี)หรื อพอท่วมตัวเชื อแล้ว
                                                   3
ขยํ าเนื อข้าวให้แตกออกจนได้น ํ าเชื อสีเขียวเข้ม
2. กรองนํ าเชื วยผ้ าหรื อกระชอนตาถีล้ างกากทีเหลือบนกระชอนด้วยนํ าอีกจํานวนหนึ ง
                อด้
จนเชื อหลุดจากเมล็ดข้าวหมดเติมนํ าให้ครบ0 ลิตรก่อนนําไปใช้
                                               5
1. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในกระบะเพาะกล้ ากระถางหรื อถุงปลูกพืช
1.1 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนกระบะเพาะหลังจาดหยอดเมล็ดแล้วหรื อในระหว่างทีต้ า       นกล้
กํ าลั งเจริ ญเติบโตโดยฉีดให้ดินเปี ยกฉุ่ม
1.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในถุงหรื อกระถางปลูกพืชตั งแต่เริ มปลูกหรื อในระหว่างทีพืชกําลัง
เจริ ญเติบโตโดยฉีดให้ดินเปี ยกชุ่ม
2. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในหลุมปลูกพืช
2.1 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในหลุมปลูกพืชหลั งจากเพาะเมล็ดแล้ วโด ดพ่นให้ดินเปี ยกชื น
                                                                 ยฉี
2.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในหลุมปลูกพืชหลั งย้ ายพืชลงปลูกแล้ วโดยฉีดให้ดินเปี ยกชื น
3. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนแปลงปลูกพืช
3.1 ฉี ดพ่น นํ าเชื อสดลงบนแปลงพืชหลังจากหว่านเมล็ดและคลุมแปลงด้วยฟางแล้วใน
อั ตรา10-20 ลิตร/100 ตารางเมตรและให้น ํ าแก่พืช นที ทั
3.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนแปลงปลูกอัตรา0-20 ลิตร/100ตารางเมตรก่อนคลุมแปลงด้วย
                                             1
พลาสติกดํ า
3.3 กรณี ทีพืชกํ าลั งเจริ ญเติบโตอยู่ให้ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนแปลงในอัตรา ลิตร/100
                                                                        10-20
ตารางเมตร
4. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดโคนต้นพืชและใต้ทรงพุ่ม
4.1 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงตรง คนต้นพืชและบนดินบริ เวณรอบโคนต้นพืชโดยให้ผิวดินเปี ยก
                              โ
ชื น
4.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนดินใต้บริ เวณใต้ทรงพุ่มและขอบชายพุ่มให้ดินพอเปี ยกชื น
คํ าเตือน : - ควรฉีดพ่นในเวลาแดดอ่อนหรื อเวลาเย็นกรณี ทีบริ เวณทีฉี ดพ่นไม่มีร่มเงาจาก
        พืชเลย
        - ถ้าดินบริ เวณทีจะฉี ดพ่นเชื อแห้งมากควรให้น ํ าพอให้ดินมีความชื นเสี ยก่อนหรื อให้น ํ า
        ทันทีหลั งฉีดพ่นเพือให้น ํ าพอเชื อซึมลงดิน
        ขณะนี ทางโครงการได้ถ่ายทอดเทคนิ คการผลิตหัว เชื อราไตรโคเดอร์ มาบริ สุทธิ ชนิ ดผง
        แห้งให้ก ับบริ ษ ัทยูนิซีดส์จ ํากัดเพือดําเนิ นการผลิตจําหน่ ายแล้วทางโครงการได้รับความ
        อนุเคราะห์จากสถาบันวิจ ัยและพั ฒนาแห่งมหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์ ในการดําเนิ นการยืน
        คํ าขอรับอนุสิทธิบัตรเรื อง"กรรมวิธีผลิตขยายเชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดโดยใช้ หัวเชือ
        บริสุทธิ ชนิดแห้ ง" จากกรมทรัพย์สินทางปั ญญาโดยบริ ษ ัทยูนิซีดย์จ ํากัดเป็ นผู้ สนับสนุ น
        ค่าใช้จ่ายในการดํ าเนินการนอกจากนี ทางผู้ วิจ ัยได้จ ักพิมพ์เอกสารวิชาการเรื อง การผลิต
                                                                                      "
        และการใช้ เชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ด สด" เรี ยบร้ อ ยแล้ว โดยได้รั บ การสนั บ สนุ น
        งบประมาณจากโครงการเกษตรกู้ชาติ(ปี 2544) ผู้ สนใจเอกสารดังกล่าวสามารถติดต่อขอรับ
        ได้ทีผศ.ดร.จิระเดชแจ่มสว่างภาควิชาโรคพืชคณะเกษตรวิยาเขตกํ าแพงแสน




                                              หลั งบ่มเชื อนาน6-7 วั นจะเห็นเชื อสี เขียวปกคลุม
ใส่หัวเชื อไตรโคเดอร์มาในปลายข้าวทีหุงสุกแล้ วเ      ม        ล็      ด      ข้         า    ว
                                              นําไปใช้ทันทีหรื อแช่ในตู้เย็นธรรมดา




ฉีดพ่นนํ าเชื อสดในกระถางปลูกพืชหรื อโคนต้นหว่านส่วนผสมเชื อสดลงบนแปลงปลูกพืชขณะที
พืชทีกํ าลั งเจริ ญเติบโต                  พืชกํ าลั งเจริ ญเติบโต
ประโยชน์ ของเชือราไตรโคเดอร์ มา
1. ช่วยลดกิจกรรมของเชื อโรคพืชได้
ยั บยั งและทํ าลายการงอกของสปอร์
แข่งขันการใช้อาหารเพือการเจริ ญของเส้นใยเชื อโรคพืช
รบกวนกิจกรรมต่างๆของเชื อโรคทํ าให้ความรุ นแรงลดลง
2. ช่วยลดปริ มาณเชื อโรคพืช
ทํ าลายเส้นใยของเชื อราสาเหตุโรคพืชโดยการพั นรัดและแทง
ทํ าลายโครงสร้างทีเชื อโรคสร้างขึ นสําหรับการขยายพั นธุ์
ทํ าลายโครงสร้างทีเชื อโรคพืชสร้างขึ นเพืออยู่ข ้ามฤดูกาล
3. ช่วยเพิ มการเจริ ญเติบโตและเพิ มผลผลิตของพืช
เชื อราไตรโคเดอร์มาป้ องกันระบบรากพืชจากการเข้าทําลายของเชื อราสาเหตุโรคพืชทําให้ระบบ
รากพืชสมบูรณ์แข็งแรงเชื อราไตรโคเดอร์มาผลิตสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชได้
เชื อราไตรโคเดอร์มาช่วยให้เมล็ดงอกและเจริ ญเติบโตดี
4. ช่วยเพิ มความต้านทานโรคของพืช
กระตุ ้นให้เกิดความต้านทานโรคขึ นภายในพืช
พืชทีมีระบบรากดีเจริ ญเติบโตดีแข็งแรงจึงต้านทานโรคได้ดีขึ น
ทีมา
เ ก ร็ ด ค ว า ม รู้ เ กี ย ว กั บ เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า
1. ปริ มาณเชื อราไตรโคเดอร์มาในดินมีหน่วยวั ดเป็ นหน่วยโคโลนี / กรัมเช่นตรวจพบเชื อราไตรโค
เดอร์มาในดิน105 หน่วยโคโลนี / กรัมหมายความว่าในดินหนัก1 กรัมมีปริ มาณเชื อราไตรโคเดอร์
ม า อ ยู่ 100,000                ห น่ ว ย ชี วิ ต ( ส ป อ ร์ ) ที จ ะ เ จ ริ ญ เ ป็ น เ ส้ น ใ ย ไ ด้
2. เชื อราไตรโคเดอร์ มาทีใส่ ลงดินแล้วจะมีชีวิตอยู่รอดได้นานหรื อไม่ขึ นอยู่ก ับสภาพของดินดิน
ร่ วนซุยดีมีอินทรี ย ์ว ัตถุสูงมีใบไม้/เศษพืชปกคลุมดิ นเสมอเชื อราไตรโคเดอร์ มาจะอยู่รอดโดยมี
ป ริ ม า ณ สู ง ไ ด้ น า น 6                                เ ดื อ น ถึ ง 1                            ปี
3. เชื อราไตรโคเดอร์มาอยู่ได้ในดินลึกกว่า30 เซนติเมตรจากผิวดินแต่จะเจริ ญสร้างเส้นใยเพือต่อสู้
กั บ เ ชื อ โ ร ค พื ช ไ ด้ ดี ใ น ค ว า ม ลึ ก ช่ ว ง 5 -     10       เ ซ น ติ เ ม ต ร จ า ก ผิ ว ดิ น
4. การใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มาติดต่อกันนานหลายปี ไม่ท ําให้เชื อโรคพืชเกิดความต้านทานได้แต่
ก ลั บ เ ป็ น ผ ล ดี คื อ จ ะ ช่ ว ย ป้ อ ง กั น โ ร ค พื ช ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื อ ง
5. การใช้เชื อราไตรโคเดอร์มาเพียง1 สายพั นธุ์ไม่ได้หมายความว่าจะมีประสิทธิภาพด้อยกว่าการใช้
เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า ห ล า ย ส า ย พั น ธุ์ ร่ ว ม กั น
6. เชื อราไตรโคเดอร์ มาไม่ เ ป็ นอัน ตรายต่ อ มนุ ษ ย์สั ต ว์พื ช ที ปลู ก และสภาพแวดล้อ ม
7. การต่อเชื อไตรโคเดอร์ มาบ่อยๆอาจเกิดเชื อกลายพัน ธุ์ทีเจริ ญได้ไม่ดี สร้างเส้นใยแต่ ไม่สร้าง
ส ป อ ร์ สี เ ขี ย ว แ ล ะ ไ ม่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ค ว บ คุ ม โ ร ค ไ ด้
8. กรณี ทีพืชแสดงอาการของโรคขั นรุ นแรงควรใช้สารเคมีเช่นเมทาแลกซิลโฟซีทิลอัล(อาลีเอท )
กรดฟอสโฟนิค ( โฟลีอาร์ ฟอส ) แมนโคเซบฯร่ วมด้วยได้ถ ้าจะใช้สารกลุ่มเบโนมิลหรื อคาร์ เบน
ด า ซิ ม ค ว ร ใ ช้ ก่ อ น ห รื อ ห ลั ง ใ ส่ เ ชื อ ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า 7                     วั น
9. สามารถใช้สารเคมีควบคุมแมลงศั ตรู พืชสารกํ าจัดวั ชพืชและปุ ๋ ยเคมีได้ตามปกติในระหว่างการใช้
เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า แ ต่ ห้ า ม ผ ส ม เ ชื อ กั บ ส า ร เ ค มี
10. ถ้ าดินปลูกพืชเป็ นกรดจัดคือค่าพีเอชตํ า( 3.5-4.5 ) จํ าเป็ นต้องปรับค่าพีเอสให้มีค่าอยู่ระหว่าง .5
                                                                                                   5
-                6.5               ก่ อ น ก า ร ใ ช้ เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า
11. เชื อราไตรโคเดอร์มาพบได้ในดินเกษตรกรรมทั งไปแต่ไม่ได้หมายความว่าทุกเชื อหรื อทุกสาย
พั นธุ์นั นจะมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ต ้องผ่านการวิจ ัยทดสอบเสียก่อน
ทีมา
3.ข้ าวเจ้า




ชื อ พั น ธุ์ ก ข 5                                                                   (RD5)
ช             นิ          ด          ข้        า          ว         เ            จ้        า
คู่ ผ ส ม พ ว ง น า ค 16                                 /                     ซิ ก า ดิ ส
ประวั ติพ ั นธุ์ได้จากการผสมพั นธุ์ระหว่ นธุ์พวงนาค 16 ของไทยกับพั นธุ์ซิกาดิส ของอินโดนีเซีย
                                      างพั
ได้ผสมพันธุ์และคัดพันธุ์แบบสื บตระกูลทีสถานี ทดลองข้าวบางเขน เมือปี พ.ศ.2508 จนได้สาย
พั                    น                  ธุ์                                 BKN6517-9-2-2
การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็ นพันธุ์รับรองเมือวันที2 เมษายน
2516
ลักษณะประจําพัน ธุ์เป็ นข้าวเจ้าต้น สูง สูงประมาณ145 เซนติเมตรเป็ นพันธุ์ข ้าวไวต่อช่ วงแสง
เล็กน้อย เหมาะทีจะปลูกเป็ นข้าวนาปี ถ้ าปลูกตามฤดูกาลจะเก็บเกียวได้ปลายเดือนพฤศจิกายน แต่
ถ้ าปลูกในฤดูนาปรังหรื อไม่ปลูกตามฤดูกาล อายุจะอยู่ระหว่าง140-160 วัน ทั งนี ขึ ่ก ับเดือนที
                                                                                นอยู
ลําต้น สี ม่ว ง มีร วงยาว ต้น แข็งไม่ล ้มง่ ายปลูก ระยะพัก ตัว ของเมล็ด ประมาณ 6 สัป ดาห์เมล็ด
ข้ า ว เ ป ลื อ ก สี ฟ า ง ก้ น จุ ด ท้ อ ง ไ ข่ น้ อ ย

4.                                                    ข้    า     ว     เ    ห      นี    ย     ว




ชื อ พั น ธุ์ ก ข 6                                                                          (RD6)
ช           นิ        ด           ข้      า      ว          เ        ห      นี          ย         ว
ประวั ติพ ั นธุ์ได้จากการปรับปรุ งพั นธุ์ โดยการใช้รังสีชักนําให้เกิดการกลายพั นธุ์ โดยใช้รังสี แกมมา
ปริ มาณ 20 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข ้าวขาวดอกมะลิ 105 แล้วนํามาปลูกคัดเลือกทีสถานี ทดลอง
ข้าวบางเขนและสถานีทดลองข้าวพิมาย จากการคัดเลือกได้ข ้าวเหนียวหลายสายพันธุ์ในข้าวชั วที            2
นําไปปลูกคัดเลือกจนอยู่ต ัวได้สายพั นธุ์ทีให้ผลผลิตสูงสุดคือ สายพั นKDML105'65-G2U-68-254
                                                                        ธุ์
นับว่าเป็ นข้าวพัน ธุ์ดี พ ันธุ์แรกของประเทศไทย ทีค้น คว้าได้โ ดยใช้วิธีชัก นําพัน ธุ์พืชให้เปลียน
ก ร ร ม พั น ธุ์ โ ด ย ใ ช้ รั ง สี
การรับรองพั นธุ์คณะกรรมการวิจ ัยและพั ฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็ นพั นธุ์รับรอง เมือวันที
4                                                พ ฤ ษ ภ า ค ม                                2520
ลักษณะประจําพันธุ์เป็ นข้าวเหนี ยว สู งประมาณ 154 เซนติเมตรไวต่อช่ว งแสงทรงกอกระจาย
เล็กน้อย ใบยาวสีเขียวเข้ม ใบธงตั ง เมล็ดยาวเ ยวเมล็ดข้าวเปลือกสีน ํ าตาลอายุเก็บเกียวประมาณ21
                                              รี
พ ฤ ศ จิ ก า ย น ร ะ ย ะ พั ก ตั ว ข อ ง เ ม ล็ ด ป ร ะ ม า ณ 5                        สั ป ด า ห์

5. ข้ าวกล้อง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
varut
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
chunkidtid
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
Duangsuwun Lasadang
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
varut
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
Benjamart2534
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดา
ruksuda
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
Benz Paengpipat
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
nmhq
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
 

La actualidad más candente (20)

แผ่นพับข้าวอินทรีย์
แผ่นพับข้าวอินทรีย์แผ่นพับข้าวอินทรีย์
แผ่นพับข้าวอินทรีย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดา
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
natchuda
natchudanatchuda
natchuda
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
 

Destacado

2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
kasetpcc
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
kasetpcc
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
kasetpcc
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
Aphinya Tantikhom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Destacado (9)

2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
 
1 ปก
1 ปก1 ปก
1 ปก
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 

Similar a บทที่ 2ปรับปรุง

โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
Weeraphon Parawach
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
dnavaroj
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
chompoo28
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
KaRn Tik Tok
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
0636830815
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
Ploy Benjawan
 
การเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุมการเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุม
Tonggii Ozaka
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
daiideah102
 
The use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceThe use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of rice
worachak11
 

Similar a บทที่ 2ปรับปรุง (20)

การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
การเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุมการเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุม
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
File
FileFile
File
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
The use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of riceThe use of biological materials in the production of rice
The use of biological materials in the production of rice
 
นำเสนอผักชี
นำเสนอผักชีนำเสนอผักชี
นำเสนอผักชี
 
Mycom
MycomMycom
Mycom
 

Más de kasetpcc

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
kasetpcc
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
kasetpcc
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
kasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
kasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
kasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
kasetpcc
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
kasetpcc
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
kasetpcc
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
kasetpcc
 
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
kasetpcc
 
การทดสอบน้ำมันไบโอดีเซล
การทดสอบน้ำมันไบโอดีเซลการทดสอบน้ำมันไบโอดีเซล
การทดสอบน้ำมันไบโอดีเซล
kasetpcc
 
การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
kasetpcc
 

Más de kasetpcc (20)

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
Inno
InnoInno
Inno
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
 
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
 
การทดสอบน้ำมันไบโอดีเซล
การทดสอบน้ำมันไบโอดีเซลการทดสอบน้ำมันไบโอดีเซล
การทดสอบน้ำมันไบโอดีเซล
 
การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
 
Ss6
Ss6Ss6
Ss6
 
Ss2
Ss2Ss2
Ss2
 
Ss7
Ss7Ss7
Ss7
 

บทที่ 2ปรับปรุง

  • 1. บทที 2 เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง ในการศึกษาครั งนี ผู้ ศึกษาได้ศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง ดังนี 1. เชือรา Trichoderma spp. 2. หลั กการเพาะเชื อรา 3. ข้าว 4. การขยายเชื อสด 10. งานวิจ ัยทีเกียวข้อง จัดหน้าใหม่ด ้วยจ๊ะ ครู สุ เชือราไตรโคเดอร์ ม่า เชื อราไตรโคเดอร์ มาเป็ นเชื อราชั นสูงทีดํารงชีวิตอยู่ในดินอาศัยเศษซากพืชซากสัตว์และ อินทรี ยวั ตถุเป็ นแหล่งอาหารเจริ ญได้รวดเร็ วบนอาหารเลี ยงเชื อราหลายชนิ ดสร้างเส้ ขาวและ นใยสี ผลิตส่วนขยายพั นธุ์ทีเรี ยกว่า“โคนิเดีย” หรื อ“สปอร์” จํ านวนมากรวมเป็ นกลุ่มหนาแน่นจนเห็นเป็ น สี เขี ยวเชื อราไตรโคเดอร์ มาเป็ นศัตรู (ปฏิปัก ษ์) ต่ อเชื อราสาเหตุ โ รคพืชหลายชนิ ด โดยวิธีก าร เบียดเบียนหรื อเป็ นปรสิตและแข่งขันหรื อแย่งใช้อาหารทีเชื อโรคต้องการนอกจากนี เชื อราไตรโค เดอร์ มายั งสามารถผลิตปฏิชีวนสารและสารพิษตลอดจนนํ าย่อยหรื อเอนไซม์สําหรับช่ว ยละลาย ผนังเส้นใยของเชื อโรคพืชคุณสมบัติพิเศษของเชื อราไตรโคเดอร์มาคือสามารถช่วยละลายแร่ ธาตุให้ อยู่ในรู ปทีเป็ นประโยชน์ต่อพืชจึงช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืชและชักนําให้ต ้นพืชมีความ ต้านทานต่อเชื อโรคพืชทั งเชื อราและแบคทีเรี ยสาเหตุโรค จากผลการดํ าเนินงานวิจ ัยตั งแต่พ .ศ.2528 ถึงปัจจุบันสามารถคัดเลือกเชื อราไตรโคเดอร์ มา จากดิน ในธรรมชาติได้หลายสายพัน ธุ์โ ดยเฉพาะสายพัน ธุCB-Pin-01 มีประสิ ทธิภ าพสูงในการ ์ ควบคุ มโรคของพืชเศรษฐกิ จต่างๆทั งพืชไร่ ไม้ผลพืชผั ก และไม้ดอกไม้ประดับหลายชนิ ด ได้ใน สภาพแปลงเกษตรกรทั งโรคทีเกิ ดบนส่ วนของพืชที อยู่ใต้ดินเช่ นโรคเมล็ดเน่ าโรคเน่ าระดับดิ น (โรคกล้ ายุบ) รากเน่าหัวหรื อแง่งเน่าและโคนเน่าเป็ นต้นโรคทีเกิดบนส่ วนของพืชทีอยู่เหนื อดินไม่ ว่าจะเป็ นส่วนของกิ งผลใบหรื อดอกเช่นโรคลํ าต้นไหม้ของหน่ อไม้ฝรั งโรคแคงเกอร์ ของมะนาว โรคราดํ าของมะเขือเทศโรคใบปื นเหลืองและโรคดอกสนิ มของกล้วยไม้โรคแอนแทรคโนสของ มะม่วงและพริ กทั งก่อนและหลังเก็บเกียวผลผลิตนอกจากนี ยั งสามารถใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มา ควบคุมโรครากเน่าของพืชผั กสลั ดและผั กกิ างๆทีปลูกในสารละลายธาตุอาหาร (ระบบไฮโดร นใบต่
  • 2. โพนิกส์) และจากผลการวิจ ัยล่าสุดพบว่าการแช่เมล็ดข้าวเปลือกก่อนใช้หว่านลงในนาข้าวช่วยลด การเกิดโรคเมล็ดด่างเมล็ดลีบของข้าวทีเกิดจากการเข้าทํ าลายของเชื อราหลายชนิดตลอดจนช่วยเพิ ม ความสมบูรณ์และนํ าหนักเมล็ดและเพิ มผลลิตต่อไร่ ได้ด ้วย ผ ผู้ วิจ ัยได้พ ั ฒนาชีวภัณฑ์เชื อราไตรโคเดอร์มาให้อยู่ในรู ปผงหัวเชื อบริ สุทธิ เพือให้เกษตรกร สามารถผลิตขยายเชื อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดไว้ ใช้ได้เองตามต้องการด้วยการหุ งปลายข้าวให้สุก ในหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าอัต ราปลายข้าว 3 ส่ ว นนํ า2 ส่ วนตัก ใส่ ถุงพลาสติก แล้วใส่ ผงหัวเชื อลงไป เล็กน้อยบ่มไว้ 5-7 วั นก็สามารถนําเชื อสดไปใช้ได้ขณะนี ได้พ ัฒนาเชื อสดดังกล่าวให้เป็ นชีวภัณฑ์ ในรู ปนํ าและรู ปผงแห้งผสมนํ าเพือใช้พ่นส่ วนต่างๆของพืชและพ่นลงดินได้ผงหัวเชื อบริ สุทธิ นี มี สปอร์ของเชื อราไตรโคเดอร์มาในปริ มาณไม่น้อยกว่า 100 ล้านหน่วยชีวิต (สปอร์) ต่อผงเชื อ 1 กรัม สามารถเก็บรัก ษาได้เป็ นระยะเวลานานไม่น้อยกว่า 1 ปี ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็น (ประมาณ 8-10 องศา เซลเซียส) แต่ถ ้ าเก็บทีอุณหภูมิในห้องปกติ (25-30 องศาเซลเซียส) สามารถเก็บไว้ ได้นาน6 เดือน การใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ดสดสามารถใช้ได้หลายวิธีตามโอกาสและความสะดวก ของเกษตรกรเช่นใช้เชื อสดผสมกับรําข้าวละเอียดและปุ ๋ ยอินทรี ย ์ในสัดส่ วน 1:4:100 โดยนํ าหนัก สําหรับใส่ หลุมปลูก อัต รา 10-20 กรัม (1-2 ช้อนแกง) คลุก เคล้ากับดิ นในหลุมปลูกพืชก่ อนการ หยอดเมล็ดพืชหรื อหว่านลงแปลงปลูกด้วยอัตรา 50-100 กรัมต่ อตารางเมตรหรื อใช้ผสมรวมกับ วั สดุปลูกสําหรับการเพาะกล้ าโดยใส่ส่วนผสมของเชื อสด ปุ ๋ ยอินทรี ย ์ ผสมร่ วมกับดินหรื อวั สดุปลูก + อั ตรา 1: 4 โดยปริ มาตร (20%) นําดินหรื อวัสดุปลูกทีผสมด้วยส่ วนผสมของเชื อสดแล้วใส่ กระบะ เพาะเมล็ดถุงหรื อกระถางปลูกพืชกรณี ของการคลุกเมล็ดพืชก่อนปลูกสามารถใช้เชื อสดล้ วนๆอัตรา 10 กรัม (1 ช้อนแกง) ต่อเมล็ด 1 กิโลกรัมเติมนํ า10 ซีซีและถ้าต้องการเชื อสดในรู ปนํ าสามารถใช้ เชื อสดผสมนํ าในอั ตรา กรัมต่อนํ า20 ลิตรกรองนํ าเชื อด้วยผ้ าหรื อกระชอนตาถีจะได้เชื อชนิ ด 100 นํ าสําหรับใช้พ่นราดรดลงดินหรื อพ่นส่วนบนของต้นพืหรื อใช้ปล่อยไปพร้อมระบบการให้น ํ าใต้ ช ทรงพุ่มของพืชและใช้แช่ส่วนขยายพันธุ์พืชเช่นเมล็ดหัวเหง้าแง่งท่อนพันธุ์ก็ได้สําหรับเชื อราไตร โคเดอร์มาชนิ ดผงแห้งได้ท ําสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการประยุกต์ใช้ก ับบริ ษ ัทยูนิ ซีดส์จ ํ ากัดไปแล้ ว ทีมาhttp://www.rdi.ku.ac.th/kufair50/plant/68_plant/68_plant.html 2.เทคนิคการขยายเชือราไตรโคเดอร์ ม่า
  • 3. เชื อราไตรโคเดอร์ มา (Trichoderma spp.) เป็ นเชื อราชั นสูงทีเจริ ญได้ดีในดินเศษซากพืช ซากของสิ งมีชีวิตต่างๆและวัสดุอินทรี ย ์ตามธรรมชาติจ ัดเป็ นเชื อราปฏิปักษ์ทีสามารถใช้ควบคุม โรคพืชซึ งเกิดจากเชื อราสาเหตุโรคพืชในดินได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นโรคโคนเน่ าโรคเน่ าระดับ ดิน (เน่าคอดิน)ของกล้ าพืชและโรคเหียวในปัจจุบันมีการส่งเสริ มให้เกษตรกรได้รู้จ ักและใช้เชื อรา ไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืชอย่างกว้ างขวางโดยเฉพาะยิ งในภาครัฐสถาบันส่งเสริ มเกษตรชีวภาพ และโรงเรี ยนเกษตรกรซึ งเป็ นหน่วยงานในสังกัดของกรมส่ งเสริ มการเกษตรได้ท ําหน้าทีผลิตเชื อ สดโดยการเลี ยงเชื อราไตรโคเดอร์ มาบนเมล็ด ข้างฟ่ างที ผ่านการนึ งฆ่ าเชื อแล้ว เพือเผยแพร่ สู่ เกษตรกรอย่างไรก็ตามการผลิตเชื อสดดังกล่าวนอกจากจะประสบปั ญหาการผลิตทีไม่เพียงพอกับ ความต้องการของเกษตรกรแล้ วยั งพบปัญหาทีเกียวกับการปนเปื อนของจุลินทรี ย ์ อืนๆการเก็บรักษา เชื อสดไม่ได้น านและการเสื อมหรื อกลายพัน ธุ์ของเชื อราไตรโคเดอร์ มาส่ งผลให้คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพของเชื อด้อยลงสําหรับภาคเอกชนได้มีบริ ษ ัทเอกชนผลิตเชื อราไตรโคเดอร์ มาในรู ป ชีวภัณฑ์ชนิดผงแห้งออกจํ าหน่ายแล้ วซึ งเพิ มความสะดวกในการใช้และการเก้บรักษาแต่ก็ย ั งคงพบ ปัญหาความไม่สะดวกในการจัดซือและชีวภัณฑ์มีราคาค่อนข้างสูงเพือแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้ นทาง โครงการพั ฒนาวิชาการ " การพั ฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้ชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์ มา" ซึ งเป็ น โครงการความร่ วมมือระหว่างภาควิชาโรคพืชคณะเกษตรมหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์ และบริ ษ ัทยูนิ ซีดส์จ ํ ากัดได้พ ั ฒนาเทคนิคการขยา เชื อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดโดยใช้หัวเชื อบริ สุทธิ ชนิดผงแห้ง ย ขึ นจนประสบความสําเร็ จซึ งคาดว่าจะก่ อให้เกิ ด ประโยชน์ต่ อเกษตรกรอย่างมากต่ อไปเพราะ เทคนิคทีพั ฒนานี จะช่วยให้เกษตรหรื อประชาชนทั วไปสามารถผลิตเชื อราไตรโคเดอร์มาไว้ใช้ควบ คนุมเชื อราสาเหตุโรคพืชได้ด ้วยตนเองด้วยวิธีการง่ายๆประหยั ดค่าใช้จ่ายช่วยลดต้นทุนในการผลิต พืชลดการใช้สารเคมีช่วยให้เกิด ความปลอดภัยจากผู้ผลิต ผู้ บริ โ ภคและสภาพแวดล้อมสามารถ ตอบสนองต่อกระบวนการผลิตพืชแบบเกาตรอินทรี ย ์ ต่อไป ขั นตอนและวิธีการผลิตเชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ในการผลิตเชื อรานั นวั สดุ อาหารและหัวเชื อเป็ นปั จจัยทีสําคัญผลการวิจ ัยพบว่าปลายข้าวเป็ นวัสดุ อาหารทีดีทีสุดหาซื อง่ายและราคาถูกส่วนหัวเชื อไตรโคเดอร์มาทางโครงการได้พ ัฒนาให้อยู่ในรู ป ผงแห้งซึ งสะดวกในการใช้และเก็บรักษา หัวเชื อราไตรโคเดอร์ มาบริ สุทธิ : คือเชื อราไตรโคเดอร์ มาสายพันธุCB-Pin-01 ทีดีทีสุ ด จากการ ์ คัดเลือกเก็บในวัสดุอินทรี ย ์ทีปราศจากจุลินทรี ย ์ปนเปื อนทุกชนิ ด สามารถเก็บรัก ษาได้เป็ นระยะ เวลานานและสะดวกต่อการนําไปใช้เพือขยายหรื อเพิ มปริ มาณเชื อ
  • 4. วิธีเก็บ รักษาหัวเชื อ : เก็บไว้ในตู้เย็น ( ประมาณ8-10 องศาเซลเซียส ) สามารถมีชีวิตอยู่ได้นาน ประมาณ1 ปี ถ้ าเก็บทีอุณหภูมิในห้องปกติสามารถเก็บไว้ ได้นาน เดือน 6 วัตถุประสงค์ เพือให้เกษตรกรและผู้ สนใจสามารถขยายปริ มาณเชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ดสดไว้ ใช้ได้เองตามต้องการช่วยประหยั ดค่าใช้จ่ายและสะดวกต่อการนําไปใช้ วิธีการขยายเชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด 1. ใช้ปลายข้าวหรื อข้าวสาร3 แก้ว (1แก้วมีความจุประมาณ250 ซีซี )ประมาร600 กรัมใส่ นํ าเปล่าสะอาด แก้วหรื อประมาณ0.5ลิตรหุ งด้วยหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าเมือสุ กแล้วจะได้ข ้าว 2 สุก (ประมาณ1 กิโลกรัม) 2. ตักข้ามทีหุงสุกใหม่ๆใส่ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด8*12นิ วถุงละ2แก้วนํ า(ประมาร250- 300 กรัม )รี ดอากาศออกจากถุงแล้วพับปากถุงไว้รอให้ข ้าวอุ่นหรื อเก็บเย็นจึงเทหัวเชื อรา ไตรโคเดอร์มาใส่ลงในถุงพลาสติก (หัวเชื อราไตรโคเดอร์มา1 ขวดบรรจุ 20 กรัมใส่ ในข้าว สุกได้จ ํ านวน16 ถุงรวมทั งหมด4 กิโลกรัม ) 3. หลั งใส่หัวเชื อราไตรโคเดอร์มาแล้ วมั ดปากถุด ้วยหนังยางให้แน่ น (มัดให้สุดปลายถุง) ง เขย่าหรื อขยํ าเบาๆให้หัวเชื อคลุกเค้ากับข้าวสุ กทั วทั งถุงใช้ปลายเข็มเจาะถุงพลาสติกใต้ หนังยางที มัดเล็กน้อยประมาณ15-20 จุด ต่อถุง (เพือให้มีอากาศถ่ายเทเหมาะสมต่ อการ เจริ ญของเชื อราไตรโคเดอร์มา) แล้ วแผ่ข ้าวสุกให้แบนราบ 4. บ่มเชื อไว้ ในทีมีอากาศถ่ายเทมีแสงสว่างส่องถึงไม่ตากแดดปลอดภัยจากมดไรและสัตว์ อืนๆเมือครบ2 วันขยํ าถุงเบาๆเพือให้เส้นใยของเชื อกระจายทั วทั งถุงบ่มถุงเชื อต่ออี4-5 ก วั นก่อนนําไปใช้เมือบ่มเชื อครบ7 วันแล้วถ้ายั งไม่ใช้ต ้องเก็บถุงเชื อไว้ในตู้เย็นแต่ไม่ควร เก็บไว้ นานเกิน15 วั น คําแนะนํา : ในการบ่ มเชื อถ้าวางถุงเชื อในทีมีแสงสว่างน้อยควรเพิ มแสงด้ว ยการติ ดตั ง หลอดฟลูออเรสเซนต์(หลอดนีออน) ช่วยโดยให้แสงสว่างนาน12 ชั งโมง/วันหรื อตลอด24 ชั วโมงเพือกระตุ ้นการสร้างสปอร์ของเชื อเชื อทีขึ นดีจะมีสีเขียวเข้ม คําเตือน : ต้องขยายเชื อโดยใช้หัว เชื อบริ สุทธิ เท่ านั นไม่ค วรต่ อเชื อจากเชื อทีขยายแล้ว เพราะจะทํ าให้เกิดการปนเปื อนเชื อจุลินทรี ย ์ชนิ ดอืนและเชื อทีขยายต่อจะมีประสิ ทธิภาพ ในการควบคุมโรคพืชลดลง วิธีการใช้ เชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด
  • 5. การใช้ราไตรโคเดอร์มาชนิดสดผสมกับปุ ๋ ยอิ ย ์ นทรี ใช้เชื อสดผสมกับรําข้าวละเอียดและปุ ๋ ยอินทรี(ปุ์ ๋ ยหมักปุ ๋ ยคอกเก่าในอัตราส่ วน1:4:100 ย / ) โดยนํ าหนักโดย - เติมรําข้าวเล็กน้อยลงไปในถุงเชื อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดคลุกเคล้ าและบีบให้เชื อทีเกาะ เป็ นก้อนแตกออกต่อจากนั นจึงเทเชื อทีคลุกรําข้าวแล้วผสมกับรําข้าวทีหลือให้ครบตาม เ จํ านวนแล้ วคลุกให้เข้ากันอีกครั ง - นําหัวเชื อสดทีผสมกับรําข้าว ตราส่วน1:4โดยนํ าหนัก ผสมกับปุ ๋ ยคอกหรื อปุ ๋ ยหมั ก (อั ) 100 กิโลกรัมคลุกเคล้ าจนเข้ากันอย่างทั วถึงอาจพรมนํ าพอชื นเพือลดการฟุ ้ งกระจาย เมือได้ส่วนผสมของเชื อสดกับปุ ๋ ยอินทรี ย ์ แล้ วสามารถนําไปใช้ด ้วยวิธีการดังต่อไปนี 1. การผสมกับวั สดุปลูกสําหรับการเพาะกล้ าในกระบะเพาะเมล็ดหรื อถุงเพาะชํ า ใส่ ส่วนผสมของเชื อสดผสมดินปลูกอัตรา1:4 โดยปริ มาตร(20%)นําดินปลูก ทีผสมด้ว ย ส่วนผสมของเชื อสดแล้ วใส่กระบะเพาะเมล็ดถุงหรื อกระถางปลูก 2. การใส่หลุมปลูกพืช - ใช้ส่วนผสมของเชื อสดอั ตรา10-20กรัม(1-2ช้อนแกง) ต่อหลุมโรยในหลุมก่อนการหยอด เมล็ดพืช - ใช้ส่วนผสมของเชื อสดอั ตรา10-20กรัมคลุกเคล้ากับดินในหลุมปลูกพืชถ้าหลุมใหญ่อาจ ใช้50-100กรัม/หลุม 3. การใช้เชื อหว่านในแปลงปลูก หว่านส่ วนผสมเชื อสดลงบนแปลงปลูกก่ อนการปลูก พืชด้วยอัต รา50-100กรั มต่อตาราง เมตรหว่านส่ วนผสมเชื อสดลงบนแปลงปลูกขณะทีพืชกําลังเจริ ญเติบโตและกําลังมีโรค ระบาดด้วยอั ตรา50-100ต่อตารางเมตร 4. การใช้เชื อหว่านใต้ทรงพุ่มหรื อโรยโคนต้นพืช หว่านส่ วนผสมเชื อสดทั วบริ เวณใต้ทรงพุ่มจนถึงรอบชายพุ่มอัตรา50-100กรั มต่อตาราง เมตรหรื อโรยส่ ว นผสมเชื อสดบริ เวณโคนต้นพืชกรณี ทีเกิด โรคโคนเน่ าด้ว ยอัตรา10-20 กรัมต่อต้น การใช้ เชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดคลุกเมล็ดพืช ใส่เชื อสดลงในถุงพลาสติกทีจะใช้คลุกเมล็ดอั ตรา 0 กรัม (1ช้อนแกง) ต่อเมล็ด1 กิโลกรัม 1 เติมนํ า 0 ซีซีบีบเชื อสดให้แตกตัวเทเมล็ด1 กิโลกรัมลงในถุงแล้วเขย่าให้เชื อสดคลุกเคล้า 1 จนติดผิวเมล็ดนําเมล็ดออกผึ งลมให้แห้งหรื อใช้ปลูกได้ทันที การใช้ เชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดผสมกับนํา
  • 6. ในกรณี ทีไม่สะดวกในการจัดหาปุ ๋ ยหมักปุ ๋ ยคอกและรําข้าวหรื อกรณี ทีต้องกา เชื อรา รใส่ ไตรโคเดอร์มาลงดินโดยไม่ประสงค์จะใส่ปุ ๋ ยอินทรี ย ์และรําข้าวลงไปในดินด้วยเนื องจาก ไม่อยู่ในช่วงทีเหมาะสมสําหรับการใช้ปุ ๋ ยอินทรี ย ์ สามารถใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ดสด ทีเตรี ยมไว้ผสมกับนํ าในอัตรา00 กรัมต่อนํ า 0 ลิตรหรื อ250 กรัม(เชื อสด1 ถุง)ต่อนํ า 0 1 2 5 ลิตรใช้น ํ าเชื อที เตรี ยมได้ฉี ดพ่นลงดิ นด้วยอัต รา0-20 ลิตรต่อ100 ตารางเมตรสําหรั บ 1 ขั นตอนการใช้เชื อสดผสมนํ ามีด ังนี 1. นําเชื อสดมา1 ถุง(250กรัม) เติมนํ าลงไปในถุง 00มิลลิลิตร(ซีซี)หรื อพอท่วมตัวเชื อแล้ว 3 ขยํ าเนื อข้าวให้แตกออกจนได้น ํ าเชื อสีเขียวเข้ม 2. กรองนํ าเชื วยผ้ าหรื อกระชอนตาถีล้ างกากทีเหลือบนกระชอนด้วยนํ าอีกจํานวนหนึ ง อด้ จนเชื อหลุดจากเมล็ดข้าวหมดเติมนํ าให้ครบ0 ลิตรก่อนนําไปใช้ 5 1. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในกระบะเพาะกล้ ากระถางหรื อถุงปลูกพืช 1.1 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนกระบะเพาะหลังจาดหยอดเมล็ดแล้วหรื อในระหว่างทีต้ า นกล้ กํ าลั งเจริ ญเติบโตโดยฉีดให้ดินเปี ยกฉุ่ม 1.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในถุงหรื อกระถางปลูกพืชตั งแต่เริ มปลูกหรื อในระหว่างทีพืชกําลัง เจริ ญเติบโตโดยฉีดให้ดินเปี ยกชุ่ม 2. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในหลุมปลูกพืช 2.1 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในหลุมปลูกพืชหลั งจากเพาะเมล็ดแล้ วโด ดพ่นให้ดินเปี ยกชื น ยฉี 2.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงในหลุมปลูกพืชหลั งย้ ายพืชลงปลูกแล้ วโดยฉีดให้ดินเปี ยกชื น 3. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนแปลงปลูกพืช 3.1 ฉี ดพ่น นํ าเชื อสดลงบนแปลงพืชหลังจากหว่านเมล็ดและคลุมแปลงด้วยฟางแล้วใน อั ตรา10-20 ลิตร/100 ตารางเมตรและให้น ํ าแก่พืช นที ทั 3.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนแปลงปลูกอัตรา0-20 ลิตร/100ตารางเมตรก่อนคลุมแปลงด้วย 1 พลาสติกดํ า 3.3 กรณี ทีพืชกํ าลั งเจริ ญเติบโตอยู่ให้ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนแปลงในอัตรา ลิตร/100 10-20 ตารางเมตร 4. การฉีดพ่นนํ าเชื อสดโคนต้นพืชและใต้ทรงพุ่ม 4.1 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงตรง คนต้นพืชและบนดินบริ เวณรอบโคนต้นพืชโดยให้ผิวดินเปี ยก โ ชื น 4.2 ฉีดพ่นนํ าเชื อสดลงบนดินใต้บริ เวณใต้ทรงพุ่มและขอบชายพุ่มให้ดินพอเปี ยกชื น
  • 7. คํ าเตือน : - ควรฉีดพ่นในเวลาแดดอ่อนหรื อเวลาเย็นกรณี ทีบริ เวณทีฉี ดพ่นไม่มีร่มเงาจาก พืชเลย - ถ้าดินบริ เวณทีจะฉี ดพ่นเชื อแห้งมากควรให้น ํ าพอให้ดินมีความชื นเสี ยก่อนหรื อให้น ํ า ทันทีหลั งฉีดพ่นเพือให้น ํ าพอเชื อซึมลงดิน ขณะนี ทางโครงการได้ถ่ายทอดเทคนิ คการผลิตหัว เชื อราไตรโคเดอร์ มาบริ สุทธิ ชนิ ดผง แห้งให้ก ับบริ ษ ัทยูนิซีดส์จ ํากัดเพือดําเนิ นการผลิตจําหน่ ายแล้วทางโครงการได้รับความ อนุเคราะห์จากสถาบันวิจ ัยและพั ฒนาแห่งมหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์ ในการดําเนิ นการยืน คํ าขอรับอนุสิทธิบัตรเรื อง"กรรมวิธีผลิตขยายเชือราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดโดยใช้ หัวเชือ บริสุทธิ ชนิดแห้ ง" จากกรมทรัพย์สินทางปั ญญาโดยบริ ษ ัทยูนิซีดย์จ ํากัดเป็ นผู้ สนับสนุ น ค่าใช้จ่ายในการดํ าเนินการนอกจากนี ทางผู้ วิจ ัยได้จ ักพิมพ์เอกสารวิชาการเรื อง การผลิต " และการใช้ เชื อราไตรโคเดอร์ มาชนิ ด สด" เรี ยบร้ อ ยแล้ว โดยได้รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากโครงการเกษตรกู้ชาติ(ปี 2544) ผู้ สนใจเอกสารดังกล่าวสามารถติดต่อขอรับ ได้ทีผศ.ดร.จิระเดชแจ่มสว่างภาควิชาโรคพืชคณะเกษตรวิยาเขตกํ าแพงแสน หลั งบ่มเชื อนาน6-7 วั นจะเห็นเชื อสี เขียวปกคลุม ใส่หัวเชื อไตรโคเดอร์มาในปลายข้าวทีหุงสุกแล้ วเ ม ล็ ด ข้ า ว นําไปใช้ทันทีหรื อแช่ในตู้เย็นธรรมดา ฉีดพ่นนํ าเชื อสดในกระถางปลูกพืชหรื อโคนต้นหว่านส่วนผสมเชื อสดลงบนแปลงปลูกพืชขณะที พืชทีกํ าลั งเจริ ญเติบโต พืชกํ าลั งเจริ ญเติบโต
  • 8. ประโยชน์ ของเชือราไตรโคเดอร์ มา 1. ช่วยลดกิจกรรมของเชื อโรคพืชได้ ยั บยั งและทํ าลายการงอกของสปอร์ แข่งขันการใช้อาหารเพือการเจริ ญของเส้นใยเชื อโรคพืช รบกวนกิจกรรมต่างๆของเชื อโรคทํ าให้ความรุ นแรงลดลง 2. ช่วยลดปริ มาณเชื อโรคพืช ทํ าลายเส้นใยของเชื อราสาเหตุโรคพืชโดยการพั นรัดและแทง ทํ าลายโครงสร้างทีเชื อโรคสร้างขึ นสําหรับการขยายพั นธุ์ ทํ าลายโครงสร้างทีเชื อโรคพืชสร้างขึ นเพืออยู่ข ้ามฤดูกาล 3. ช่วยเพิ มการเจริ ญเติบโตและเพิ มผลผลิตของพืช เชื อราไตรโคเดอร์มาป้ องกันระบบรากพืชจากการเข้าทําลายของเชื อราสาเหตุโรคพืชทําให้ระบบ รากพืชสมบูรณ์แข็งแรงเชื อราไตรโคเดอร์มาผลิตสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชได้ เชื อราไตรโคเดอร์มาช่วยให้เมล็ดงอกและเจริ ญเติบโตดี 4. ช่วยเพิ มความต้านทานโรคของพืช กระตุ ้นให้เกิดความต้านทานโรคขึ นภายในพืช พืชทีมีระบบรากดีเจริ ญเติบโตดีแข็งแรงจึงต้านทานโรคได้ดีขึ น ทีมา เ ก ร็ ด ค ว า ม รู้ เ กี ย ว กั บ เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า 1. ปริ มาณเชื อราไตรโคเดอร์มาในดินมีหน่วยวั ดเป็ นหน่วยโคโลนี / กรัมเช่นตรวจพบเชื อราไตรโค เดอร์มาในดิน105 หน่วยโคโลนี / กรัมหมายความว่าในดินหนัก1 กรัมมีปริ มาณเชื อราไตรโคเดอร์ ม า อ ยู่ 100,000 ห น่ ว ย ชี วิ ต ( ส ป อ ร์ ) ที จ ะ เ จ ริ ญ เ ป็ น เ ส้ น ใ ย ไ ด้ 2. เชื อราไตรโคเดอร์ มาทีใส่ ลงดินแล้วจะมีชีวิตอยู่รอดได้นานหรื อไม่ขึ นอยู่ก ับสภาพของดินดิน ร่ วนซุยดีมีอินทรี ย ์ว ัตถุสูงมีใบไม้/เศษพืชปกคลุมดิ นเสมอเชื อราไตรโคเดอร์ มาจะอยู่รอดโดยมี ป ริ ม า ณ สู ง ไ ด้ น า น 6 เ ดื อ น ถึ ง 1 ปี 3. เชื อราไตรโคเดอร์มาอยู่ได้ในดินลึกกว่า30 เซนติเมตรจากผิวดินแต่จะเจริ ญสร้างเส้นใยเพือต่อสู้ กั บ เ ชื อ โ ร ค พื ช ไ ด้ ดี ใ น ค ว า ม ลึ ก ช่ ว ง 5 - 10 เ ซ น ติ เ ม ต ร จ า ก ผิ ว ดิ น
  • 9. 4. การใช้เชื อราไตรโคเดอร์ มาติดต่อกันนานหลายปี ไม่ท ําให้เชื อโรคพืชเกิดความต้านทานได้แต่ ก ลั บ เ ป็ น ผ ล ดี คื อ จ ะ ช่ ว ย ป้ อ ง กั น โ ร ค พื ช ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื อ ง 5. การใช้เชื อราไตรโคเดอร์มาเพียง1 สายพั นธุ์ไม่ได้หมายความว่าจะมีประสิทธิภาพด้อยกว่าการใช้ เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า ห ล า ย ส า ย พั น ธุ์ ร่ ว ม กั น 6. เชื อราไตรโคเดอร์ มาไม่ เ ป็ นอัน ตรายต่ อ มนุ ษ ย์สั ต ว์พื ช ที ปลู ก และสภาพแวดล้อ ม 7. การต่อเชื อไตรโคเดอร์ มาบ่อยๆอาจเกิดเชื อกลายพัน ธุ์ทีเจริ ญได้ไม่ดี สร้างเส้นใยแต่ ไม่สร้าง ส ป อ ร์ สี เ ขี ย ว แ ล ะ ไ ม่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ค ว บ คุ ม โ ร ค ไ ด้ 8. กรณี ทีพืชแสดงอาการของโรคขั นรุ นแรงควรใช้สารเคมีเช่นเมทาแลกซิลโฟซีทิลอัล(อาลีเอท ) กรดฟอสโฟนิค ( โฟลีอาร์ ฟอส ) แมนโคเซบฯร่ วมด้วยได้ถ ้าจะใช้สารกลุ่มเบโนมิลหรื อคาร์ เบน ด า ซิ ม ค ว ร ใ ช้ ก่ อ น ห รื อ ห ลั ง ใ ส่ เ ชื อ ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า 7 วั น 9. สามารถใช้สารเคมีควบคุมแมลงศั ตรู พืชสารกํ าจัดวั ชพืชและปุ ๋ ยเคมีได้ตามปกติในระหว่างการใช้ เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า แ ต่ ห้ า ม ผ ส ม เ ชื อ กั บ ส า ร เ ค มี 10. ถ้ าดินปลูกพืชเป็ นกรดจัดคือค่าพีเอชตํ า( 3.5-4.5 ) จํ าเป็ นต้องปรับค่าพีเอสให้มีค่าอยู่ระหว่าง .5 5 - 6.5 ก่ อ น ก า ร ใ ช้ เ ชื อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า 11. เชื อราไตรโคเดอร์มาพบได้ในดินเกษตรกรรมทั งไปแต่ไม่ได้หมายความว่าทุกเชื อหรื อทุกสาย พั นธุ์นั นจะมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ต ้องผ่านการวิจ ัยทดสอบเสียก่อน ทีมา 3.ข้ าวเจ้า ชื อ พั น ธุ์ ก ข 5 (RD5) ช นิ ด ข้ า ว เ จ้ า คู่ ผ ส ม พ ว ง น า ค 16 / ซิ ก า ดิ ส ประวั ติพ ั นธุ์ได้จากการผสมพั นธุ์ระหว่ นธุ์พวงนาค 16 ของไทยกับพั นธุ์ซิกาดิส ของอินโดนีเซีย างพั ได้ผสมพันธุ์และคัดพันธุ์แบบสื บตระกูลทีสถานี ทดลองข้าวบางเขน เมือปี พ.ศ.2508 จนได้สาย พั น ธุ์ BKN6517-9-2-2 การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็ นพันธุ์รับรองเมือวันที2 เมษายน 2516
  • 10. ลักษณะประจําพัน ธุ์เป็ นข้าวเจ้าต้น สูง สูงประมาณ145 เซนติเมตรเป็ นพันธุ์ข ้าวไวต่อช่ วงแสง เล็กน้อย เหมาะทีจะปลูกเป็ นข้าวนาปี ถ้ าปลูกตามฤดูกาลจะเก็บเกียวได้ปลายเดือนพฤศจิกายน แต่ ถ้ าปลูกในฤดูนาปรังหรื อไม่ปลูกตามฤดูกาล อายุจะอยู่ระหว่าง140-160 วัน ทั งนี ขึ ่ก ับเดือนที นอยู ลําต้น สี ม่ว ง มีร วงยาว ต้น แข็งไม่ล ้มง่ ายปลูก ระยะพัก ตัว ของเมล็ด ประมาณ 6 สัป ดาห์เมล็ด ข้ า ว เ ป ลื อ ก สี ฟ า ง ก้ น จุ ด ท้ อ ง ไ ข่ น้ อ ย 4. ข้ า ว เ ห นี ย ว ชื อ พั น ธุ์ ก ข 6 (RD6) ช นิ ด ข้ า ว เ ห นี ย ว ประวั ติพ ั นธุ์ได้จากการปรับปรุ งพั นธุ์ โดยการใช้รังสีชักนําให้เกิดการกลายพั นธุ์ โดยใช้รังสี แกมมา ปริ มาณ 20 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข ้าวขาวดอกมะลิ 105 แล้วนํามาปลูกคัดเลือกทีสถานี ทดลอง ข้าวบางเขนและสถานีทดลองข้าวพิมาย จากการคัดเลือกได้ข ้าวเหนียวหลายสายพันธุ์ในข้าวชั วที 2 นําไปปลูกคัดเลือกจนอยู่ต ัวได้สายพั นธุ์ทีให้ผลผลิตสูงสุดคือ สายพั นKDML105'65-G2U-68-254 ธุ์ นับว่าเป็ นข้าวพัน ธุ์ดี พ ันธุ์แรกของประเทศไทย ทีค้น คว้าได้โ ดยใช้วิธีชัก นําพัน ธุ์พืชให้เปลียน ก ร ร ม พั น ธุ์ โ ด ย ใ ช้ รั ง สี การรับรองพั นธุ์คณะกรรมการวิจ ัยและพั ฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็ นพั นธุ์รับรอง เมือวันที 4 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2520 ลักษณะประจําพันธุ์เป็ นข้าวเหนี ยว สู งประมาณ 154 เซนติเมตรไวต่อช่ว งแสงทรงกอกระจาย เล็กน้อย ใบยาวสีเขียวเข้ม ใบธงตั ง เมล็ดยาวเ ยวเมล็ดข้าวเปลือกสีน ํ าตาลอายุเก็บเกียวประมาณ21 รี พ ฤ ศ จิ ก า ย น ร ะ ย ะ พั ก ตั ว ข อ ง เ ม ล็ ด ป ร ะ ม า ณ 5 สั ป ด า ห์ 5. ข้ าวกล้อง