SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 74
Descargar para leer sin conexión
The structure and function of
      macromolecules
สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules) ใน
สิ่งมีชีวต จัดเป็ น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้ างของโมเลกุล
         ิ
ได้ แก่
Carbohydrate ประกอบด้ วยธาตุ C, H, O
Protein                  “            C, H, O, N
Lipid                    “            C, H, O
Nucleic acid             “            C, H, O, N, P
Building models to study the structure of macromolecules




   Linus Pauling (1901-1994)    Today, scientists use
                                computer
ปฏิกริยาเคมีของ macromolecules ได้ แก่
    ิ
        Condensation เป็ นปฏิกริยาสังเคราะห์
                               ิ
macromolecules จาก monomers เล็กๆเป็ น
จานวนมาก และได้ ผลผลิต H2O ด้ วย ดังนันอาจ
                                      ้
เรียกว่ า ปฏิกริยา dehydration
              ิ
         Hydrolysis เป็ นปฏิกริยาย่ อยสลาย
                                       ิ
macromolecules ให้ เล็กลง เพื่อให้ สามารถนา
ผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ เข้ าสู่เซลล์ ได้ หรือย่ อยสลาย
macromolecules ที่ไม่ ใช้ แล้ วภายในเซลล์
The synthesis of a polymer
The Breakdown of a polymer
Carbohydrates
Carbohydrates เป็ นสารประกอบจาพวก
นาตาล และ polymer ของนาตาล
 ้                    ้
 งกลุ่ม carbohydrates ได้ เป็ น 3 กลุ่ม ตาม
 แบ่
จานวนโมเลกุลของนาตาลที่เป็ นองค์ ประกอบ ได้ แก่
                ้
   Monosaccharide
   Disaccharide
   Polysaccharide
Monosaccharide เป็ นนาตาลโมเลกุลเดี่ยว
                                ้
ที่ประกอบด้ วย C, O และ H มีสูตรคือ (CH2O)n
      โดยมีอะตอมของ C ต่ อกันเป็ นสาย และมี
Carbonyl group และ hydroxy group ต่ อ
กับอะตอมของ C

  Carbonyl
  group
               aldehydes      ketones
The structure and classification of some monosaccharides
Linear and ring forms of glucose
นาตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจาก
        ้
การรวมตัวของนาตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดย
              ้
ปฏิกริยา condensation
    ิ
    Covalent bond ที่เกิดขึน เรียกว่ า
                           ้
Glycosidic linkage
Examples of disaccharides synthesis
Polysaccharide เป็ น carbohydrate ที่มี
ขนาดใหญ่ มาก ประกอบด้ วย monosaccharides
จานวนมากต่ อกันด้ วย glycosidic linkage
   ดของ polysaccharide ขึนอยู่กับ
   ชนิ                    ้
     1. ชนิดของ monosaccharide
     2. ชนิดของ Glycosidic linkage
   วอย่ าง polysaccharide ได้ แก่ starch,
   ตั
  glycogen, cellulose และ chitin
Storage polysaccharides
Starch: 1-4 linkage of
 glucose monomers




Cellulose: 1-4 linkage
of  glucose monomers
Cellulose มี glucose เป็ นองค์ ประกอบ
เช่ นเดียวกับ แปง แต่ มีพันธะแบบ 1-4 glycosidic
                ้
linkage ผนังเซลล์ ของพืชประกอบด้ วย cellulose
เป็ นจานวนมาก
The arrangement of cellulose in plant cell walls
Chitin, a structural polysaccharide




Chitin forms the   Chitin is used to make a strong
exoskeleton of     and flexible surgical thread
Arthropods
Chitin มีโครงสร้ างคล้ ายกับ Cellulose ต่ างกันที่ว่า
หน่ วยย่ อยเป็ น N-acetylglucosamine ต่ อกันเป็ น
โมเลกุลสายยาว
หน้ าที่ของ carbohydrate
Sugars :
   าหน้ าที่ให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ ส่ งมีชีวต
   ท                                                 ิ     ิ
  ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ
  nucleic acid
Polysaccharide :
   นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวต โดยพืชเก็บสะสม
   เป็                             ิ
  พลังงานในรู ปของ starch ส่ วนสัตว์ เก็บสะสมพลังงานในรู ป
  ของ glycogen
  Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและสัตว์
Lipids
Diverse Hydrophobic molecules
Lipids เป็ นสารที่ไม่ เป็ น polymer
Lipids ไม่ ละลายนา เนื่องจากโครงสร้ างของ lipids
                  ้
ประกอบด้ วย nonpolar covalent bonds เป็ นส่ วนมาก
Lipids ได้ แก่
             ไขมัน (Fat)
             Phospholipid
             Steroid
             ขีผง (Wax)
               ้ ึ้
Fats : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงาน
  Fats ถึงแม้ จะไม่ เป็ น polymer แต่ เป็ นสารที่มีโมเลกุล
ขนาดใหญ่ ประกอบด้ วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ ามาต่ อกัน
ด้ วยปฏิกริยา Dehydration
         ิ
Fats ประกอบด้ วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty
acid)
ส่ วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็ น hydrocarbon ที่มักมี
อะตอมคาร์ บอนต่ อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็ นส่ วนที่ทาให้
fats ไม่ ละลายนา (hydrophobic)
                ้
Triglycerol
      ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย Glycerol 1 โมเลกุล
และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
กรดไขมันแบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้ แก่
       Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว)
       Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่ อ่มตัว)
                                                 ิ
 นที่ได้ จากสัตว์ เช่ น เนย มี saturated fatty acid เป็ น
 ไขมั
องค์ ประกอบ มีลกษณะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
               ั
 นจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็ น
 ไขมั
องค์ ประกอบ มีลกษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
               ั
Saturated fat    Unsaturated fat
and fatty acid    and fatty acid
Phospholipids
 นองค์ ประกอบหลักของ cell membrane
 เป็
ประกอบด้ วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2
โมเลกุล และ phosphate group (phosphate
group มีประจุ -)
 ส่วนหัวที่มีประจุ และเป็ นส่ วนที่ชอบนา
 มี                                     ้
(hydrophilic) และส่ วนหางที่ไม่ ชอบนา     ้
(hydrophobic)
The structure of phospholipid
Phospolipid in aqueous environments
        เมื่อเติม phospholipids ลงในนา้
phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่ วนหางเข้ าหา
กัน และส่ วนหัวหันออกทางด้ านนอก กลายเป็ นหยดเล็กๆ
เรียกว่ า micelle


                                      Micelle
ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวติ
Phospholipids จะเรียงตัวเป็ น 2 ชัน โดย
                                  ้
hydrophilic head จะหันออกทางด้ านนอกเข้ า
หากัน ส่ วน hydrophobic tail อยู่ตรงกลาง


                            Phospholipid
                            bilayer
Steroids
 น lipids ประกอบด้ วย คาร์ บอนเรียงตัวเป็ นวง
 เป็
แหวน 4 วง
  Steroids ชนิดต่ างๆ มีหมู่ functional group
ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่ างกัน
Cholesterol เป็ น steroid ที่เป็ นองค์ ประกอบ
ของ cell membrane
Cholesterol, a steroid
      Cholesterol ยังเป็ น precusor สาหรับการ
สังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่ น hormones
Protein
 น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกันเป็ น
 เป็
ลาดับเฉพาะตัวสาหรับโปรตีนแต่ ละชนิด
 นสามารถทางานได้ ต้ องมีรูปร่ าง
 โปรตี
(conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว
 ษย์ มีโปรตีนมากกว่ า 10,000 ชนิด แต่ ละชนิดมีโครงสร้ าง
 มนุ
และหน้ าที่แตกต่ างกัน
Amino acid เป็ นสารอินทรีย์ท่มหมู่ carboxyl และหมู่ amino
                                            ี ี
ต่ อกับอะตอมคาร์ บอนที่เป็ นศูนย์ กลาง อะตอมที่เป็ นศูนย์ กลางยังต่ อกับอะตอม
hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ท่แตกต่ างกัน
                                          ี


                      H              H            O
                            N       C        C
                      H                           OH
                                     R

                   Amino                   Carboxyl
                   group                   group
Amino acid แบ่ งออกเป็ นกลุ่มตามคุณสมบัตของ
                                         ิ
R group
 group ที่แตกต่ างกันนี ้ ทาให้ เกิด amino acid
  R
แตกต่ างกัน 20 ชนิด แต่ ละชนิดมีคุณสมบัตทางเคมีและ
                                        ิ
ชีววิทยาแตกต่ างกัน
Amino acid กลุ่ม Nonpolar
กลุ่ม Polar
กลุ่ม Electrically charged
Making a polypeptide chain




    Amino acid ต่ อกันเป็ นสายยาวด้ วย covalent
bond เรี ยกว่ า peptide bond
ปลายที่มีหมู่ amino เรียกว่ า N-terminus
ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรียกว่ า C-terminus
สาย polypeptide ประกอบด้ วย amino
acid ทัง 20 ชนิด เรียงต่ อกันเป็ นอิสระ สาย
        ้
polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่ เหมือนกันนับ
หมื่นชนิดได้
 นสามารถทางานได้ ต้องมีรูปร่ าง
 โปรตี
(conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว
 นที่ทางานได้ ประกอบด้ วย polypeptide 1 สาย
 โปรตี
หรือมากกว่ า ซึ่งม้ วนพับไปมาตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง
side chain ของ amino acid
 ปร่ างของโปรตีนจึงขึนอยู่กับลาดับของ amino acid
   รู                 ้
ที่เรียงกันอยู่
A protein’s function depends on its specific
conformation




   Ribbon model          Space filling model
โครงสร้ างของโปรตีนถูกแบ่ งออกเป็ น
      Primary structure
      Secondary structure
      Tertiary structure
     Quaternary structure สาหรับโปรตีนที่
ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สาย
The primary
structure of a protein

 Primary structure คือ
 ลาดับของ amino acid ที่
 ประกอบขึนเป็ นโปรตีน
          ้
 Primary structure ถูก
 กาหนดโดยข้ อมูลทางพันธุกรรม
 (DNA)
การเปลี่ยนแปลงลาดับ amino acid ในโปรตีน
อาจมีผลให้ รูปร่ างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมีผลต่ อ
การทางานของโปรตีนชนิดนันๆ   ้
ตัวอย่ างเช่ น โรค sickle-cell anemia
A single amino acid substitution in a
protein causes sickle-cell disease
The secondary structure of a protein
                Secondary structure เป็ น
               โครงสร้ างที่เกิดขึนจาก H-bond
                                  ้
               ระหว่ างหมู่ carboxylและหมู่ amino
                           Secondary
                           structure ที่พบบ่ อยใน
                           ธรรมชาติได้ แก่ Helix
                           และ  Pleated sheet
ตัวอย่ างเช่ น เส้ นใยแมงมุม มีโครงสร้ างแบบ  Pleated
sheet ทาให้ เส้ นใยแมงมุมมีความแข็งแรงมาก
     Spider silk: a structural protein
Tertiary structure of a protein
Tertiary structure เป็ นรู ปร่ างของ polypeptide สาย
หนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้ วนพบไปมาขึนอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง R
                                 ้
group ด้ วยกันเอง หรื อ R group กับโครงสร้ างหลัก
 ดเหนี่ยวหมายถึง
 แรงยึ
       H-bond
       ionic bond
       Hydrophobic interaction
       Van der Waals interaction
       นอกจากนีบางตอนยึดติดกันด้ วย covalent bond ที่
                    ้
แข็งแรง เรี ยกว่ า disulfide bridges ระหว่ างหมู่ sulhydryl
(-SH) ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้ กัน
The Quaternary structure of proteins
       เป็ นโครงสร้ างของโปรตีนที่ประกอบด้ วย polypeptide
มากกว่ า 1 สายเท่ านัน เกิดจาก tertiary structure ของ
                     ้
polypeptide แต่ ละสายมารวมกัน
                             ตัวอย่ างเช่ น :
             Polypeptide
             chain       Collagen เป็ น fibrous
                             protein ประกอบด้ วย
                             polypeptide 3 สายพันกันอยู่
                             ซึ่งทาให้ โปรตีนชนิดนีมีความ
                                                   ้
                             แข็งแรงและพบใน connective
                             tissue
Hemoglobin ประกอบด้ วย polypeptide 4 สาย
รวมกันกลายเป็ นโปรตีนที่มีรูปร่ างเป็ นก้ อน
The four levels of protein structure
Denaturation and renaturation of a protein
 ปร่ างของโปรตีนบางชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ า
  รู
สภาพแวดล้ อมของโปรตีนเปลี่ยนไป เช่ น pH อุณหภูมิ ตัวทาลาย
เป็ นต้ น เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวต่ างๆระหว่ าง amino acid ใน
สาย polypeptide ถูกทาลาย การเปลี่ยนแปลงนีเ้ รี ยกว่ า
Denaturation
 นบางชนิดเมื่อเกิด denaturation แล้ ว ยังสามารถ
 โปรตี
กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ เรี ยกว่ า Renaturation
หน้ าที่ของโปรตีน
 นโครงสร้ างเยื่อหุ้มเซลล์ และเยื่อหุ้ม oganelles
 เป็
 นโครงสร้ างสาคัญของสิ่งมีชีวต เช่ น keratin เป็ น
 เป็                            ิ
องค์ ประกอบของ เล็บ ผม เป็ นต้ น
Haemoglobin ทาหน้ าที่ขนส่ งออกซิเจน
Hormones ต่ างๆ ทาหน้ าที่ควบคุมการทางานของร่ างกาย
 Acin และ myosin ในกล้ ามเนือ ทาหน้ าที่เกี่ยวกับการ
                             ้
เคลื่อนไหว
Enzymes ทาหน้ าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยาเคมีต่างๆ
                                    ิ
                            ฯลฯ
Nucleic acid
(Informational polymer)
1. Nucleic acid เป็ นแหล่ งเก็บข้ อมูลทาง
พันธุกรรมและถ่ ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต

 Nucleic acid มี 2 ชนิด ได้ แก่
    Ribonucleic acid (RNA)
    Deoxyribonucleic acid (DNA)
DNA ถูกใช้ เป็ นแม่ แบบในการสังเคราะห์ mRNA ซึ่งถูกใช้
เป็ นตัวกาหนดในการสังเคราะห์ โปรตีนอีกทอดหนึ่ง


                                          DNA


                                          RNA


                                        protein
สิ่งมีชีวตได้ รับการถ่ ายทอด DNA จากรุ่ นพ่ อแม่
         ิ
   โมเลกุลของ DNA เป็ นสายยาวมียีนเป็ นจานวนมากเป็ น
   องค์ ประกอบ
    DNA อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากสาเหตุต่างๆ
   เช่ น ฤทธิ์ของสารเคมี หรื อ รั งสีจากสารกัมมันตรั งสี
     การเปลี่ยนลาดับ nucleotide ใน DNA อาจมีผลให้
   สิ่งมีชีวตมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้
            ิ
      การเปลี่ยนแลงลักษณะของสิ่งมีชีวตที่มีผลมาจากการ
                                      ิ
   เปลี่ยนแปลงลาดับ nucleotide สามารถถ่ ายทอดต่ อไปยัง
   รุ่ นลูกได้
2. สายของ nucleic acid ประกอบด้ วย polymer ของ
nucleotides

  แต่ ละ nucleotide ประกอบด้ วย 3 ส่ วน ได้ แก่
        Nitrogen base
        Pentose sugar
        Phosphate group
Nitrogen base แบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ตามโครงสร้ างทางเคมี
ได้ แก่


                                       Pyrimidines




                                  Purines
ใน DNA และ RNA มีเบสอยู่ 4 ชนิดเท่ านัน
                                      ้
     DNA มีเบส A, G, C, T
     RNA มีเบส A, G, C, U
นาตาล pentose
 ้
    ใน RNA คือ ribose
    ใน DNA คือ deoxyribose
ตรงตาแหน่ งอะตอมคาร์ บอนที่ 5 (5’) ของนาตาล pentose มี
                                       ้
หมู่ phosphate group มาต่ อ
รวมเรียก pentose + nitrogen base + phosphate
group ว่ า nucleotide
The components of nucleic acids
  Nucleotide หลายโมเลกุลมาเชื่อมต่ อ
กัน ได้ สายยาวของ polynucleotide ที่
มีหมู่ phosphate และ pentose เรี ยง
ต่ อกันเป็ นสาย โดย nitrogen base ยื่น
ออกมาจากส่ วนยาวของ nucleic acid
Bond ที่มาเชื่อมต่ อระหว่ าง
nucleotide 2 โมเลกุล เรียกว่ า
Phosphodiester linkage
 าดับของ nitrogen base บนสาย DNA หรื อ
 ล
mRNA มีลักษณะเฉพาะตัว
 าดับของ base ในยีนจะเป็ นตัวกาหนดลาดับของ amino
 ล
acid ของ polypeptide ของโปรตีน
3. การถ่ ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์เกิดขึน เนื่องจาก
                                       ้
DNA มีการจาลองตัวเอง

  RNA ประกอบด้ วยสาย polynucleotide เพียงสาย
 เดียว
   DNA ประกอบด้ วยสาย polynucleotide 2 สายเรียง
 ต่ อขนานกัน และมีโครงสร้ างเป็ นเกลียว เรียกว่ า double
 helix
 งสองของ DNA มีการเรียงตัว
  สายทั ้
สลับปลายกัน คือ ปลายด้ าน 5’ ของ
DNA สายหนึ่งจะเข้ าคู่กับปลายด้ าน
3’ ของอีกสายหนึ่ง โดยยึดติดกันด้ วย
H-bond ระหว่ าง A กับ T และ G
กับ C (ดังรู ป)
 กษณะการเข้ าคู่กันของ base
  ลั
เรียกว่ า complementary
The DNA double helix and its replication


                         เมื่อเซลล์ จะมีการแบ่ งตัว
                         DNA จะจาลองตัวเอง
                         และถ่ ายทอดต่ อไปให้ เซลล์
                         ใหม่ การสร้ าง DNA
                         โมเลกุลใหม่ เรี ยกว่ า
                         DNA replication
ปั จจุบันนักวิทยาศาสตร์ พยายามเปรียบเทียบลาดับ
nucleotide ของยีนชนิดเดียวกันจากสิ่งมีชีวตต่ างๆ
                                              ิ
เพื่อใช้ ในการจาแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวต และศึกษาเรื่อง
                                     ิ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวตชนิดต่ างๆ
                         ิ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
พัน พัน
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
kruaoijaipcccr
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
nattapong01
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
BELL N JOYE
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
kruaoijaipcccr
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
TANIKAN KUNTAWONG
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
Jariya Jaiyot
 

La actualidad más candente (20)

การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
385
385385
385
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 

Similar a เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2

The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
Issara Mo
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
BoviBow
 
Protein
Protein Protein
Protein
34361
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการ
Nok Tiwung
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4
off5230
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
pongrawee
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 

Similar a เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2 (20)

The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 
ไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุลไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุล
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการ
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4
 
Springer link
Springer linkSpringer link
Springer link
 
B01[1]
B01[1]B01[1]
B01[1]
 
เผยแพร่ความรู้
เผยแพร่ความรู้เผยแพร่ความรู้
เผยแพร่ความรู้
 
P1
P1P1
P1
 
B01[1]
B01[1]B01[1]
B01[1]
 
อบรม
อบรมอบรม
อบรม
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 

Más de kasidid20309

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdf
kasidid20309
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
kasidid20309
 

Más de kasidid20309 (20)

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdf
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
 

เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2

  • 1. The structure and function of macromolecules
  • 2. สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules) ใน สิ่งมีชีวต จัดเป็ น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้ างของโมเลกุล ิ ได้ แก่ Carbohydrate ประกอบด้ วยธาตุ C, H, O Protein “ C, H, O, N Lipid “ C, H, O Nucleic acid “ C, H, O, N, P
  • 3. Building models to study the structure of macromolecules Linus Pauling (1901-1994) Today, scientists use computer
  • 4. ปฏิกริยาเคมีของ macromolecules ได้ แก่ ิ Condensation เป็ นปฏิกริยาสังเคราะห์ ิ macromolecules จาก monomers เล็กๆเป็ น จานวนมาก และได้ ผลผลิต H2O ด้ วย ดังนันอาจ ้ เรียกว่ า ปฏิกริยา dehydration ิ Hydrolysis เป็ นปฏิกริยาย่ อยสลาย ิ macromolecules ให้ เล็กลง เพื่อให้ สามารถนา ผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ เข้ าสู่เซลล์ ได้ หรือย่ อยสลาย macromolecules ที่ไม่ ใช้ แล้ วภายในเซลล์
  • 5. The synthesis of a polymer
  • 6. The Breakdown of a polymer
  • 7. Carbohydrates Carbohydrates เป็ นสารประกอบจาพวก นาตาล และ polymer ของนาตาล ้ ้  งกลุ่ม carbohydrates ได้ เป็ น 3 กลุ่ม ตาม แบ่ จานวนโมเลกุลของนาตาลที่เป็ นองค์ ประกอบ ได้ แก่ ้ Monosaccharide Disaccharide Polysaccharide
  • 8. Monosaccharide เป็ นนาตาลโมเลกุลเดี่ยว ้ ที่ประกอบด้ วย C, O และ H มีสูตรคือ (CH2O)n โดยมีอะตอมของ C ต่ อกันเป็ นสาย และมี Carbonyl group และ hydroxy group ต่ อ กับอะตอมของ C Carbonyl group aldehydes ketones
  • 9. The structure and classification of some monosaccharides
  • 10. Linear and ring forms of glucose
  • 11. นาตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจาก ้ การรวมตัวของนาตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดย ้ ปฏิกริยา condensation ิ Covalent bond ที่เกิดขึน เรียกว่ า ้ Glycosidic linkage
  • 13. Polysaccharide เป็ น carbohydrate ที่มี ขนาดใหญ่ มาก ประกอบด้ วย monosaccharides จานวนมากต่ อกันด้ วย glycosidic linkage  ดของ polysaccharide ขึนอยู่กับ ชนิ ้ 1. ชนิดของ monosaccharide 2. ชนิดของ Glycosidic linkage  วอย่ าง polysaccharide ได้ แก่ starch, ตั glycogen, cellulose และ chitin
  • 15. Starch: 1-4 linkage of  glucose monomers Cellulose: 1-4 linkage of  glucose monomers
  • 16. Cellulose มี glucose เป็ นองค์ ประกอบ เช่ นเดียวกับ แปง แต่ มีพันธะแบบ 1-4 glycosidic ้ linkage ผนังเซลล์ ของพืชประกอบด้ วย cellulose เป็ นจานวนมาก
  • 17. The arrangement of cellulose in plant cell walls
  • 18. Chitin, a structural polysaccharide Chitin forms the Chitin is used to make a strong exoskeleton of and flexible surgical thread Arthropods
  • 19. Chitin มีโครงสร้ างคล้ ายกับ Cellulose ต่ างกันที่ว่า หน่ วยย่ อยเป็ น N-acetylglucosamine ต่ อกันเป็ น โมเลกุลสายยาว
  • 20. หน้ าที่ของ carbohydrate Sugars :  าหน้ าที่ให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ ส่ งมีชีวต ท ิ ิ ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ nucleic acid Polysaccharide :  นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวต โดยพืชเก็บสะสม เป็ ิ พลังงานในรู ปของ starch ส่ วนสัตว์ เก็บสะสมพลังงานในรู ป ของ glycogen Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและสัตว์
  • 22. Lipids เป็ นสารที่ไม่ เป็ น polymer Lipids ไม่ ละลายนา เนื่องจากโครงสร้ างของ lipids ้ ประกอบด้ วย nonpolar covalent bonds เป็ นส่ วนมาก Lipids ได้ แก่ ไขมัน (Fat) Phospholipid Steroid ขีผง (Wax) ้ ึ้
  • 23. Fats : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงาน  Fats ถึงแม้ จะไม่ เป็ น polymer แต่ เป็ นสารที่มีโมเลกุล ขนาดใหญ่ ประกอบด้ วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ ามาต่ อกัน ด้ วยปฏิกริยา Dehydration ิ Fats ประกอบด้ วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty acid)
  • 24. ส่ วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็ น hydrocarbon ที่มักมี อะตอมคาร์ บอนต่ อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็ นส่ วนที่ทาให้ fats ไม่ ละลายนา (hydrophobic) ้
  • 25. Triglycerol ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย Glycerol 1 โมเลกุล และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
  • 26. กรดไขมันแบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้ แก่ Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว) Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่ อ่มตัว) ิ  นที่ได้ จากสัตว์ เช่ น เนย มี saturated fatty acid เป็ น ไขมั องค์ ประกอบ มีลกษณะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ั  นจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็ น ไขมั องค์ ประกอบ มีลกษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ั
  • 27. Saturated fat Unsaturated fat and fatty acid and fatty acid
  • 28. Phospholipids  นองค์ ประกอบหลักของ cell membrane เป็ ประกอบด้ วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2 โมเลกุล และ phosphate group (phosphate group มีประจุ -)  ส่วนหัวที่มีประจุ และเป็ นส่ วนที่ชอบนา มี ้ (hydrophilic) และส่ วนหางที่ไม่ ชอบนา ้ (hydrophobic)
  • 29. The structure of phospholipid
  • 30. Phospolipid in aqueous environments เมื่อเติม phospholipids ลงในนา้ phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่ วนหางเข้ าหา กัน และส่ วนหัวหันออกทางด้ านนอก กลายเป็ นหยดเล็กๆ เรียกว่ า micelle Micelle
  • 31. ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวติ Phospholipids จะเรียงตัวเป็ น 2 ชัน โดย ้ hydrophilic head จะหันออกทางด้ านนอกเข้ า หากัน ส่ วน hydrophobic tail อยู่ตรงกลาง Phospholipid bilayer
  • 32. Steroids  น lipids ประกอบด้ วย คาร์ บอนเรียงตัวเป็ นวง เป็ แหวน 4 วง  Steroids ชนิดต่ างๆ มีหมู่ functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่ างกัน Cholesterol เป็ น steroid ที่เป็ นองค์ ประกอบ ของ cell membrane
  • 33. Cholesterol, a steroid Cholesterol ยังเป็ น precusor สาหรับการ สังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่ น hormones
  • 34. Protein  น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกันเป็ น เป็ ลาดับเฉพาะตัวสาหรับโปรตีนแต่ ละชนิด  นสามารถทางานได้ ต้ องมีรูปร่ าง โปรตี (conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว  ษย์ มีโปรตีนมากกว่ า 10,000 ชนิด แต่ ละชนิดมีโครงสร้ าง มนุ และหน้ าที่แตกต่ างกัน
  • 35. Amino acid เป็ นสารอินทรีย์ท่มหมู่ carboxyl และหมู่ amino ี ี ต่ อกับอะตอมคาร์ บอนที่เป็ นศูนย์ กลาง อะตอมที่เป็ นศูนย์ กลางยังต่ อกับอะตอม hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ท่แตกต่ างกัน ี H H O N C C H OH R Amino Carboxyl group group
  • 36. Amino acid แบ่ งออกเป็ นกลุ่มตามคุณสมบัตของ ิ R group  group ที่แตกต่ างกันนี ้ ทาให้ เกิด amino acid R แตกต่ างกัน 20 ชนิด แต่ ละชนิดมีคุณสมบัตทางเคมีและ ิ ชีววิทยาแตกต่ างกัน
  • 40. Making a polypeptide chain Amino acid ต่ อกันเป็ นสายยาวด้ วย covalent bond เรี ยกว่ า peptide bond
  • 41. ปลายที่มีหมู่ amino เรียกว่ า N-terminus ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรียกว่ า C-terminus
  • 42. สาย polypeptide ประกอบด้ วย amino acid ทัง 20 ชนิด เรียงต่ อกันเป็ นอิสระ สาย ้ polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่ เหมือนกันนับ หมื่นชนิดได้
  • 43.  นสามารถทางานได้ ต้องมีรูปร่ าง โปรตี (conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว  นที่ทางานได้ ประกอบด้ วย polypeptide 1 สาย โปรตี หรือมากกว่ า ซึ่งม้ วนพับไปมาตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง side chain ของ amino acid  ปร่ างของโปรตีนจึงขึนอยู่กับลาดับของ amino acid รู ้ ที่เรียงกันอยู่
  • 44. A protein’s function depends on its specific conformation Ribbon model Space filling model
  • 45. โครงสร้ างของโปรตีนถูกแบ่ งออกเป็ น Primary structure Secondary structure Tertiary structure Quaternary structure สาหรับโปรตีนที่ ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สาย
  • 46. The primary structure of a protein Primary structure คือ ลาดับของ amino acid ที่ ประกอบขึนเป็ นโปรตีน ้ Primary structure ถูก กาหนดโดยข้ อมูลทางพันธุกรรม (DNA)
  • 47. การเปลี่ยนแปลงลาดับ amino acid ในโปรตีน อาจมีผลให้ รูปร่ างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมีผลต่ อ การทางานของโปรตีนชนิดนันๆ ้ ตัวอย่ างเช่ น โรค sickle-cell anemia
  • 48. A single amino acid substitution in a protein causes sickle-cell disease
  • 49. The secondary structure of a protein  Secondary structure เป็ น โครงสร้ างที่เกิดขึนจาก H-bond ้ ระหว่ างหมู่ carboxylและหมู่ amino Secondary structure ที่พบบ่ อยใน ธรรมชาติได้ แก่ Helix และ  Pleated sheet
  • 50. ตัวอย่ างเช่ น เส้ นใยแมงมุม มีโครงสร้ างแบบ  Pleated sheet ทาให้ เส้ นใยแมงมุมมีความแข็งแรงมาก Spider silk: a structural protein
  • 52. Tertiary structure เป็ นรู ปร่ างของ polypeptide สาย หนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้ วนพบไปมาขึนอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง R ้ group ด้ วยกันเอง หรื อ R group กับโครงสร้ างหลัก  ดเหนี่ยวหมายถึง แรงยึ H-bond ionic bond Hydrophobic interaction Van der Waals interaction นอกจากนีบางตอนยึดติดกันด้ วย covalent bond ที่ ้ แข็งแรง เรี ยกว่ า disulfide bridges ระหว่ างหมู่ sulhydryl (-SH) ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้ กัน
  • 53. The Quaternary structure of proteins เป็ นโครงสร้ างของโปรตีนที่ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สายเท่ านัน เกิดจาก tertiary structure ของ ้ polypeptide แต่ ละสายมารวมกัน ตัวอย่ างเช่ น : Polypeptide chain Collagen เป็ น fibrous protein ประกอบด้ วย polypeptide 3 สายพันกันอยู่ ซึ่งทาให้ โปรตีนชนิดนีมีความ ้ แข็งแรงและพบใน connective tissue
  • 54. Hemoglobin ประกอบด้ วย polypeptide 4 สาย รวมกันกลายเป็ นโปรตีนที่มีรูปร่ างเป็ นก้ อน
  • 55. The four levels of protein structure
  • 57.  ปร่ างของโปรตีนบางชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ า รู สภาพแวดล้ อมของโปรตีนเปลี่ยนไป เช่ น pH อุณหภูมิ ตัวทาลาย เป็ นต้ น เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวต่ างๆระหว่ าง amino acid ใน สาย polypeptide ถูกทาลาย การเปลี่ยนแปลงนีเ้ รี ยกว่ า Denaturation  นบางชนิดเมื่อเกิด denaturation แล้ ว ยังสามารถ โปรตี กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ เรี ยกว่ า Renaturation
  • 58. หน้ าที่ของโปรตีน  นโครงสร้ างเยื่อหุ้มเซลล์ และเยื่อหุ้ม oganelles เป็  นโครงสร้ างสาคัญของสิ่งมีชีวต เช่ น keratin เป็ น เป็ ิ องค์ ประกอบของ เล็บ ผม เป็ นต้ น Haemoglobin ทาหน้ าที่ขนส่ งออกซิเจน Hormones ต่ างๆ ทาหน้ าที่ควบคุมการทางานของร่ างกาย  Acin และ myosin ในกล้ ามเนือ ทาหน้ าที่เกี่ยวกับการ ้ เคลื่อนไหว Enzymes ทาหน้ าที่เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยาเคมีต่างๆ ิ ฯลฯ
  • 60. 1. Nucleic acid เป็ นแหล่ งเก็บข้ อมูลทาง พันธุกรรมและถ่ ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต Nucleic acid มี 2 ชนิด ได้ แก่ Ribonucleic acid (RNA) Deoxyribonucleic acid (DNA)
  • 61. DNA ถูกใช้ เป็ นแม่ แบบในการสังเคราะห์ mRNA ซึ่งถูกใช้ เป็ นตัวกาหนดในการสังเคราะห์ โปรตีนอีกทอดหนึ่ง DNA RNA protein
  • 62. สิ่งมีชีวตได้ รับการถ่ ายทอด DNA จากรุ่ นพ่ อแม่ ิ โมเลกุลของ DNA เป็ นสายยาวมียีนเป็ นจานวนมากเป็ น องค์ ประกอบ  DNA อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่ น ฤทธิ์ของสารเคมี หรื อ รั งสีจากสารกัมมันตรั งสี  การเปลี่ยนลาดับ nucleotide ใน DNA อาจมีผลให้ สิ่งมีชีวตมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ ิ  การเปลี่ยนแลงลักษณะของสิ่งมีชีวตที่มีผลมาจากการ ิ เปลี่ยนแปลงลาดับ nucleotide สามารถถ่ ายทอดต่ อไปยัง รุ่ นลูกได้
  • 63. 2. สายของ nucleic acid ประกอบด้ วย polymer ของ nucleotides แต่ ละ nucleotide ประกอบด้ วย 3 ส่ วน ได้ แก่ Nitrogen base Pentose sugar Phosphate group
  • 64. Nitrogen base แบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ตามโครงสร้ างทางเคมี ได้ แก่ Pyrimidines Purines
  • 65. ใน DNA และ RNA มีเบสอยู่ 4 ชนิดเท่ านัน ้ DNA มีเบส A, G, C, T RNA มีเบส A, G, C, U
  • 66. นาตาล pentose ้ ใน RNA คือ ribose ใน DNA คือ deoxyribose
  • 67. ตรงตาแหน่ งอะตอมคาร์ บอนที่ 5 (5’) ของนาตาล pentose มี ้ หมู่ phosphate group มาต่ อ รวมเรียก pentose + nitrogen base + phosphate group ว่ า nucleotide
  • 68. The components of nucleic acids
  • 69.  Nucleotide หลายโมเลกุลมาเชื่อมต่ อ กัน ได้ สายยาวของ polynucleotide ที่ มีหมู่ phosphate และ pentose เรี ยง ต่ อกันเป็ นสาย โดย nitrogen base ยื่น ออกมาจากส่ วนยาวของ nucleic acid Bond ที่มาเชื่อมต่ อระหว่ าง nucleotide 2 โมเลกุล เรียกว่ า Phosphodiester linkage
  • 70.  าดับของ nitrogen base บนสาย DNA หรื อ ล mRNA มีลักษณะเฉพาะตัว  าดับของ base ในยีนจะเป็ นตัวกาหนดลาดับของ amino ล acid ของ polypeptide ของโปรตีน
  • 71. 3. การถ่ ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์เกิดขึน เนื่องจาก ้ DNA มีการจาลองตัวเอง  RNA ประกอบด้ วยสาย polynucleotide เพียงสาย เดียว  DNA ประกอบด้ วยสาย polynucleotide 2 สายเรียง ต่ อขนานกัน และมีโครงสร้ างเป็ นเกลียว เรียกว่ า double helix
  • 72.  งสองของ DNA มีการเรียงตัว สายทั ้ สลับปลายกัน คือ ปลายด้ าน 5’ ของ DNA สายหนึ่งจะเข้ าคู่กับปลายด้ าน 3’ ของอีกสายหนึ่ง โดยยึดติดกันด้ วย H-bond ระหว่ าง A กับ T และ G กับ C (ดังรู ป)  กษณะการเข้ าคู่กันของ base ลั เรียกว่ า complementary
  • 73. The DNA double helix and its replication เมื่อเซลล์ จะมีการแบ่ งตัว DNA จะจาลองตัวเอง และถ่ ายทอดต่ อไปให้ เซลล์ ใหม่ การสร้ าง DNA โมเลกุลใหม่ เรี ยกว่ า DNA replication
  • 74. ปั จจุบันนักวิทยาศาสตร์ พยายามเปรียบเทียบลาดับ nucleotide ของยีนชนิดเดียวกันจากสิ่งมีชีวตต่ างๆ ิ เพื่อใช้ ในการจาแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวต และศึกษาเรื่อง ิ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวตชนิดต่ างๆ ิ