SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1

                        สิ่ งแวดล้ อม ทรัพยากรธรรมชาติ และนิเวศวิทยา

ความหมายของสิ่ งแวดล้ อม
          สิ่ งแวดล้อม (Environment) รากศัพท์เคมีจากภาษาฝรั่งเศส Environ แปลว่า around ฉะนั้น
Environment จึงหมายถึง Totality of man’s surroundings ในภาษาไทยหมายถึง ทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยู่
รอบตัวมนุษย์ ทั้งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็ น
รู ปธรรมและนามธรรม จากความหมายนี้ สามารถกล่ า วอี กนัยหนึ่ งได้ว่า สิ่ งแวดล้อมหมายถึ ง
                  ่
“สิ่ งต่างๆ ที่อยูรอบตัวเรา” เป็ นคํานิยามสั้นๆ ง่ายต่อการเข้าใจและชี้ให้เป็ นว่าสิ่ งแวดล้อมในโลกนี้
เป็ นทุกสิ่ งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็ นสิ่ งของหรื อบ้านเรื อน ถนน ดิน นํ้า ป่ าไม้ วัฒนธรรม ประเพณี ฯลฯ
ความหมายของสิ่ งแวดล้อมคําหลังนี้ จึงสะท้อนความหมายของความหมายแรกอย่างชัดเจนและถูก
ใช้ในทุกวงการ (เกษม, 2536) สิ่ งแวดล้อมหรื อสรรพสิ่ งที่อยูรอบตัวเรานั้น ไม่ว่าจะเป็ นอะไรก็ตาม
                                                                      ่
ต่างมีสมบัติเฉพาะตัว 7 ประการ ดังนี้
          1. สิ่ ง แวดล้อ มทุ ก ชนิ ด มี เ อกลัก ษณ์ ที่ เ ด่ น ชัด เฉพาะตัว (Unique) จะอยู่ ที่ ใ ดก็ ต าม
เอกลักษณ์ดงกล่าวจะบ่งบอกอย่างชัดเจน เช่น ต้นไม้ มนุษย์ นํ้า บ้าน ถนน ฯลฯ
               ั
          2. สิ่ งแวดล้อมไม่อยูโดดเดี่ยวในธรรมชาติ แต่จะมีสิ่งแวดล้อมอื่นอยูเ่ สมอ เช่น ต้นไม้อยู่
                                     ่
                             ั
กับดิน ปลากับนํ้า มนุษย์กบสังคม ฯลฯ
          3. สิ่ งแวดล้อมประเภทหนึ่ งต้องการสิ่ งแวดล้อมอื่นอยู่เสมอ เช่น ป่ าต้องการดินและนํ้า
                                        ่
ปลาต้องการนํ้า มนุษย์ตองการที่อยูอาศัย ฯลฯ
                           ้
          4. สิ่ งแวดล้อมจะอยูรวมกันเป็ นกลุ่มหรื อเป็ นระบบ ที่เรี ยกว่าระบบนิเวศ เช่นระบบนิเวศ
                                   ่
ป่ าไม้ ระบบนิเวศนํ้า ฯลฯ
          5. สิ่ งแวดล้อมทั้งหลายมักมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์ต่อกันและกันเป็ นลูกโซ่ ดังนั้น
เมื่อทําลายสิ่ งแวดล้อมหนึ่ งแล้วจะส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมอื่นๆ เป็ นลูกโซ่ เสมอ และเกิดขึ้น
หลายๆ ขั้นตอน เช่น การทําลายป่ าจนเสื่ อมโทรม จะส่ งผลให้เกิดการพังทลายของดิน ดินขาดความ
                                                          ่
อุดมสมบูรณ์ อ่างนํ้า ลําธารตื้นเขิน สัตว์ป่าไม่มีที่อยูอาศัย ฯลฯ
          6. สิ่ งแวดล้อมแต่ ละประเภทจะมี ความเปราะบาง แข็งแกร่ ง และทนทานแตกต่ างกัน
บางชนิดบางประเภทจะมีความคงทนได้ดี บางชนิดเปราะง่าย เช่นดินมักถูกซะล้างได้ง่าย
2


          7. สิ่ งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงนั้นอาจเป็ นการ
เปลี่ ยนแปลงชั่ว คราวหรื อ ถาวรก็ไ ด้ เช่ น เมื องทุ กเมื อ งจะค่ อยๆ เติ บโต การทํา ลายป่ าแล้ว เผา
จะค่อยๆ มีพืชขึ้นมาทดแทน ฯลฯ
          สําหรับประเภทสิ่ งแวดล้อมนั้นหากแบ่งตามการเกิด สามารถออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2
ประเภทดังนี้
          1. สิ่ งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (Natural Environment) อาจแบ่งออกได้เป็ น 2
ประเภท คือ
                ก. สิ่ งมีชีวิต (Biotic Environment) เช่น พืชหรื อป่ าไม้ สัตว์และมนุษย์ เป็ นต้น
                ข. สิ่ งไม่มีชีวิต (Abiotic Environment) เช่น ดิน นํ้า อากาศ ควัน เมฆ เสี ยง เป็ นต้น
          2. สิ่ งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man – Made Environment) เช่น บ้าน ถนน สะพาน
โต๊ะ เก้าอี้ วัตถุมีพิษ เสี ยง อารมณ์ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา การศึกษา ฯลฯ ซึ่ งสิ่ งแวดล้อมที่
มนุษย์สร้างขึ้นอาจแยกเป็ น 2 ประเภทคือ
                ก. สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) เป็ นสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น
                และสามารถมองเห็นได้ เช่น ถนน บ้านเรื อน เมือง สะพาน รถ เครื่ องบิน เรื อ เจดีย ์ วัด
สิ่ งก่อสร้าง หรื อ สถาปั ตยกรรม เป็ นต้น
                ข. สิ่ งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) อาจสร้างขึ้นโดยตั้งใจและไม่ต้ งใจ       ั
หรื อสร้ า งเพื่อความเป็ นระเบี ยบเรี ยบร้ อยของการอยู่ร่ว มกัน เช่ น วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ รวมไปถึง การทะเลาะวิวาท การส่ งเสี ยงด่าทอ พฤติกรรม
ลักษณะท่าทางนักเลง เป็ นต้น

ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
          ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึงสิ่ งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติซ่ ึ งมนุษย์
สามารถนํามาใช้ประโยชน์ในการดํารงชีพและสนองความต้องการของมนุ ษย์ได้ ได้แก่ นํ้า ป่ าไม้
สัตว์ป่า อากาศ แร่ ธาตุ แสงอาทิตย์ มนุษยชาติ เป็ นต้น ดังนั้น ในแง่เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ
เป็ นปั จจัยที่สาคัญยิ่งอย่างหนึ่ งซึ่ งก่อให้เกิดการผลิต ซึ่ งจะมีประโยชน์ได้ก็ต่อเมื่อได้นามาใช้เพื่อ
                ํ                                                                             ํ
การเศรษฐกิ จ การใช้จึ ง ต้อ งใช้ด้ว ยความประหยัด และไม่ ใ ห้ สิ้ น เปลื อ งโดยเปล่ า ประโยชน์
การนํามาใช้ตองคํานึงถึงหลักการอนุรักษ์พร้อมกันไปด้วย
                  ้
          ทรัพยากรธรรมชาติสามารถแบ่งตามลักษณะของการนํามาใช้ 3 ประเภท ดังนี้
          1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่รู้จกหมดสิ้ น (Non – Exhausting Natural Resources)
                                                     ั
เป็ นทรั พยากรธรรมชาติ ที่ ก่อ กํา เนิ ด มาพร้ อ มกับ มนุ ษ ย์ มี ป ริ ม าณมากเกิ น กว่ า ความต้อ งการที่
3


จะนํ า มาใช้ ป ระโยชน์ แ ต่ ถ ้ า นํ า มาใช้ ผิ ด วิ ธี หรื อขาดการบํ า รุ งรั ก ษาแล้ ว คุ ณ ภาพของ
ทรั พ ยากรธรรมชาติ น้ ัน อาจจะเปลี่ ย นไป ทํา ให้ คุ ณ สมบัติ ไ ม่ เ หมาะสมที่ จ ะนํา มาใช้อี ก เช่ น
แสงอาทิตย์ อากาศ ดิน นํ้าซึ่ งอยู่ในอุทกวัฏจักร ซึ่ งมีการหมุนเวียนเปลี่ยนสภาพไปโดยไม่สิ้นสุ ด
และหากทรัพยากรเหล่านี้หมดเมื่อใด มนุษย์เราก็ตองตายและหมดไปจากโลกนี้ดวย และด้วยเหตุที่
                                                         ้                              ้
ทรั พ ยากรเหล่ า นี้ ไม่ มี ร าคาในท้อ งตลาด เป็ นสิ น ค้า สาธารณะ เป็ นของฟรี ใ นการที่ จ ะจัด ใช้
ประโยชน์อย่างไรก็ได้ คุณค่าและคุณภาพของทรัพยากรเหล่านี้จึงลดน้อยลง เมื่อถูกใช้มากๆ เข้าจน
เกินขีดความสามารถที่ธรรมชาติจะรองรับไว้ได้ ก็จะปรากฏเป็ นปั ญหาขึ้น
          2. ทรั พยากรธรรมชาติ ที่ใช้แล้วหมดไป (Exhausting Natural Resources) เป็ น
ทรัพยากรธรรมชาติที่นามาใช้แล้วจะสิ้ นเปลืองและหมดไปในที่ สุด เมื่อหมดไปแล้วไม่สามารถ
                             ํ
ทดแทนได้ ยางชนิ ด อาจดัด แปลงหรื อ บู ร ณะใหม่ ห รื อ นํา กลับ มาใช้ใ หม่ ไ ด้บ้า ง เช่ น แร่ ธ าตุ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วสิ้ นเปลืองมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ความสะดวกสบาย การเป็ นเครื่ อง
ทุ่นแรง การใช้ทรัพยากรประเภทนี้จึงต้องใช้อย่างประหยัดและระมัดระวัง
          3. ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ใ ช้แ ล้ว เกิ ด ขึ้ น ทดแทนหรื อ รั ก ษาให้ ค งอยู่ ไ ด้ (Renewable
Resources) เช่น นํ้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ ง ป่ าไม้ ดิน สัตว์ป่า ทุ่งหญ้า กําลังงานของมนุ ษย์ เหล่านี้เป็ น
                                                                                ่
ทรัพยากรที่เกิดขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา หากมีการรักษาหรื อจัดการให้อยูในระดับที่มีความสมดุลกัน
ตามธรรมชาติ หรื อหากทําลายลงก็สามารถปรับปรุ งให้คืนสภาพปกติได้ แต่ตองใช้ระยะเวลานาน   ้
มาก ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ เกี่ยวข้องกับตัวมนุษย์ มีความสําคัญยิ่งต่อการมีชีวิตของมนุ ษย์
เป็ นทรั พยากรที่ สามารถใช้เป็ นปั จจัยสี่ ท้ งทางตรงและทางอ้อม ถ้าขาดทรั พยากรเหล่ านี้ มนุ ษย์
                                                 ั
อาจจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ หรื อถ้าส่ วนหนึ่ งส่ วนใดขาดหายไปหรื อไม่สมบูรณ์แล้ว ก็อาจมีผลกระทบ
                  ่
ต่อการมีชีวิตอยูของมนุษย์ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม
          ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในบรรดาทรัพยากรธรรมชาติท้ งสามประเภทนั้น ประเภทที่ 1 และ 3
                                                                      ั
เท่านั้นที่มีความจําเป็ นต่อการดํารงชีพของมนุษย์ ประเภทที่ 2 นั้นเป็ นทรัพยากรที่เกินความจําเป็ น
นอกจากนี้ ทรัพยากรธรรมชาติหากแบ่งโดยพิจารณาในด้านของทรั พยากรธรรมชาติที่เป็ นปั จจัย
สําคัญโดยตรงต่อความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์น้ ันมี 7 ประเภท คือ ดิน (Soil Resources) นํ้า (Water
Resources) ป่ าไม้ (Forest Resources) สัตว์ป่า (Wildlife Resources) แร่ ธาตุ (Mineral Resources)
สถานที่พกผ่อนหย่อนใจ (Recreation Resources) และมนุษย์ (Men Resources)
            ั
          จากคําจํากัดความ จะเห็นได้ว่าสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติน้ นมีความคล้ายกันและ
                                                                                    ั
ต่างกันดังนี้
          ก. ความคล้ายกัน เนื่ องจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นบนพื้น
พิภพนี้ ดวยกัน ที่สาคัญคือต่างก็เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ สิ่ งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติถาให้ประโยชน์ต่อ
          ้          ํ                                                                    ้
4


มนุษย์แล้วเป็ นทรัพยากรธรรมชาติ ขณะเดียวกันสิ่ งที่เกิดขึ้นบนพื้นพิภพก็เป็ นสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้น
เองโดยธรรมชาติ จึงพออนุมานได้ว่าสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติน้ นก็คือสิ่ งที่คล้ายกัน
                                                                                       ั
         ข. ความแตกต่ า งกัน จากคํา นิ ย ามสรุ ป ได้ว่ า ทรั พ ยากรธรรมชาติ เ ป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของ
สิ่ ง แวดล้อ มและเป็ นกลุ่ มสิ่ ง แวดล้อ มที่ ย อมรั บ กันว่ า เป็ นสิ่ ง ที่ สํา คัญ มาก ทรั พ ยากรธรรมชาติ
ทุกชนิ ดทุกประเภทเป็ นสิ่ งแวดล้อม แต่สิ่งแวดล้อมบางประเภทอาจไม่ใช่ทรัพยากรตามธรรมชาติ
ก็ได้เพราะโดยความหมายของทรั พยากรตามธรรมชาติ น้ น จะเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและ
                                                                   ั
มีประโยชน์ต่อมนุษย์ แต่สิ่งแวดล้อมนั้นอาจเป็ นอะไรก็ได้ที่เกิดโดยธรรมชาติที่ให้ประโยชน์หรื อ
ไม่ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์กได้ ็

ความหมายของนิเวศวิทยา
            “นิ เวศวิทยา” หรื อตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Ecology” เป็ นศัพท์ที่ค่อนข้างใหม่สําหรับบ้าน
เรา แต่ความจริ งแล้วคํานี้เริ่ มนํามาใช้เป็ นศัพท์ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ในปี ค.ศ. 1865 โดยมี
ผูนามาใช้เป็ นครั้งแรกคือ Reither และ Haeckle (Kormondy, 1965) คําว่า “Ecology” เป็ นการรวมคํา
    ้ ํ
                                                                ่
จากภาษากรี กเข้าด้วยกันสองคําคือ Okios ซึ่ งแปลว่า ที่อยูหรื อบ้าน (Home) กับ Logos ซึ่ งแปลว่า
การศึกษา (the study of) ดังนั้นความหมายรวม หมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ ในบริ เวณที่อยู่
หรื อบ้านนันเอง่
            กล่ า วโดยสรุ ป หมายถึ ง การศึ ก ษาที่ ว่ า ด้ว ยความสั มพัน ธ์ ที่ มี ต่ อ กัน (Interrelationship)
ระหว่างสิ่ งมีชีวิต (Organisms) กับสิ่ งแวดล้อม (Environment) ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันนี้ หมายถึง
เป็ นการศึกษาถึงอิทธิ พลของสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อสิ่ งมีชีวิตและในขณะเดียวกันก็ศึกษาว่าสิ่ งมีชีวิตมี
อิทธิ พลต่อสิ่ งแวดล้อมในขณะนั้นอย่างไรด้วย สิ่ งที่มีชีวิตในที่น้ ีหมายถึงสิ่ งที่มีชีวิตทุกชนิ ดรวมทั้ง
พืชและสัตว์ จากเซลล์เดียว เช่น สาหร่ ายจนถึงไม้ยนต้น จากไวรัสและอมีบาจนถึงมนุษย์
                                                          ื
            ปั จจุบนถึงแม้ว่ายังมีนกนิเวศวิทยาหลายท่านมุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งที่มีชีวิตแต่
                    ั               ั
ละชนิ ดกับสิ่ งแวดล้อม แต่ก็ยงมีนกนิ เวศวิทยาอีกหลายท่านเช่นกันที่มุ่งศึกษาเรื่ องของสังคมของ
                                   ั ั
สิ่ งมีชีวิตทั้งหมด (Community) ซึ่งก็คือ การศึกษาเรื่ องทั้งหมดหรื อทั้งระบบของบ้านนันเอง        ่
            เนื่ องจากในความเป็ นจริ งสิ่ งที่ มีชีวิตทั้งหลายมิ สามารถจะอยู่อย่างโดดเดี่ ยวได้จา เป็ น   ํ
                       ่ ้
จะต้องอาศัยร่ วมอยูดวยกัน โดยพึ่งพาปั จจัยสิ่ งแวดล้อมทั้งกายภาพและชีวภาพในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใด
อย่างมีระบบ ดังนั้น คําว่า “ระบบนิเวศ” หรื อตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Ecosystem” จึงได้เกิดขึ้น
5




                    ระดับต่ างๆ ของสาร (Organization of Matter in nature)
                                    ที่มา: Miller, 2002 : 72

                   ั
และเริ่ มนํามาใช้กนประมาณปี ค.ศ. 1935 โดยนักนิเวศวิทยาชาวอังกฤษ แต่ในปั จจุบนนี้คาว่าระบบ
                                                                                  ั ํ
                                      ั
นิเวศ หรื อ Ecosystem ได้นามาใช้กนแพร่ หลายในเกือบทุกสาขาวิชา เช่น ระบบนิเวศป่ าไม้ (Forest
                              ํ
Ecosystem) ระบบนิ เวศทุ่งหญ้า (Grassland Ecosystem) และระบบนิ เวศเอสทูรีน หรื อปากอ่าว
(Estuarine         Ecosystem) เป็ นต้น ความหมายของระบบนิ เ วศนั้น หมายถึ ง ระบบที่ มี ค วาม
สลับซับซ้อนของสิ่ งมี ชีวิตที่ อยู่ร่วมกันและการกระทําร่ วมกัน ไม่ ว่า จะเป็ นระหว่างสิ่ งที่ มีชีวิต
ด้วยกันหรื อกับสิ่ งที่ไม่มีชีวิตในพื้นที่หรื ออาณาเขตหนึ่ งอาณาเขตใด และจะเป็ นระบบเปิ ด ทั้งนี้
เพราะในระบบนิ เวศหนึ่ งจะมี กิจกรรมเกิ ดขึ้นหลายอย่างและมี ความเกี่ ยวเนื่ องซึ่ งกันและกันทั้ง
6


ภายในและภายนอกระบบ เป็ นต้นว่า มีการถ่ายทอดพลังงานและแร่ ธาตุไปสู่ หรื อได้จากระบบอื่นๆ
ที่ อยู่ใกล้เคียงหรื อห่ างไกลอีกด้วยอย่างไรก็ดี ระบบนิ เวศ ความหมายที่เข้าใจได้ค่อนข้างง่ายคื อ
เป็ นระบบที่แสดงถึงความเป็ นอยู่ร่วมกันของสิ่ งทั้งหลาย ทั้งไม่มีชีวิตและมี ชีวิตในถิ่นที่อยู่อาศัย
หรื อเป็ นระบบของบ้านนันเอง ระบบนิเวศ หรื อ Ecosystem มีอีกคําหนึ่งที่มีความหมายเช่นเดียวกัน
                            ่
                                    ั
คือ Biogeocoenose ซึ่ งนิ ยมใช้กนมากระหว่างนักนิ เวศวิทยาในประเทศแถบยุโรป เช่ น ประเทศ
เยอรมันและรัสเซีย เป็ นต้น

ประเภทของระบบนิเวศ
          ชี วมณฑล (Biosphere) เป็ นแหล่งที่ อยู่ของสิ่ ง มี ชีวิตของโลกอันกว้า งใหญ่ สิ่ ง มี ชีวิ ตใน
ชีวมณฑลมีความหลากหลายอย่างมาก เช่นเดียวกับถิ่นที่อยู่ (Habitats) ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิต
กับสิ่ งแวดล้อมในพื้นที่หนึ่งๆ ย่อมมีความแตกต่างกัน ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตกับสิ่ งแวดล้อมใน
พื้นที่หนึ่ งบางครั้งใช้คาภาษาอังกฤษว่า Ecosphere (Cole,1958) ดังนั้นจะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์
                           ํ
ของสิ่ งที่มีชีวิตกับสิ่ งแวดล้อมจะมีสถานะภาพที่แตกต่างกันตามแต่ลกษณะของสิ่ งแวดล้อมและ
                                                                                      ั
สภาพพื้ น ที่ ห รื อ แหล่ ง ที่ อ ยู่ที่ ต่ า งกัน เพื่ อ เป็ นการศึ ก ษาให้ เ ข้า ใจระบบนิ เ วศพื้ น พิ ภ พหรื อ ใน
ชี ว มณฑลให้ เ ข้า ใจอย่ า งถ่ อ งแท้ แ ละชั ด เจนและยัง สามารถจั ด การและใช้ ป ระโยชน์ ข อง
ทรั พยากรธรรมชาติ เหล่ านี้ ให้เกิ ดผลอย่างยังยืนโดยปราศจากการทําลายระบบนิ เวศได้อีกด้วย
                                                            ่
นักนิเวศวิทยาจึงได้แบ่งระบบนิเวศจากภูเขาไปสู่ ทะเลเป็ น 2 ระบบนิเวศใหญ่ คือ ระบบนิเวศบนบก
(Terrestrial Ecosystems) และระบบนิเวศในนํ้า (Aquatic Ecosystems)
                (1) ระบบนิ เ วศบนบก (Terrestrial                        Ecosystems) ระบบนิ เ วศบนบกมี ค วาม
หลากหลาย จากการจําแนกโดยใช้พนธุ์พชลักษณะเด่น (Dominant Species) เป็ นตัวกําหนดประเภท
                                                ั ื
ระบบนิเวศ (Odum, 1971) พันธุ์พืชลักษณะเด่นในแง่ของนิเวศวิทยา หมายถึง พันธุ์พืชหรื อกลุ่มพืช
ที่มีบทบาทสําคัญต่อหน้าที่และกิจกรรมต่างๆ ที่ เกิดขึ้นในระบบนิ เวศนั้น หากพันธุ์พืชชนิ ดนี้ ถูก
ทําลาย ระบบนิ เวศประเภทนี้ จะเปลี่ ยนสภาพเป็ นระบบนิ เวศประเภทอื่นได้ ระบบนิ เวศบนบก
สามารถจําแนกได้หลายระบบนิ เวศตามลักษณะเด่นของพันธุ์พืชดังกล่าวแล้วข้างต้น เช่ น ระบบ
นิเวศป่ าไม้ ซึ่งสามารถแบ่งเป็ นระบบนิเวศย่อยอีกได้ เช่น ระบบนิเวศป่ าดงดิบ ระบบนิเวศป่ าเต็งรัง
เป็ นต้น นอกจากนี้ระบบนิเวศบนบกยังรวมไปถึงระบบนิเวศลุ่มนํ้า ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ระบบนิเวศ
ทุนดร้า ระบบนิเวศทะเลทราย และระบบนิเวศการเกษตร เหล่านี้เป็ นต้น
                (2) ระบบนิเวศในนํ้า (Aquatic Ecosystems) ระบบนิเวศในนํ้า ได้จาแนกบนพื้นฐาน      ํ
ความเค็มหรื อความเข้มข้นของเกลือ (Salt Content) ละลายในนํ้า (Kormondy,1969) สามารถแบ่งได้
เป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ ระบบนิเวศนํ้าจืด (Freshwater Ecosystems) ระบบนิเวศนํ้ากร่ อย (Brackish
7


Water Ecosystems) และระบบนิเวศนํ้าเค็ม (Marine หรื อ Saline Water Ecosystems) โดยระบบ
นิเวศนํ้าจืดรวมถึงระบบนิเวศย่อยอีกหลายระบบ เช่นระบบนิเวศบึงนํ้าจืด ระบบนิ เวศทะเลสาบนํ้า
จืด ระบบนิ เวศพรุ น้ าจืด และระบบนิเวศลําธาร เป็ นต้น เช่นเดียวกับระบบนิเวศนํ้ากร่ อยซึ่ งรวมถึง
                     ํ
ระบบนิเวศย่อยอีกหลายระบบ เช่น ระบบนิเวศป่ าชายเลน ระบบนิเวศพรุ น้ ากร่ อย เป็ นต้น สําหรับ
                                                                      ํ
ระบบนิเวศทางทะเลหรื อนํ้าเค็มรวมถึงระบบนิ เวศที่สาคัญ คือ ระบบนิ เวศหญ้าทะเล และปะการัง
                                                    ํ
เป็ นต้น

พฤติกรรมของสิ่ งแวดล้ อมในระบบนิเวศ
                                           ่                                            ่
            ในธรรมชาติ ระบบนิเวศจะอยูในภาวะสมดุล กล่าวคือ สิ่ งต่างๆ ที่อยูในระบบนิ เวศนั้นจะ
ควบคุมตัวเอง (Self Regulation) และรักษาสภาพตัวเอง (Self Maintenance) ได้ การที่ระบบนิเวศ
สามารถคงสภาพสมดุลตามธรรมชาติ เพราะตัวควบคุ มองค์ประกอบภายในระบบจะพยายาม
ต่อต้านและปรับปรุ งให้เกิดสภาพดังกล่าวตลอดเวลา ซึ่ งเรี ยกการต่อต้านและปรับปรุ งนี้ ว่า การคง
สภาพ หรื อ Homeostasis ทําให้ระบบนิเวศหนึ่ งๆ ไม่มีประชากรหรื อสิ่ งมีชีวิตมากเกินสมรรถนะ
การยอมมีได้ (Carrying Capacity) ได้ ทั้งนี้เป็ นเพราะว่ามี ปั จจัยจํากัด (Limiting Factor) ซึ่ งเป็ น
องค์ประกอบที่มีนอยหรื อมากเกินไป ในทํานองเดียวกันอาจมีปัจจัยชดเชย (Compensation Factor)
                      ้
ภายในระบบช่วยให้สิ่งแวดล้อมหนึ่ งที่มีนอยหรื อมากเกินไปถูกจํากัด โดยปั จจัยอื่นๆ ทําให้ปัจจัย
                                              ้
จํากัดไม่เกิดผลได้ เช่น กรณี ก๊าซพิษปนเปื้ อนในอากาศ แต่กมีฝนที่จะช่วยให้ความเป็ นพิษสลายตัว
                                                                ็
ไปได้ ทําให้ระบบนิ เวศอยู่ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิ ทธิ ภาพ โดยธรรมชาติแล้ว ภายในระบบ
นิ เวศหนึ่ งๆ จะมีปัจจัยการชดเชยซึ่ งกันและกัน เรี ยกว่าพฤติกรรมของสิ่ งแวดล้อมในระบบนิ เวศ
ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี้
            1. ปั จจัยจํากัดความสามารถ (Limiting Factors) และ สมรรถนะการยอมมีได้
(Carrying Capacity) หมายถึง ในระบบนิเวศหนึ่งๆ ถ้าหากมีปัจจัยใดก็ตามที่มีความจําเป็ นสําหรับ
สิ่ งมีชีวิต แต่กลายมาเป็ นปั จจัยที่ขาดแคลนมากที่สุด ปั จจัยนี้ ก็จะกลายเป็ นตัวกําหนดการปรากฎ
ของพืชและสัตว์เฉพาะสกุลในระบบนิเวศนั้น เรี ยกปั จจัยดังกล่าวว่า “ปั จจัยจํากัดความสามารถ” (1:
46) และในระบบนิ เวศที่แตกต่างกัน อาจมีสมรรถนะการยอมมีได้ของสิ่ งแวดล้อมแตกต่างกันได้
อันเนื่องมาจากปั จจัยจํากัด
            2. ขีดจํากัดความอดทน (Tolerance Limits) คือ ระดับสู งสุ ดของปั จจัยจํากัดความสามารถ
กล่าวคือหากความสมดุลของระบบนิ เวศอยู่เกินกว่าขี ดดังกล่าวแล้วก็ยากที่ สิ่งมี ชีวิตบางสกุลจะ
ดํา รงชี วิตอยู่ได้ อย่า งไรก็ตามมี ขอที่ ค วรสังเกตอย่า งหนึ่ ง คื อ สิ่ งมี ชีวิ ตแต่ ละชนิ ดนั้นจะมี ช่ว ง
                                      ้
ระหว่างขีดจํากัดความอดทนตํ่าสุ ดและสู งสุ ดต่อปั จจัยเดียวกันที่ไม่เท่ากัน
8


          ในการดํารงชี วิตของมนุ ษย์เรานั้น มีปัจจัยจํากัดความสามารถและมีขีดจํากัดความอดทน
มากมายหลายประเภทและหลายระดับ ในที่น้ ี จะขอยกตัวอย่างในเรื่ องของการบริ โภคอาหารเพียง
ลักษณะเดี ยว กล่ าวคื อ โดยปกติ แล้วร่ างกายของมนุ ษย์จาเป็ นต้องอาศัยอาหารประเภทวิตามิ น
                                                                      ํ
                                                                               ั
(Vitamins) ต่ า งๆ จํา นวนหนึ่ งเพื่อ เสริ มสร้ า งความแข็งแรงให้กบร่ างกาย การได้รับธาตุ อาหาร
ประเภทนี้เข้าไปในปริ มาณมากเกินไปหรื อน้อยเกินไป อาจเกินขีดจํากัดความสามารถของร่ างกาย
มนุ ษย์ที่จะอดทนได้ และนั่นหมายถึง ปั ญหาสุ ขภาพอาจจะเกิดตามมา กรณี ตวอย่างของการทาง                ั
วิตามินเอ หากร่ างกายได้รับวิตามินเอในปริ มาณที่มากจนเกินไปอาจทําให้เกิดความผิดปกติใน
ระบบการย่อยอาหาร เกิดแผลพุพองตามผิวหนัง ผมร่ วง และปวดตามข้อและกระดูก เป็ นต้น ใน
ทํานองเดียวกันถ้าร่ างกายขาดวิตามินเอ อาจทําให้ผิวหนังแห้ง เกิดอาการผิดปกติในโครงกระดูก
และตาฟาง เป็ นต้น กรณี เช่นนี้ช้ ีให้เห็นว่าการได้รับธาตุอาหารที่จาเป็ นสําหรับร่ างกายมากหรื อน้อย
                                                                             ํ
จนเกินไป ก็เป็ นความเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้เช่นกัน
          3. การสื บลําดับทางนิเวศวิทยา (Ecological Succession) หรื อการแทนที่ทางนิเวศวิทยา
เป็ นการแทนที่ ข องกลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ในสั ง คม ซึ่ งในที่ สุ ด จะได้ก ลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ขั้น สุ ด ท้า ย (Climax
Community) ที่เหมาะสมที่สุดและไม่เปลี่ยนแปลงไปอีกเป็ นเวลานาน โดยการสื บลําดับมีอยูดวยกัน                            ่ ้
2 แบบได้แก่ การสื บลําดับขันต้ น (Primary Succession) เป็ นการเปลี่ยนแปลงสังคมของสิ่ งมีชีวิตที่
                                  ้
เกิดขึ้นในบริ เวณที่ยงไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตใดๆ ปรากฎขึ้นมาเลย เช่น เกาะที่เกิดใหม่จากภูเขาระเบิด ใน
                        ั
ระยะแรกจะมีหญ้าขึ้น เมื่อเวลาผ่านไปจะถูกแทนที่โดยไม้พุ่มและในที่สุดจะกลายเป็ นไม้ยนต้น ซึ่ ง                       ื
      ื                                           ่ ั
ไม้ยนต้นจะเป็ นสังคมสุ ดท้ายที่มีความอยูตว ส่ วนการสื บลําดับขันที่ สอง (Secondary Succession)
                                                                           ้
จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงของสังคมสิ่ งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในบริ เวณที่เคยมีสังคมของสิ่ งมีชีวิตอาศัยอยู่
ก่อนแล้ว แต่เกิดการทําลายสังคมของสิ่ งมีชีวิตเดิม แล้วมีการแทนที่ข้ ึนมาใหม่ในบริ เวณเดิม เช่น
สภาพป่ าไม้ที่ถูกมนุษย์ทาลาย เมื่อเวลาผ่านไปก็จะเกิดการแทนที่ข้ ึนอีก คือ พื้นดิน หญ้า ไม้พม ไม้
                               ํ                                                                                         ุ่
ยืนต้น ซึ่งเรี ยกว่า “กลุ่มสิ่ งมีชีวิตขั้นสุ ดท้าย” (Climax Community) นันเอง    ่
          4. การปรั บตัว (Adaptation) สิ่ ง มี ชีวิตบางชนิ ดสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพ
สิ่ งแวดล้อ มที่ เปลี่ ยนแปลงไปได้ ในขณะที่ บางชนิ ดไม่ ส ามารถกระทํา ได้ การทํา ตัว ให้เ ข้า กับ
ธรรมชาติเพือการอยูรอดของสิ่ งมีชีวิตนี้เรี ยกว่า “การปรับตัว” มีอยู่ 3 ประเภทด้วยกันคือ (10)
               ่          ่
                    - การปรับตัวด้านรู ปร่ าง หรื อ สัณฐาน (Morphological Adaptation) เช่น ปาก
ของนก สําหรับนกที่กินแมลงเป็ นอาหาร จะงอยปากจะเรี ยวบาง ขณะที่นกกินเมล็ดพืช จะมีจะงอย
ปากที่ใหญ่และแข็งแรง ส่ วนนกที่กินปลาเป็ นอาหาร จะมีจะงอยปากที่เรี ยวยาว มีขาที่ยาว เพื่อที่จะ
ใช้ก้าวย่างในนํ้าได้อย่างรวดเร็ ว สิ่ งมี ชีวิตบางชนิ ดจะเลี ยนแบบสี สัน และรู ปร่ างให้เหมือนกับ
สิ่ งแวดล้อมที่อาศัยอยูเ่ พื่อพรางตาจากศัตรู และเหยือ เรี ยกว่า Concealing Coloration เช่น ตักแตน
                                                           ่                                                           ๊
9


กิ่ งไม้ ตักแตนใบไม้ จิ้ งจกและกิ้ งก่า เป็ นต้น สัตว์บางชนิ ดจะมี สีสันเลียนแบบสัตว์ที่ดุร้าย เพื่อ
           ๊
หลอกมิให้ศตรู เข้าใกล้ เรี ยกว่า Warning Coloration เช่นผีเสื้ อที่มีปีกคู่ หลังเป็ นจุดดําเหมือนตานก
                 ั
ฮูก หรื อแมลงวันที่เลียนแบบสี สันเหมือนผึ้ง หรื อว่าจะเป็ นการปรับตัวของผีเสื้ อ Viceroy Butterfly
ให้เหมือนกับ Monarch Butterfly ซึ่งถือเป็ นการปรับตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบริ โภคอีกลักษณะหนึ่ง
โดยธรรมชาติของ Monarch Butterfly เมื่อนกตัวใดกินเข้าไป ก็จะสํารอกออกมาหมด ลักษณะเช่นนี้
จะทําให้นกที่เคยจิกกิน Monarch Butterfly ไม่กล้าจิกกิน Viceroy Butterfly เพราะกลัวว่าจะมี
อาการอย่างที่เคยเกิดขึ้นมา เป็ นต้น
                         - การปรับตัวด้านสรี ระ (Physiological Adaptation) เช่น Thermoregulation คือ
กระบวนการที่สตว์พยายามปรับอุณหภูมิของร่ างกายให้คงที่ และ Osmoregulation คือ กระบวนการ
                     ั
ที่ปลาหรื อสัตว์น้ าบางชนิด พยายามปรับปริ มาณความเข้มของสารละลายในร่ างกายให้เป็ นปกติ
                       ํ
                         - การปรับตัวด้านพฤติกรรม (Behavior Adaptation) การที่สัตว์มีการแสดงออก
หรื อมีปฏิกริ ยาตอบสนองต่อสิ่ งเร้ าภายนอก ทําให้เกิ ดพฤติกรรมต่างๆ ขึ้น เช่ น การพักตัวในฤดู
ร้อน (Estivation) ตัวอย่างเช่น ปลาช่อน , การพักตัวในฤดูหนาว (Hibernation) ตัวอย่างเช่น กบ ,
การอพยพย้ายถิ่น (Migration) ตัวอย่างเช่น นกนางแอ่น นกนางนวล หรื อนกเป็ ดนํ้าซึ่ งมีการอพยพ
หนีความหนาวเย็นมาอาศัยอยูในพื้นที่เขตอบอุ่น เป็ นต้น
                                      ่
             5. มลพิษ (Pollution) พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ.
2535 ซึ่งมีผลบังคับเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2535 ได้ให้คาจํากัดความของคําว่า “มลพิษ” และ “ภาวะ
                                                              ํ
มลพิษ” ไว้ดงนี้    ั
                         “มลพิษ” หมายความว่า ของเสี ย วัตถุอนตรายและมลสารอื่ นๆ รวมทั้งกาก
                                                                      ั
ตะกอนหรื อ สิ่ ง ตกค้า งจากสิ่ ง เหล่ า นั้น ที่ ถู ก ปล่ อ ยทิ้ ง จากแหล่ ง กํา เนิ ด มลพิ ษ หรื อ ที่ มี อ ยู่ ใ น
สิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่ งก่อให้เกิดหรื ออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อม หรื อ
ภาวะที่เป็ นพิษภัยอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รังสี ความ
ร้ อ น แสง เสี ย ง กลิ่ น ความสั่ น สะเทื อ น หรื อเหตุ รํ า คาญอื่ น ๆ ที่ เ กิ ด หรื อ ถู ก ปล่ อ ยออกจาก
แหล่งกําเนิดมลพิษด้วย
                         “ภาวะมลพิษ หรื อ มลภาวะ” หมายความว่า สภาวะที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง
หรื อปนเปื้ อนโดยมลพิษ ซึ่ งทําให้คุณภาพของสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมลง เช่น มลพิษทางนํ้า มลพิษ
ทางอากาศ และมลพิษในดิน เป็ นต้น
                         มลพิ ษ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาหลายประการ ไม่ ว่ า จะเป็ นในเรื่ อ งของปั ญ หาความ
ปลอดภัยของประชาชนและทรัพย์สิน, ปั ญหาสังคมที่ทาให้เกิดการอพยพหรื อเข้าไปบุกรุ กเขตป่ า
                                                                  ํ
สงวน เพื่อหาที่ทากินใหม่ที่ปลอดมลพิษ, ปั ญหาสุ ขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่ งมีชีวิตอื่นๆ
                         ํ
10


รวมถึ งการสร้ างความรําคาญให้แก่ประชาชนที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ ที่มีสถานการณ์ ทางด้านมลพิษ
รุ นแรง, ปั ญหาต่อระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติ, ปั ญหาต่อทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งนํ้า ป่ าไม้ ซึ่ง
สุ ดท้ายก็อาจจะส่ งผลกระทบจนนําไปสู่ ความสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจ การลงทุนและภาพพจน์ของ
ประเทศในที่สุด โดยตัวอย่างมลพิษที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่ มลพิษทางอากาศ, ความร้อน
และความแห้งแล้ง, กัมมันตรังสี , ภัยธรรมชาติ, การสู ญเสี ยป่ าชายเลน, การเสื่ อมคุณภาพของดิน,
การขาดแคลนนํ้า ดิ บ และปั ญ หานํ้า เสี ย ,       ขยะมู ล ฝอยและกากของเสี ย ,           การทํา ลาย
ทรัพยากรธรรมชาติ, มลพิษทางเสี ยงและการสันสะเทือน และการใช้สารเคมีที่เป็ นพิษ เป็ นต้น
                                              ่
                6. ความยืดหยุ่นทางชีวภาพ (Biological Magnification) หมายถึง สิ่ งมีชีวิต จะมีความ
ความยืดหยุ่นทางชี วภาพที่ แตกต่างกัน เช่ น ความสามารถในการสะสมสารพิษที่ แตกต่างกัน ซึ่ ง
               ่ ั
อาจจะขึ้นอยูกบนํ้าหนักและความแข็งแรง
                7. ความต้ านทานทางสิ่ งแวดล้ อม (Environmental Resistance) เป็ นความสามารถ
                            ่                                                   ่
ของสิ่ งมีชีวิตที่สามารถอยูในสภาพที่สิ่งแวดล้อมเป็ นพิษหรื อไม่เอื้ออํานวยให้อยูได้ เช่น สิ่ งมีชีวิต
                      ่
บางชนิดสามารถอยูในนํ้าเสี ยในคลองของกรุ งเทพมหานครได้ เป็ นต้น

ปัจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ
           ปั จจัยที่จะเป็ นสิ่ งกําหนดลักษณะของระบบนิเวศมีหลายอย่างคือ
           1. อุณหภูมิ ภูมิอากาศของภูมิประเทศแต่ละแห่งจะเป็ นเครื่ องกําหนดว่าจะมีสัตว์ หรื อพืช
ชนิดใดดํารงชีวิตอยู่บาง เช่น ในบริ เวณที่อากาศร้อนแถบทะเลทราย จะมีอูฐที่เป็ นสัตว์มีความทน
                         ้
                                                                          ่
ต่ออากาศร้อนแห้งแล้ง และมีพืชพวกกระบองเพชรที่สามารถดํารงชีวิตอยูได้ เป็ นต้น
           2. ความชื้น ทั้งพืชและสัตว์จะมีการถ่ายเทไอนํ้าให้กบอากาศอยูเ่ สมอ ในบริ เวณอากาศที่
                                                                ั
มีความชื้ นตํ่า จะทําให้รู้สึกหายใจไม่สะดวก ดังนั้นจึงมักพบว่าในระบบนิ เวศใดที่มีความชื้นมาก
                                 ่
มักจะมีพืชและสัตว์อาศัยอยูอย่างหนาแน่น
           3. แสง แสงจากดวงอาทิตย์มีความสําคัญต่อระบบนิ เวศเป็ นอย่างยิ่ง เพราะทําให้เกิดการ
ถ่ายเทธาตุต่างๆ ในระบบนิ เวศได้ พืชที่ข้ ึนอยู่ใต้เงาไม้ในป่ าย่อมแตกต่างกันกับพืชที่ข้ ึนในที่โล่ง
แจ้ง นอกจากนี้ ในบริ เวณที่ช่วงกลางคืนแตกต่างกันในแต่ละระยะเวลาของปี นั้น ยังทําให้พืชและ
สัตว์สนองตอบต่อความสว่าง หรื อความมืดแตกต่างออกไปด้วย
           4. ดิน เมื่อสิ่ งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ตายจะถูกย่อยสลายธาตุต่างๆ กลายเป็ นฮิวมัส ดังนั้น
ดินจึงเป็ นที่รวมของธาตุอาหารต่างๆ ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์หรื อมีธาตุอาหารที่แตกต่างกัน ย่อม
                                                   ่
ทําให้พืชและสัตว์ที่อาศัยดินนั้นๆ ดํารงชีวิตอยูมีความแตกต่างกัน
11


                 5. ไฟป่ า การเกิดไฟป่ าแต่ละครั้ง ทําให้ชีวิตของพืชและสัตว์เปลี่ยนไป เช่นสัตว์ตองหนี
                                                                                                  ้
ไฟไปอยู่ที่อื่น พืชถูกเผาตายลงแต่ขณะเดียวกันก็ทาให้พืชแต่ละชนิ ดสามารถแตกขึ้นมาใหม่และ
                                                              ํ
เจริ ญงอกงามได้อย่างรวดเร็ วเพราะไม่มีพชอื่นเข้ามาบดบังและแย่งอาหาร
                                                  ื
                 6. มลภาวะ เป็ นปั จจัยที่ เข้า มามี บทบาทในการเปลี่ ยนแปลงหรื อ กําหนดลักษณะของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศ เมื่ อ ประมาณ 30 ปี มานี้ เอง มลภาวะอาจทํา ให้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ตาย หรื อ
เจริ ญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์
                 7. การแย่ งชิง การแย่งชิ งกันนี้ ทาให้สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถแสวงหาทรัพยากรได้ตองล้ม
                                                    ํ                                               ้
ตายไป เช่น ในบริ เวณป่ าที่ตนไม้ใหญ่ถูกทําลายลง ย่อมเป็ นการยากอย่างยิงที่จะให้ป่าชนิดเจริ ญนั้น
                                   ้                                             ่
                                                                             ่
ขึ้นมาเองได้อีก เพราะเมื่อต้นไม้ใหญ่ถูกทําลายลงทําให้พืชที่ข้ ึนอยูบริ เวณนั้น ได้รับอาหารจากดิน
มากขึ้นจึงเจริ ญเติบโตขึ้นมาทดแทน
                 8. การกินซึ่งกันและกัน ในระบบนิเวศที่ขาดสมดุลในเรื่ องการกินซึ่ งกันและกัน จะทําให้
เกิดปั ญหาขึ้น เช่น ในทุ่งที่ปลูกข้าวโพด จะมีแมลงมากินและทําลายข้าวโพดเสี ยหาย เพราะไม่มี
สัตว์อื่นมาจับตักแตนกินเป็ นอาหาร ซึ่งทําให้ตกแตนแพร่ พนธ์ได้อย่างรวดเร็ วนันเอง
                      ๊                                ั๊             ั             ่
                 9. ปรสิ ต พวกปริ สิตอาจถือเป็ นพวกที่กินซึ่ งกันและกันก็ได้ แต่มีขอแตกต่างที่ว่าพวก
                                                                                      ้
ปรสิ ตจะดูดกินพืชและสัตว์อื่นๆ เป็ นอาหารโดยที่พชและสัตว์น้ นจะไม่ตายโดยทันที
                                                            ื             ั

       ระบบนิ เวศแต่ละประเภทดังกล่าวแล้วข้างต้นจะมีลกษณะองค์ประกอบที่ สําคัญ 2 ส่ วน
                                                         ั
ใหญ่ๆ คือ ลักษณะโครงสร้าง (Structure) และหน้าที่หรื อกิจกรรม (Function) ในระบบนิเวศทุก
ประเภทย่อ มมี พ้ื น ฐานลัก ษณะขององค์ป ระกอบทั้ง สองประการนี้ แต่ จ ะต่ า งกัน ตรงที่ ค วาม
หลากหลายและความสลับซับซ้อนของลักษณะโครงสร้างและหน้าที่หรื อกิจกรรมของสังคมในแต่
ละระบบนิเวศมากน้อยเพียงใดเท่านั้น

ลักษณะโครงสร้ างของระบบนิเวศ (Ecosystem Structure)
       ลักษณะโครงสร้างหรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ องค์ประกอบของระบบนิเวศนันเอง ระบบนิเวศทุก
                                                                        ่
ประเภทย่อมมีพ้ืนฐานองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือลักษณะโครงสร้างหรื อองค์ประกอบ
ของระบบนิ เวศนั้นมีส่วนประกอบสําคัญ ซึ่ งพอจะแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่ วนใหญ่ คือ ส่ วนประกอบ
อชี วนหรื อสิ่ งที่ ไม่ มีชีวิต (Abiotic Component) และส่ วนประกอบชี วนหรื อสิ่ งมี ชีวิต (Biotic
     ั                                                                ั
Component) และรายละเอียดแต่ละส่ วน พอที่จะกล่าวสรุ ปได้ดงนี้ ั
       1. ส่ วนประกอบอชีวนหรื อสิ่ งที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Component)
                                    ั
12


                ส่ วนประกอบอชีวนหรื อสิ่ งที่ไม่มีชีวิตในระบบนิ เวศรวมถึง อนินทรี ยวัตถุ (Inorganic
                                ั
Substances) อันได้แก่ พวกธาตุ อาหาร (Nutrient) เกลือแร่ นํ้า และพวกอินทรี ยวัตถุ (Organic
Substances) เช่น พวกซากพืชซากสัตว์ ซึ่ งจะถูกพวกจุลชีวนย่อยสลายไปในที่สุด ซึ่ งพวกสารต่างๆ
                                                            ั
ดัง กล่ า วนี้ จะมี ป ระมาณมากน้ อ ยเปลี่ ย นแปรไปตามแต่ ล ะพื้ น ที่ นอกจากนี้ สภาพภู มิ อ ากาศ
(Climatic Condition) ก็เป็ นส่ วนที่สาคัญอันหนึ่ งในองค์ประกอบอชีวนอีกด้วย เช่น อุณหภูมิ แสง
                                     ํ                                 ั
ฝน ความชื้น เหล่านี้ เป็ นต้น ในทํานองเดียวกันสภาพสิ่ งแวดล้อมเหล่านี้ ก็แปรเปลี่ยนไปตามแต่ละ
สภาพพื้นที่เช่นเดียวกัน




                      ระบบนิเวศหนองนําและองค์ ประกอบของระบบนิเวศ
                                      ้
                                 ที่มา: Miller, 2002 : 78

        2. ส่ วนประกอบชีวนหรื อสิ่ งที่มีชีวิต (biotic component)
                           ั
            องค์ประกอบชี วนหรื อสิ่ งที่มีชีวิตในระบบนิ เวศ สามารถจําแนกออกเป็ น 3 ประเภท
                             ั
ใหญ่ๆ คือ
           (1) ผูผลิต (Producer Organisms) หมายถึงพวกที่สร้างอินทรี ยสารโดยใช้พลังงาน
                 ้
แสงอาทิตย์และอนินทรี ยสารจากสิ่ งแวดล้อมขึ้นใช้เองได้ ผูผลิตนี้ส่วนใหญ่เป็ นพืชที่มีคลอโรฟิ ลด์
                         ์                                 ้
เป็ นองค์ประกอบที่ สํา คัญอาจจะมี ขนาดเล็กหรื อใหญ่ ก็ได้ เช่ น พวกขนาดเล็กซึ่ ง ต้องใช้กล้อง
13


จุลทรรศน์ส่องดู ได้แก่ พวกไดอะตอม พวกแพลงตอนพืชชนิดต่างๆ และพวกมีขนาดใหญ่ข้ ึนมา
เช่น พวกสาหร่ ายและพวกสุ ดท้ายที่มองเห็นได้อย่างชัดแจ้ง เช่น ต้นหญ้า ต้นไม้ เป็ นต้น
           (2) ผูบริ โภค (Consumer Organisms) ซึ่ งหมายถึง พวกที่ตองพึ่งพาอาศัยสิ่ งที่มีชีวิต
                    ้                                                   ้
พวกอื่นในการสังเคราะห์อาหารเพราะตัวเองไม่สามารถสร้างอินทรี ยสารได้ ซึ่งแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มแรก ได้แก่ ผูบริ โภคขั้นปฐมภูมิ (Primary Consumers) หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ พวกที่กินพืชเป็ น
                  ้
อาหาร (Herbivores) เช่น พวกกวาง เก้ง ฯลฯ และกลุ่มที่สอง คือ ผูบริ โภคขั้นทุติยภูมิ (Secondary
                                                                      ้
Consumers) หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ พวกที่กินสัตว์เป็ นอาหาร (Carnivores) เช่น พวกเสื อ นกบางชนิด
ฯลฯ ส่ วนกลุ่มสุ ดท้ายเป็ นพวกอยูนอกเหนื อจากทั้งสองประเภทที่กล่าวมาแล้วคือ เป็ นพวกกินได้
                                     ่
ทั้งพืชและสัตว์ หรื อที่เรี ยกว่าพวก Omnivores ได้แก่ มนุษย์ เป็ นต้น




                       ระบบนิเวศทุ่งหญ้ าและองค์ ประกอบของระบบนิเวศ
                                    ที่มา: Miller, 2002 : 78

                  ้่
         (3) ผูยอยสลาย (Decomposer Organisms) พวกนี้ หมายถึงพวกจุลชีวนทั้งหลายที่จะั
ช่วยในการทําลายหรื อย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์ให้เน่ าเปื่ อยผุพง จนในที่สุดจะสลายตัวเป็ น
                                                                      ั
ธาตุอาหารและปุ๋ ยซึ่งสะสมเป็ นแหล่งธาตุอาหาร (Nutrient Pool) ในดินเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อผูผลิต้
คือพวกพืชสี เขียวต่อไป
                 จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ซึ่งเป็ นเรื่ องของลักษณะโครงสร้างหรื ออีกนัยหนึ่งคือ
องค์ประกอบของระบบนิเวศ ในระบบนิเวศประเภทใดๆ ก็ตามจะต้องมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน
14


หรื อ คล้า ยคลึ ง กัน แต่ จ ะแตกต่ า งกันไปก็ต รงประมาณหรื อ คุ ณ ภาพในส่ ว นประกอบของและ
ประเภทองค์ประกอบเท่านั้น ทั้งนี้อาจจะกล่าวได้คือในกรณี ส่วนประกอบอชีวนในระบบนิเวศหนึ่ง
                                                                              ั
อาจจะมี ประมาณแร่ ธาตุอาหาร ปริ มาณนํ้าต่ างกันกับอีกระบบนิ เวศหนึ่ งหรื อมีสภาพภูมิอากาศ
แตกต่างกัน เช่น อุณหภูมิ แสง ความชื้ น เป็ นต้น สําหรับในส่ วนประกอบชีวนหรื อสิ่ งที่มีชีวิตนั้น
                                                                            ั
ในระบบนิ เวศหนึ่ งไม่ว่าจะเป็ นผูผลิต ผูบริ โภค หรื อผูสลายตัวก็ตาม อาจจะแตกต่างกันในเรื่ อง
                                     ้     ้           ้
ความหลากหลายเกี่ยวกับชนิด (Species) ปริ มาณ รู ปชีวิต (Life Form) และมวลชีวภาพ (Biomass)
เป็ นต้น และลักษณะต่างๆ ดังกล่ าวนี้ ในระบบนิ เวศหนึ่ งๆ อาจจะมี การเปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน
ปริ มาณและคุณภาพเป็ นไปตามสภาพของสิ่ งแวดล้อมของแต่ละระบบนิเวศนั้น

หน้ าทีและกิจกรรมของระบบนิเวศ (Ecosystem functions)
        ่
               ในระบบนิเวศที่มีอยู่ทุกแห่ งบนพื้นโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็ นระบบนิ เวศบนบก เช่น ระบบ
นิ เ วศป่ าไม้ หรื อ ระบบนิ เ วศในนํ้า เช่ น ระบบนิ เ วศนํ้า กร่ อ ยหรื อ ระบบนิ เ วศนํ้า จื ดก็ต ามจะมี
กิจกรรมหรื อหน้าที่เกิดขึ้นภายในระบบทั้งสิ้ น เช่น มีการถ่ายทอดพลังงานกันระหว่างสมาชิ กใน
โครงสร้าง (Structure Members) และ มีการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนสาร แร่ ธาตุอาหารในแต่ละส่ วน
ของระบบนิเวศ
               การถ่ายทอดพลังงาน (Energy Flow) และ การหมุนเวียนของสารและแร่ ธาตุอาหาร
(Mineral or Nutrient Cycling) ถือว่าเป็ นหน้าที่หรื อกิจกรรม (Functions) หลักที่สาคัญซึ่ งเกิดขึ้นใน
                                                                                     ํ
ระบบนิ เวศ และเป็ นเรื่ องที่นกนิ เวศวิทยาจะต้องเข้าใจว่ามีกลไกหรื อขบวนการอย่างไร ความรู ้ใน
                                ั
เรื่ องทั้งสองนี้จะเป็ นแนวทางที่สาคัญในการที่จะปรับปรุ งระบบนิเวศ โดยพยายามจัดการอย่างชาญ
                                    ํ
ฉลาดเพื่อให้องค์ประกอบที่สาคัญต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้วให้อยู่ในระดับที่สมดุลซึ่ งกันและกัน
                                  ํ
และในขั้นสุ ดท้ายจะทําให้ระบบนิ เวศอยู่ในภาวะสมดุลอย่างสมํ่าเสมอโดยให้มีการเปลี่ยนแปลง
หรื อผิดแผกไปจากสภาวะปกติตามธรรมชาติให้นอยที่สุด  ้

        การถ่ ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ (Energy Flow in Ecosystem)
        ดวงอาทิตย์นบว่าเป็ นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ที่สุดของระบบนิ เวศของโลก โดยให้พลังงาน
                     ั
ในรู ปของแสงสว่างและการแผ่รังสี ชนิ ดต่างๆ ผ่านจากอวกาศ บรรยากาศเข้าสู่ บรรดาระบบนิ เวศ
ธรรมชาติ เช่น ป่ า ทะเล ทุ่งหญ้า นา บ่อ บึง ฯลฯ จากการศึกษาพบว่าดวงอาทิตย์มีสภาพคล้ายเตา
ปฏิกรณ์ปรมาณู มีอุณหภูมิที่ผิวสู งประมาณ 5,700 องศาเซลเซี ยส มีองค์ประกอบที่เหมาะสมที่จะ
ทําให้ธาตุไฮโดรเจนรวมตัวเข้าด้วยกันเป็ นธาตุฮีเลี่ยม พร้อมกับการปลดปล่อยพลังงานจํานวนมาก
ในรู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มีการแผ่รังสี ท้ งหมดของแสงตั้งแต่ช่วงคลื่นยาวที่สุดหรื อมีพลังงาน
                                              ั
15


ตํ่าสุ ดถึงช่วงคลื่นสั้นสุ ดหรื อพลังงานสู งสุ ด รังสี เหล่านี้เรี ยงตามลําดับพลังงานตํ่าสุ ดถึงสู งสุ ดได้แก่
คลื่นวิทยุ (Radio wave) อินฟราเรด (Infrared) รังสี มองเห็นได้ (Visible Light) รังสี อลตราไวโอเลต
                                                                                             ั
(Ultraviolet ray) รังสี X (X-ray) และรังสี แกมม่า (R-ray) สําหรั บรังสี อลตราไวโอเลต จะอยู่ใน
                                                                                  ั
ระหว่างแสงที่มองเห็นได้กบรังสี X ช่วงคลื่นของรังสี เหล่านี้ และพลังงานจากดวงอาทิ ตย์ที่เข้าสู่
                                 ั
ระบบนิ เวศนั้นจะเป็ นพลังงานชุดใหม่เสมอไม่มีการหมุนเวียน จึงเป็ นลักษณะของ Renewable
energy ไม่ใช่ Recycled energy
           ปริ มาณพลังงานที่ผิวโลกได้รับในวันที่ทองฟ้ าแจ่มใสประกอบด้วยพลังงานที่มีช่วงคลื่น
                                                         ้
ระหว่าง Ultraviolet ถึ งช่ วงคลื่น Infrared ดังนี้ อัลตราไวโอเลต 15 เปอร์ เซ็ นต์ แสงที่ เห็ นได้
45 เปอร์เซ็นต์ และอินฟราเรด 35 เปอร์เซนต์ ปริ มาณพลังงานจากดวงอาทิตย์ (Solar Energy) ห้าสิ บ
ในล้านส่ วนเท่ านั้นที่ มาถึ งผิวด้านนอกของบรรยากาศของโลกด้วยอัตราที่ คงที่ ซึ่ งในจํานวนนี้
ประมาณกว่า 30 เปอร์ เซนต์จะสะท้อนหายไปในอวกาศเนื่ องจากองค์ประกอบของบรรยากาศ
เมฆและผิวโลก อีก 20 เปอร์ เซนต์ของการแผ่รังสี จะสู ญหายไปเนื่ องจากสาเหตุต่างๆ โดยที่ส่วน
หนึ่ งถู ก จับ ด้ ว ยโมเลกุ ล ของออกซิ เ จนและโอโซน (O3) ในชั้ น บรรยากาศสตราโตสเฟี ยร์
(Stratosphere) โดยเฉพาะช่วงแสงของอุลตราไวโอเลต (UV) โอโซนในชั้นนี้จึงทําหน้าที่กรองแสง
หรื อดูดแสง UV ทําให้แสง UV เข้าสู่ โทรโปสเฟี ยร์ (Troposphere) ซึ่ งเป็ นชั้นบรรยากาศที่อยูใกล้         ่
ผิวโลกมากที่สุดได้นอยลง จึงเป็ นการป้ องกันสิ่ งมีชีวิตไม่ให้ถูกแสงมากเกินไปซึ่งอาจเป็ นอันตราย
                        ้
ได้ เมื่อถึงชั้นโทรโปสเฟี ยร์จะมีอากาศและละอองนํ้าดูดกลืนแสงไว้ได้มากที่สุด เป็ นเหตุให้บริ เวณ
ใกล้ผิวโลกอุ่นที่สุดและจะค่อยๆ เย็นลงเมื่อสู งขึ้นไป พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่เข้าสู่ บรรยากาศชั้น
นี้ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์ จะสะท้อนกลับเนื่องจากฝุ่ นละออง ในที่สุดที่เหลืออีก 50 เปอร์ เซนต์ของ
พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่จะมาถึงโลก ส่ วนใหญ่เป็ นรังสี อินฟราเรดเท่านั้นที่ผ่านและถูกดูดจับใน
รู ป ของพลังงานความร้ อนโดยแผ่นดิ นและมหาสมุ ท ร และพลังงานที่ ผิว โลกได้รับนั้นมี อตรา                    ั
ลดหลันและเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล
        ่
16




                            การถ่ ายทอดและการถ่ ายเทพลังงานของโลก
                                        ที่มา: Miller, 2002 : 75
          จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า สารพิษบางชนิด เช่น ไนโตรเจนไดออกไซด์ และ
สารจําพวกฟรี ออน (Freon) จากการใช้น้ ายาเคมีฉีดพ่น (Spray) ทั้งหลาย ทําให้ปริ มาณโอโซน (O3)
                                            ํ
ในชั้นสตราโตสเฟี ยร์ลดลง (ชั้ นโอโซนอยูห่างจากผิวโลกประมาณ 15 ถึง 45 กิโลเมตร) นอกจากนี้
                                              ่
คลื่นเสี ยงของเครื่ องบินในระดับสู งก็เป็ นที่เข้าใจกันว่า เป็ นตัวการหนึ่ งที่ทาลายโอโซนซึ่ งหากชั้น
                                                                                ํ
โอโซนถูกทําลาย ปริ มาณรังสี จากดวงอาทิตย์จะมาถึงโลกมากขึ้น ทําให้เกิดผลเสี ยคือมนุ ษย์และ
สัตว์จะเกิดผิวหนังไหม้เกรี ยมและเกิดมะเร็ งที่ผวหนัง
                                                   ิ
          พลังงานการแผ่รังสี จากดวงอาทิตย์ท้ งหมดที่ชีวาลัยได้รับประมาณ 1.3 x 1023 กิโลคาลอรี่
                                                 ั
ต่อปี จะถูกนํามาใช้ในระบบนิ เวศเพื่อการสังเคราะห์ แสงประมาณ 1 เปอร์ เซนต์เท่านั้น ดังนั้น
                                    ่ ั
พลังงานของโลกทางชีวภาพขึ้นอยูกบขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชและจุลินทรี ยที่สังเคราะห์     ์
แสงได้ ซึ่ งหมายถึ งผูผ ลิ ตนั้นเอง ผูผลิ ตในระบบนิ เ วศเป็ นพวกแรกที่ มีคลอโรฟิ ลล์สํา หรั บ จับ
                        ้             ้
พลังงานจากแสงอาทิ ตย์ไว้ใช้ในขบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง แล้วทําการเปลี่ ยนสารโมเลกุล
ง่ายๆ เช่น คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO3) และนํ้า (H2O) ให้เป็ นสารประกอบที่มีโครงสร้างซับซ้อน
และมีพลังงานสู ง คือ คาร์ โบไฮเดรต (CH2O)n ได้แก่ นํ้าตาลกลูโคส (C6H12O6) นอกเหนือจากที่เป็ น
องค์ประกอบที่สาคัญโดยตรง คือ คาร์บอนไดออกไซด์และนํ้าแล้ว พืชสี เขียวยังต้องการแร่ ธาตุและ
                 ํ
สารประกอบอนินทรี ยอื่นๆ อีกหลายชนิดมาเกี่ยวข้องในขบวนการเจริ ญเติบโตอีกด้วย
                          ์
17




                                การถ่ ายเทและการสู ญเสี ยพลังงาน
                                      ที่มา: Miller, 2002 : 66
        พลังงานที่ ผูผลิตรับไว้จากดวงอาทิ ตย์ และเปลี่ยนไปอยู่ในรู ปของสารอาหารนี้ จะมีการ
                     ้
ถ่ายทอดไปตามลําดับขั้นของการกินอาหารภายในระบบนิ เวศ คือ ผูบริ โภคจะได้รับพลังงานจาก
                                                                 ้
ผูผลิตโดยการกินต่อกันเป็ นทอดๆ ในแต่ละลําดับขั้นของการถ่ายทอดพลังงานนี้ พลังงานจะค่อยๆ
  ้
ลดลงไปในแต่ละลําดับเรื่ อยๆ ไป เนื่องจากได้สูญเสี ยออกไปในรู ปของความร้อน




                            การสู ญเสียพลังงานในห่ วงโซ่ อาหาร
                                   ที่มา: Miller, 2002 : 66
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์Pattapong Promchai
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติJune Fghijklmnopqrsteovl
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015
Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015
Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015kim chi
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยคู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยSupakarn Yimchom
 
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการweeraboon wisartsakul
 
An toàn khi làm việc với hoá chất
An toàn khi làm việc với hoá chấtAn toàn khi làm việc với hoá chất
An toàn khi làm việc với hoá chấtHữu Nghĩa Đặng
 

La actualidad más candente (20)

การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015
Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015
Luật an toàn lao động, vệ sinh lao động 2015
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยคู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
 
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
 
An toàn khi làm việc với hoá chất
An toàn khi làm việc với hoá chấtAn toàn khi làm việc với hoá chất
An toàn khi làm việc với hoá chất
 

Destacado

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมJunjira Wuttiwitchai
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์nopjira
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
กฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อมกฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อมsumrit22
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่Lilrat Witsawachatkun
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATIONรายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATIONPreedaphol Yaisawat
 

Destacado (15)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม
 
กฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อมกฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATIONรายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATION
 

Similar a สิ่งแวดล้อม

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติApinun Nadee
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยninjynoppy39
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมQuartz Yhaf
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 

Similar a สิ่งแวดล้อม (20)

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

สิ่งแวดล้อม

  • 1. บทที่ 1 สิ่ งแวดล้ อม ทรัพยากรธรรมชาติ และนิเวศวิทยา ความหมายของสิ่ งแวดล้ อม สิ่ งแวดล้อม (Environment) รากศัพท์เคมีจากภาษาฝรั่งเศส Environ แปลว่า around ฉะนั้น Environment จึงหมายถึง Totality of man’s surroundings ในภาษาไทยหมายถึง ทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยู่ รอบตัวมนุษย์ ทั้งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็ น รู ปธรรมและนามธรรม จากความหมายนี้ สามารถกล่ า วอี กนัยหนึ่ งได้ว่า สิ่ งแวดล้อมหมายถึ ง ่ “สิ่ งต่างๆ ที่อยูรอบตัวเรา” เป็ นคํานิยามสั้นๆ ง่ายต่อการเข้าใจและชี้ให้เป็ นว่าสิ่ งแวดล้อมในโลกนี้ เป็ นทุกสิ่ งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็ นสิ่ งของหรื อบ้านเรื อน ถนน ดิน นํ้า ป่ าไม้ วัฒนธรรม ประเพณี ฯลฯ ความหมายของสิ่ งแวดล้อมคําหลังนี้ จึงสะท้อนความหมายของความหมายแรกอย่างชัดเจนและถูก ใช้ในทุกวงการ (เกษม, 2536) สิ่ งแวดล้อมหรื อสรรพสิ่ งที่อยูรอบตัวเรานั้น ไม่ว่าจะเป็ นอะไรก็ตาม ่ ต่างมีสมบัติเฉพาะตัว 7 ประการ ดังนี้ 1. สิ่ ง แวดล้อ มทุ ก ชนิ ด มี เ อกลัก ษณ์ ที่ เ ด่ น ชัด เฉพาะตัว (Unique) จะอยู่ ที่ ใ ดก็ ต าม เอกลักษณ์ดงกล่าวจะบ่งบอกอย่างชัดเจน เช่น ต้นไม้ มนุษย์ นํ้า บ้าน ถนน ฯลฯ ั 2. สิ่ งแวดล้อมไม่อยูโดดเดี่ยวในธรรมชาติ แต่จะมีสิ่งแวดล้อมอื่นอยูเ่ สมอ เช่น ต้นไม้อยู่ ่ ั กับดิน ปลากับนํ้า มนุษย์กบสังคม ฯลฯ 3. สิ่ งแวดล้อมประเภทหนึ่ งต้องการสิ่ งแวดล้อมอื่นอยู่เสมอ เช่น ป่ าต้องการดินและนํ้า ่ ปลาต้องการนํ้า มนุษย์ตองการที่อยูอาศัย ฯลฯ ้ 4. สิ่ งแวดล้อมจะอยูรวมกันเป็ นกลุ่มหรื อเป็ นระบบ ที่เรี ยกว่าระบบนิเวศ เช่นระบบนิเวศ ่ ป่ าไม้ ระบบนิเวศนํ้า ฯลฯ 5. สิ่ งแวดล้อมทั้งหลายมักมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์ต่อกันและกันเป็ นลูกโซ่ ดังนั้น เมื่อทําลายสิ่ งแวดล้อมหนึ่ งแล้วจะส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมอื่นๆ เป็ นลูกโซ่ เสมอ และเกิดขึ้น หลายๆ ขั้นตอน เช่น การทําลายป่ าจนเสื่ อมโทรม จะส่ งผลให้เกิดการพังทลายของดิน ดินขาดความ ่ อุดมสมบูรณ์ อ่างนํ้า ลําธารตื้นเขิน สัตว์ป่าไม่มีที่อยูอาศัย ฯลฯ 6. สิ่ งแวดล้อมแต่ ละประเภทจะมี ความเปราะบาง แข็งแกร่ ง และทนทานแตกต่ างกัน บางชนิดบางประเภทจะมีความคงทนได้ดี บางชนิดเปราะง่าย เช่นดินมักถูกซะล้างได้ง่าย
  • 2. 2 7. สิ่ งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงนั้นอาจเป็ นการ เปลี่ ยนแปลงชั่ว คราวหรื อ ถาวรก็ไ ด้ เช่ น เมื องทุ กเมื อ งจะค่ อยๆ เติ บโต การทํา ลายป่ าแล้ว เผา จะค่อยๆ มีพืชขึ้นมาทดแทน ฯลฯ สําหรับประเภทสิ่ งแวดล้อมนั้นหากแบ่งตามการเกิด สามารถออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภทดังนี้ 1. สิ่ งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (Natural Environment) อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ก. สิ่ งมีชีวิต (Biotic Environment) เช่น พืชหรื อป่ าไม้ สัตว์และมนุษย์ เป็ นต้น ข. สิ่ งไม่มีชีวิต (Abiotic Environment) เช่น ดิน นํ้า อากาศ ควัน เมฆ เสี ยง เป็ นต้น 2. สิ่ งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man – Made Environment) เช่น บ้าน ถนน สะพาน โต๊ะ เก้าอี้ วัตถุมีพิษ เสี ยง อารมณ์ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา การศึกษา ฯลฯ ซึ่ งสิ่ งแวดล้อมที่ มนุษย์สร้างขึ้นอาจแยกเป็ น 2 ประเภทคือ ก. สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) เป็ นสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น และสามารถมองเห็นได้ เช่น ถนน บ้านเรื อน เมือง สะพาน รถ เครื่ องบิน เรื อ เจดีย ์ วัด สิ่ งก่อสร้าง หรื อ สถาปั ตยกรรม เป็ นต้น ข. สิ่ งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) อาจสร้างขึ้นโดยตั้งใจและไม่ต้ งใจ ั หรื อสร้ า งเพื่อความเป็ นระเบี ยบเรี ยบร้ อยของการอยู่ร่ว มกัน เช่ น วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ รวมไปถึง การทะเลาะวิวาท การส่ งเสี ยงด่าทอ พฤติกรรม ลักษณะท่าทางนักเลง เป็ นต้น ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึงสิ่ งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติซ่ ึ งมนุษย์ สามารถนํามาใช้ประโยชน์ในการดํารงชีพและสนองความต้องการของมนุ ษย์ได้ ได้แก่ นํ้า ป่ าไม้ สัตว์ป่า อากาศ แร่ ธาตุ แสงอาทิตย์ มนุษยชาติ เป็ นต้น ดังนั้น ในแง่เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นปั จจัยที่สาคัญยิ่งอย่างหนึ่ งซึ่ งก่อให้เกิดการผลิต ซึ่ งจะมีประโยชน์ได้ก็ต่อเมื่อได้นามาใช้เพื่อ ํ ํ การเศรษฐกิ จ การใช้จึ ง ต้อ งใช้ด้ว ยความประหยัด และไม่ ใ ห้ สิ้ น เปลื อ งโดยเปล่ า ประโยชน์ การนํามาใช้ตองคํานึงถึงหลักการอนุรักษ์พร้อมกันไปด้วย ้ ทรัพยากรธรรมชาติสามารถแบ่งตามลักษณะของการนํามาใช้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่รู้จกหมดสิ้ น (Non – Exhausting Natural Resources) ั เป็ นทรั พยากรธรรมชาติ ที่ ก่อ กํา เนิ ด มาพร้ อ มกับ มนุ ษ ย์ มี ป ริ ม าณมากเกิ น กว่ า ความต้อ งการที่
  • 3. 3 จะนํ า มาใช้ ป ระโยชน์ แ ต่ ถ ้ า นํ า มาใช้ ผิ ด วิ ธี หรื อขาดการบํ า รุ งรั ก ษาแล้ ว คุ ณ ภาพของ ทรั พ ยากรธรรมชาติ น้ ัน อาจจะเปลี่ ย นไป ทํา ให้ คุ ณ สมบัติ ไ ม่ เ หมาะสมที่ จ ะนํา มาใช้อี ก เช่ น แสงอาทิตย์ อากาศ ดิน นํ้าซึ่ งอยู่ในอุทกวัฏจักร ซึ่ งมีการหมุนเวียนเปลี่ยนสภาพไปโดยไม่สิ้นสุ ด และหากทรัพยากรเหล่านี้หมดเมื่อใด มนุษย์เราก็ตองตายและหมดไปจากโลกนี้ดวย และด้วยเหตุที่ ้ ้ ทรั พ ยากรเหล่ า นี้ ไม่ มี ร าคาในท้อ งตลาด เป็ นสิ น ค้า สาธารณะ เป็ นของฟรี ใ นการที่ จ ะจัด ใช้ ประโยชน์อย่างไรก็ได้ คุณค่าและคุณภาพของทรัพยากรเหล่านี้จึงลดน้อยลง เมื่อถูกใช้มากๆ เข้าจน เกินขีดความสามารถที่ธรรมชาติจะรองรับไว้ได้ ก็จะปรากฏเป็ นปั ญหาขึ้น 2. ทรั พยากรธรรมชาติ ที่ใช้แล้วหมดไป (Exhausting Natural Resources) เป็ น ทรัพยากรธรรมชาติที่นามาใช้แล้วจะสิ้ นเปลืองและหมดไปในที่ สุด เมื่อหมดไปแล้วไม่สามารถ ํ ทดแทนได้ ยางชนิ ด อาจดัด แปลงหรื อ บู ร ณะใหม่ ห รื อ นํา กลับ มาใช้ใ หม่ ไ ด้บ้า ง เช่ น แร่ ธ าตุ ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วสิ้ นเปลืองมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ความสะดวกสบาย การเป็ นเครื่ อง ทุ่นแรง การใช้ทรัพยากรประเภทนี้จึงต้องใช้อย่างประหยัดและระมัดระวัง 3. ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ใ ช้แ ล้ว เกิ ด ขึ้ น ทดแทนหรื อ รั ก ษาให้ ค งอยู่ ไ ด้ (Renewable Resources) เช่น นํ้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ ง ป่ าไม้ ดิน สัตว์ป่า ทุ่งหญ้า กําลังงานของมนุ ษย์ เหล่านี้เป็ น ่ ทรัพยากรที่เกิดขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา หากมีการรักษาหรื อจัดการให้อยูในระดับที่มีความสมดุลกัน ตามธรรมชาติ หรื อหากทําลายลงก็สามารถปรับปรุ งให้คืนสภาพปกติได้ แต่ตองใช้ระยะเวลานาน ้ มาก ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ เกี่ยวข้องกับตัวมนุษย์ มีความสําคัญยิ่งต่อการมีชีวิตของมนุ ษย์ เป็ นทรั พยากรที่ สามารถใช้เป็ นปั จจัยสี่ ท้ งทางตรงและทางอ้อม ถ้าขาดทรั พยากรเหล่ านี้ มนุ ษย์ ั อาจจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ หรื อถ้าส่ วนหนึ่ งส่ วนใดขาดหายไปหรื อไม่สมบูรณ์แล้ว ก็อาจมีผลกระทบ ่ ต่อการมีชีวิตอยูของมนุษย์ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในบรรดาทรัพยากรธรรมชาติท้ งสามประเภทนั้น ประเภทที่ 1 และ 3 ั เท่านั้นที่มีความจําเป็ นต่อการดํารงชีพของมนุษย์ ประเภทที่ 2 นั้นเป็ นทรัพยากรที่เกินความจําเป็ น นอกจากนี้ ทรัพยากรธรรมชาติหากแบ่งโดยพิจารณาในด้านของทรั พยากรธรรมชาติที่เป็ นปั จจัย สําคัญโดยตรงต่อความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์น้ ันมี 7 ประเภท คือ ดิน (Soil Resources) นํ้า (Water Resources) ป่ าไม้ (Forest Resources) สัตว์ป่า (Wildlife Resources) แร่ ธาตุ (Mineral Resources) สถานที่พกผ่อนหย่อนใจ (Recreation Resources) และมนุษย์ (Men Resources) ั จากคําจํากัดความ จะเห็นได้ว่าสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติน้ นมีความคล้ายกันและ ั ต่างกันดังนี้ ก. ความคล้ายกัน เนื่ องจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นบนพื้น พิภพนี้ ดวยกัน ที่สาคัญคือต่างก็เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ สิ่ งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติถาให้ประโยชน์ต่อ ้ ํ ้
  • 4. 4 มนุษย์แล้วเป็ นทรัพยากรธรรมชาติ ขณะเดียวกันสิ่ งที่เกิดขึ้นบนพื้นพิภพก็เป็ นสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้น เองโดยธรรมชาติ จึงพออนุมานได้ว่าสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติน้ นก็คือสิ่ งที่คล้ายกัน ั ข. ความแตกต่ า งกัน จากคํา นิ ย ามสรุ ป ได้ว่ า ทรั พ ยากรธรรมชาติ เ ป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของ สิ่ ง แวดล้อ มและเป็ นกลุ่ มสิ่ ง แวดล้อ มที่ ย อมรั บ กันว่ า เป็ นสิ่ ง ที่ สํา คัญ มาก ทรั พ ยากรธรรมชาติ ทุกชนิ ดทุกประเภทเป็ นสิ่ งแวดล้อม แต่สิ่งแวดล้อมบางประเภทอาจไม่ใช่ทรัพยากรตามธรรมชาติ ก็ได้เพราะโดยความหมายของทรั พยากรตามธรรมชาติ น้ น จะเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและ ั มีประโยชน์ต่อมนุษย์ แต่สิ่งแวดล้อมนั้นอาจเป็ นอะไรก็ได้ที่เกิดโดยธรรมชาติที่ให้ประโยชน์หรื อ ไม่ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์กได้ ็ ความหมายของนิเวศวิทยา “นิ เวศวิทยา” หรื อตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Ecology” เป็ นศัพท์ที่ค่อนข้างใหม่สําหรับบ้าน เรา แต่ความจริ งแล้วคํานี้เริ่ มนํามาใช้เป็ นศัพท์ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ในปี ค.ศ. 1865 โดยมี ผูนามาใช้เป็ นครั้งแรกคือ Reither และ Haeckle (Kormondy, 1965) คําว่า “Ecology” เป็ นการรวมคํา ้ ํ ่ จากภาษากรี กเข้าด้วยกันสองคําคือ Okios ซึ่ งแปลว่า ที่อยูหรื อบ้าน (Home) กับ Logos ซึ่ งแปลว่า การศึกษา (the study of) ดังนั้นความหมายรวม หมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ ในบริ เวณที่อยู่ หรื อบ้านนันเอง่ กล่ า วโดยสรุ ป หมายถึ ง การศึ ก ษาที่ ว่ า ด้ว ยความสั มพัน ธ์ ที่ มี ต่ อ กัน (Interrelationship) ระหว่างสิ่ งมีชีวิต (Organisms) กับสิ่ งแวดล้อม (Environment) ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันนี้ หมายถึง เป็ นการศึกษาถึงอิทธิ พลของสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อสิ่ งมีชีวิตและในขณะเดียวกันก็ศึกษาว่าสิ่ งมีชีวิตมี อิทธิ พลต่อสิ่ งแวดล้อมในขณะนั้นอย่างไรด้วย สิ่ งที่มีชีวิตในที่น้ ีหมายถึงสิ่ งที่มีชีวิตทุกชนิ ดรวมทั้ง พืชและสัตว์ จากเซลล์เดียว เช่น สาหร่ ายจนถึงไม้ยนต้น จากไวรัสและอมีบาจนถึงมนุษย์ ื ปั จจุบนถึงแม้ว่ายังมีนกนิเวศวิทยาหลายท่านมุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งที่มีชีวิตแต่ ั ั ละชนิ ดกับสิ่ งแวดล้อม แต่ก็ยงมีนกนิ เวศวิทยาอีกหลายท่านเช่นกันที่มุ่งศึกษาเรื่ องของสังคมของ ั ั สิ่ งมีชีวิตทั้งหมด (Community) ซึ่งก็คือ การศึกษาเรื่ องทั้งหมดหรื อทั้งระบบของบ้านนันเอง ่ เนื่ องจากในความเป็ นจริ งสิ่ งที่ มีชีวิตทั้งหลายมิ สามารถจะอยู่อย่างโดดเดี่ ยวได้จา เป็ น ํ ่ ้ จะต้องอาศัยร่ วมอยูดวยกัน โดยพึ่งพาปั จจัยสิ่ งแวดล้อมทั้งกายภาพและชีวภาพในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใด อย่างมีระบบ ดังนั้น คําว่า “ระบบนิเวศ” หรื อตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Ecosystem” จึงได้เกิดขึ้น
  • 5. 5 ระดับต่ างๆ ของสาร (Organization of Matter in nature) ที่มา: Miller, 2002 : 72 ั และเริ่ มนํามาใช้กนประมาณปี ค.ศ. 1935 โดยนักนิเวศวิทยาชาวอังกฤษ แต่ในปั จจุบนนี้คาว่าระบบ ั ํ ั นิเวศ หรื อ Ecosystem ได้นามาใช้กนแพร่ หลายในเกือบทุกสาขาวิชา เช่น ระบบนิเวศป่ าไม้ (Forest ํ Ecosystem) ระบบนิ เวศทุ่งหญ้า (Grassland Ecosystem) และระบบนิ เวศเอสทูรีน หรื อปากอ่าว (Estuarine Ecosystem) เป็ นต้น ความหมายของระบบนิ เ วศนั้น หมายถึ ง ระบบที่ มี ค วาม สลับซับซ้อนของสิ่ งมี ชีวิตที่ อยู่ร่วมกันและการกระทําร่ วมกัน ไม่ ว่า จะเป็ นระหว่างสิ่ งที่ มีชีวิต ด้วยกันหรื อกับสิ่ งที่ไม่มีชีวิตในพื้นที่หรื ออาณาเขตหนึ่ งอาณาเขตใด และจะเป็ นระบบเปิ ด ทั้งนี้ เพราะในระบบนิ เวศหนึ่ งจะมี กิจกรรมเกิ ดขึ้นหลายอย่างและมี ความเกี่ ยวเนื่ องซึ่ งกันและกันทั้ง
  • 6. 6 ภายในและภายนอกระบบ เป็ นต้นว่า มีการถ่ายทอดพลังงานและแร่ ธาตุไปสู่ หรื อได้จากระบบอื่นๆ ที่ อยู่ใกล้เคียงหรื อห่ างไกลอีกด้วยอย่างไรก็ดี ระบบนิ เวศ ความหมายที่เข้าใจได้ค่อนข้างง่ายคื อ เป็ นระบบที่แสดงถึงความเป็ นอยู่ร่วมกันของสิ่ งทั้งหลาย ทั้งไม่มีชีวิตและมี ชีวิตในถิ่นที่อยู่อาศัย หรื อเป็ นระบบของบ้านนันเอง ระบบนิเวศ หรื อ Ecosystem มีอีกคําหนึ่งที่มีความหมายเช่นเดียวกัน ่ ั คือ Biogeocoenose ซึ่ งนิ ยมใช้กนมากระหว่างนักนิ เวศวิทยาในประเทศแถบยุโรป เช่ น ประเทศ เยอรมันและรัสเซีย เป็ นต้น ประเภทของระบบนิเวศ ชี วมณฑล (Biosphere) เป็ นแหล่งที่ อยู่ของสิ่ ง มี ชีวิตของโลกอันกว้า งใหญ่ สิ่ ง มี ชีวิ ตใน ชีวมณฑลมีความหลากหลายอย่างมาก เช่นเดียวกับถิ่นที่อยู่ (Habitats) ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิต กับสิ่ งแวดล้อมในพื้นที่หนึ่งๆ ย่อมมีความแตกต่างกัน ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตกับสิ่ งแวดล้อมใน พื้นที่หนึ่ งบางครั้งใช้คาภาษาอังกฤษว่า Ecosphere (Cole,1958) ดังนั้นจะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ ํ ของสิ่ งที่มีชีวิตกับสิ่ งแวดล้อมจะมีสถานะภาพที่แตกต่างกันตามแต่ลกษณะของสิ่ งแวดล้อมและ ั สภาพพื้ น ที่ ห รื อ แหล่ ง ที่ อ ยู่ที่ ต่ า งกัน เพื่ อ เป็ นการศึ ก ษาให้ เ ข้า ใจระบบนิ เ วศพื้ น พิ ภ พหรื อ ใน ชี ว มณฑลให้ เ ข้า ใจอย่ า งถ่ อ งแท้ แ ละชั ด เจนและยัง สามารถจั ด การและใช้ ป ระโยชน์ ข อง ทรั พยากรธรรมชาติ เหล่ านี้ ให้เกิ ดผลอย่างยังยืนโดยปราศจากการทําลายระบบนิ เวศได้อีกด้วย ่ นักนิเวศวิทยาจึงได้แบ่งระบบนิเวศจากภูเขาไปสู่ ทะเลเป็ น 2 ระบบนิเวศใหญ่ คือ ระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystems) และระบบนิเวศในนํ้า (Aquatic Ecosystems) (1) ระบบนิ เ วศบนบก (Terrestrial Ecosystems) ระบบนิ เ วศบนบกมี ค วาม หลากหลาย จากการจําแนกโดยใช้พนธุ์พชลักษณะเด่น (Dominant Species) เป็ นตัวกําหนดประเภท ั ื ระบบนิเวศ (Odum, 1971) พันธุ์พืชลักษณะเด่นในแง่ของนิเวศวิทยา หมายถึง พันธุ์พืชหรื อกลุ่มพืช ที่มีบทบาทสําคัญต่อหน้าที่และกิจกรรมต่างๆ ที่ เกิดขึ้นในระบบนิ เวศนั้น หากพันธุ์พืชชนิ ดนี้ ถูก ทําลาย ระบบนิ เวศประเภทนี้ จะเปลี่ ยนสภาพเป็ นระบบนิ เวศประเภทอื่นได้ ระบบนิ เวศบนบก สามารถจําแนกได้หลายระบบนิ เวศตามลักษณะเด่นของพันธุ์พืชดังกล่าวแล้วข้างต้น เช่ น ระบบ นิเวศป่ าไม้ ซึ่งสามารถแบ่งเป็ นระบบนิเวศย่อยอีกได้ เช่น ระบบนิเวศป่ าดงดิบ ระบบนิเวศป่ าเต็งรัง เป็ นต้น นอกจากนี้ระบบนิเวศบนบกยังรวมไปถึงระบบนิเวศลุ่มนํ้า ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ระบบนิเวศ ทุนดร้า ระบบนิเวศทะเลทราย และระบบนิเวศการเกษตร เหล่านี้เป็ นต้น (2) ระบบนิเวศในนํ้า (Aquatic Ecosystems) ระบบนิเวศในนํ้า ได้จาแนกบนพื้นฐาน ํ ความเค็มหรื อความเข้มข้นของเกลือ (Salt Content) ละลายในนํ้า (Kormondy,1969) สามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ ระบบนิเวศนํ้าจืด (Freshwater Ecosystems) ระบบนิเวศนํ้ากร่ อย (Brackish
  • 7. 7 Water Ecosystems) และระบบนิเวศนํ้าเค็ม (Marine หรื อ Saline Water Ecosystems) โดยระบบ นิเวศนํ้าจืดรวมถึงระบบนิเวศย่อยอีกหลายระบบ เช่นระบบนิเวศบึงนํ้าจืด ระบบนิ เวศทะเลสาบนํ้า จืด ระบบนิ เวศพรุ น้ าจืด และระบบนิเวศลําธาร เป็ นต้น เช่นเดียวกับระบบนิเวศนํ้ากร่ อยซึ่ งรวมถึง ํ ระบบนิเวศย่อยอีกหลายระบบ เช่น ระบบนิเวศป่ าชายเลน ระบบนิเวศพรุ น้ ากร่ อย เป็ นต้น สําหรับ ํ ระบบนิเวศทางทะเลหรื อนํ้าเค็มรวมถึงระบบนิ เวศที่สาคัญ คือ ระบบนิ เวศหญ้าทะเล และปะการัง ํ เป็ นต้น พฤติกรรมของสิ่ งแวดล้ อมในระบบนิเวศ ่ ่ ในธรรมชาติ ระบบนิเวศจะอยูในภาวะสมดุล กล่าวคือ สิ่ งต่างๆ ที่อยูในระบบนิ เวศนั้นจะ ควบคุมตัวเอง (Self Regulation) และรักษาสภาพตัวเอง (Self Maintenance) ได้ การที่ระบบนิเวศ สามารถคงสภาพสมดุลตามธรรมชาติ เพราะตัวควบคุ มองค์ประกอบภายในระบบจะพยายาม ต่อต้านและปรับปรุ งให้เกิดสภาพดังกล่าวตลอดเวลา ซึ่ งเรี ยกการต่อต้านและปรับปรุ งนี้ ว่า การคง สภาพ หรื อ Homeostasis ทําให้ระบบนิเวศหนึ่ งๆ ไม่มีประชากรหรื อสิ่ งมีชีวิตมากเกินสมรรถนะ การยอมมีได้ (Carrying Capacity) ได้ ทั้งนี้เป็ นเพราะว่ามี ปั จจัยจํากัด (Limiting Factor) ซึ่ งเป็ น องค์ประกอบที่มีนอยหรื อมากเกินไป ในทํานองเดียวกันอาจมีปัจจัยชดเชย (Compensation Factor) ้ ภายในระบบช่วยให้สิ่งแวดล้อมหนึ่ งที่มีนอยหรื อมากเกินไปถูกจํากัด โดยปั จจัยอื่นๆ ทําให้ปัจจัย ้ จํากัดไม่เกิดผลได้ เช่น กรณี ก๊าซพิษปนเปื้ อนในอากาศ แต่กมีฝนที่จะช่วยให้ความเป็ นพิษสลายตัว ็ ไปได้ ทําให้ระบบนิ เวศอยู่ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิ ทธิ ภาพ โดยธรรมชาติแล้ว ภายในระบบ นิ เวศหนึ่ งๆ จะมีปัจจัยการชดเชยซึ่ งกันและกัน เรี ยกว่าพฤติกรรมของสิ่ งแวดล้อมในระบบนิ เวศ ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ปั จจัยจํากัดความสามารถ (Limiting Factors) และ สมรรถนะการยอมมีได้ (Carrying Capacity) หมายถึง ในระบบนิเวศหนึ่งๆ ถ้าหากมีปัจจัยใดก็ตามที่มีความจําเป็ นสําหรับ สิ่ งมีชีวิต แต่กลายมาเป็ นปั จจัยที่ขาดแคลนมากที่สุด ปั จจัยนี้ ก็จะกลายเป็ นตัวกําหนดการปรากฎ ของพืชและสัตว์เฉพาะสกุลในระบบนิเวศนั้น เรี ยกปั จจัยดังกล่าวว่า “ปั จจัยจํากัดความสามารถ” (1: 46) และในระบบนิ เวศที่แตกต่างกัน อาจมีสมรรถนะการยอมมีได้ของสิ่ งแวดล้อมแตกต่างกันได้ อันเนื่องมาจากปั จจัยจํากัด 2. ขีดจํากัดความอดทน (Tolerance Limits) คือ ระดับสู งสุ ดของปั จจัยจํากัดความสามารถ กล่าวคือหากความสมดุลของระบบนิ เวศอยู่เกินกว่าขี ดดังกล่าวแล้วก็ยากที่ สิ่งมี ชีวิตบางสกุลจะ ดํา รงชี วิตอยู่ได้ อย่า งไรก็ตามมี ขอที่ ค วรสังเกตอย่า งหนึ่ ง คื อ สิ่ งมี ชีวิ ตแต่ ละชนิ ดนั้นจะมี ช่ว ง ้ ระหว่างขีดจํากัดความอดทนตํ่าสุ ดและสู งสุ ดต่อปั จจัยเดียวกันที่ไม่เท่ากัน
  • 8. 8 ในการดํารงชี วิตของมนุ ษย์เรานั้น มีปัจจัยจํากัดความสามารถและมีขีดจํากัดความอดทน มากมายหลายประเภทและหลายระดับ ในที่น้ ี จะขอยกตัวอย่างในเรื่ องของการบริ โภคอาหารเพียง ลักษณะเดี ยว กล่ าวคื อ โดยปกติ แล้วร่ างกายของมนุ ษย์จาเป็ นต้องอาศัยอาหารประเภทวิตามิ น ํ ั (Vitamins) ต่ า งๆ จํา นวนหนึ่ งเพื่อ เสริ มสร้ า งความแข็งแรงให้กบร่ างกาย การได้รับธาตุ อาหาร ประเภทนี้เข้าไปในปริ มาณมากเกินไปหรื อน้อยเกินไป อาจเกินขีดจํากัดความสามารถของร่ างกาย มนุ ษย์ที่จะอดทนได้ และนั่นหมายถึง ปั ญหาสุ ขภาพอาจจะเกิดตามมา กรณี ตวอย่างของการทาง ั วิตามินเอ หากร่ างกายได้รับวิตามินเอในปริ มาณที่มากจนเกินไปอาจทําให้เกิดความผิดปกติใน ระบบการย่อยอาหาร เกิดแผลพุพองตามผิวหนัง ผมร่ วง และปวดตามข้อและกระดูก เป็ นต้น ใน ทํานองเดียวกันถ้าร่ างกายขาดวิตามินเอ อาจทําให้ผิวหนังแห้ง เกิดอาการผิดปกติในโครงกระดูก และตาฟาง เป็ นต้น กรณี เช่นนี้ช้ ีให้เห็นว่าการได้รับธาตุอาหารที่จาเป็ นสําหรับร่ างกายมากหรื อน้อย ํ จนเกินไป ก็เป็ นความเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้เช่นกัน 3. การสื บลําดับทางนิเวศวิทยา (Ecological Succession) หรื อการแทนที่ทางนิเวศวิทยา เป็ นการแทนที่ ข องกลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ในสั ง คม ซึ่ งในที่ สุ ด จะได้ก ลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ขั้น สุ ด ท้า ย (Climax Community) ที่เหมาะสมที่สุดและไม่เปลี่ยนแปลงไปอีกเป็ นเวลานาน โดยการสื บลําดับมีอยูดวยกัน ่ ้ 2 แบบได้แก่ การสื บลําดับขันต้ น (Primary Succession) เป็ นการเปลี่ยนแปลงสังคมของสิ่ งมีชีวิตที่ ้ เกิดขึ้นในบริ เวณที่ยงไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตใดๆ ปรากฎขึ้นมาเลย เช่น เกาะที่เกิดใหม่จากภูเขาระเบิด ใน ั ระยะแรกจะมีหญ้าขึ้น เมื่อเวลาผ่านไปจะถูกแทนที่โดยไม้พุ่มและในที่สุดจะกลายเป็ นไม้ยนต้น ซึ่ ง ื ื ่ ั ไม้ยนต้นจะเป็ นสังคมสุ ดท้ายที่มีความอยูตว ส่ วนการสื บลําดับขันที่ สอง (Secondary Succession) ้ จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงของสังคมสิ่ งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในบริ เวณที่เคยมีสังคมของสิ่ งมีชีวิตอาศัยอยู่ ก่อนแล้ว แต่เกิดการทําลายสังคมของสิ่ งมีชีวิตเดิม แล้วมีการแทนที่ข้ ึนมาใหม่ในบริ เวณเดิม เช่น สภาพป่ าไม้ที่ถูกมนุษย์ทาลาย เมื่อเวลาผ่านไปก็จะเกิดการแทนที่ข้ ึนอีก คือ พื้นดิน หญ้า ไม้พม ไม้ ํ ุ่ ยืนต้น ซึ่งเรี ยกว่า “กลุ่มสิ่ งมีชีวิตขั้นสุ ดท้าย” (Climax Community) นันเอง ่ 4. การปรั บตัว (Adaptation) สิ่ ง มี ชีวิตบางชนิ ดสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพ สิ่ งแวดล้อ มที่ เปลี่ ยนแปลงไปได้ ในขณะที่ บางชนิ ดไม่ ส ามารถกระทํา ได้ การทํา ตัว ให้เ ข้า กับ ธรรมชาติเพือการอยูรอดของสิ่ งมีชีวิตนี้เรี ยกว่า “การปรับตัว” มีอยู่ 3 ประเภทด้วยกันคือ (10) ่ ่ - การปรับตัวด้านรู ปร่ าง หรื อ สัณฐาน (Morphological Adaptation) เช่น ปาก ของนก สําหรับนกที่กินแมลงเป็ นอาหาร จะงอยปากจะเรี ยวบาง ขณะที่นกกินเมล็ดพืช จะมีจะงอย ปากที่ใหญ่และแข็งแรง ส่ วนนกที่กินปลาเป็ นอาหาร จะมีจะงอยปากที่เรี ยวยาว มีขาที่ยาว เพื่อที่จะ ใช้ก้าวย่างในนํ้าได้อย่างรวดเร็ ว สิ่ งมี ชีวิตบางชนิ ดจะเลี ยนแบบสี สัน และรู ปร่ างให้เหมือนกับ สิ่ งแวดล้อมที่อาศัยอยูเ่ พื่อพรางตาจากศัตรู และเหยือ เรี ยกว่า Concealing Coloration เช่น ตักแตน ่ ๊
  • 9. 9 กิ่ งไม้ ตักแตนใบไม้ จิ้ งจกและกิ้ งก่า เป็ นต้น สัตว์บางชนิ ดจะมี สีสันเลียนแบบสัตว์ที่ดุร้าย เพื่อ ๊ หลอกมิให้ศตรู เข้าใกล้ เรี ยกว่า Warning Coloration เช่นผีเสื้ อที่มีปีกคู่ หลังเป็ นจุดดําเหมือนตานก ั ฮูก หรื อแมลงวันที่เลียนแบบสี สันเหมือนผึ้ง หรื อว่าจะเป็ นการปรับตัวของผีเสื้ อ Viceroy Butterfly ให้เหมือนกับ Monarch Butterfly ซึ่งถือเป็ นการปรับตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบริ โภคอีกลักษณะหนึ่ง โดยธรรมชาติของ Monarch Butterfly เมื่อนกตัวใดกินเข้าไป ก็จะสํารอกออกมาหมด ลักษณะเช่นนี้ จะทําให้นกที่เคยจิกกิน Monarch Butterfly ไม่กล้าจิกกิน Viceroy Butterfly เพราะกลัวว่าจะมี อาการอย่างที่เคยเกิดขึ้นมา เป็ นต้น - การปรับตัวด้านสรี ระ (Physiological Adaptation) เช่น Thermoregulation คือ กระบวนการที่สตว์พยายามปรับอุณหภูมิของร่ างกายให้คงที่ และ Osmoregulation คือ กระบวนการ ั ที่ปลาหรื อสัตว์น้ าบางชนิด พยายามปรับปริ มาณความเข้มของสารละลายในร่ างกายให้เป็ นปกติ ํ - การปรับตัวด้านพฤติกรรม (Behavior Adaptation) การที่สัตว์มีการแสดงออก หรื อมีปฏิกริ ยาตอบสนองต่อสิ่ งเร้ าภายนอก ทําให้เกิ ดพฤติกรรมต่างๆ ขึ้น เช่ น การพักตัวในฤดู ร้อน (Estivation) ตัวอย่างเช่น ปลาช่อน , การพักตัวในฤดูหนาว (Hibernation) ตัวอย่างเช่น กบ , การอพยพย้ายถิ่น (Migration) ตัวอย่างเช่น นกนางแอ่น นกนางนวล หรื อนกเป็ ดนํ้าซึ่ งมีการอพยพ หนีความหนาวเย็นมาอาศัยอยูในพื้นที่เขตอบอุ่น เป็ นต้น ่ 5. มลพิษ (Pollution) พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2535 ได้ให้คาจํากัดความของคําว่า “มลพิษ” และ “ภาวะ ํ มลพิษ” ไว้ดงนี้ ั “มลพิษ” หมายความว่า ของเสี ย วัตถุอนตรายและมลสารอื่ นๆ รวมทั้งกาก ั ตะกอนหรื อ สิ่ ง ตกค้า งจากสิ่ ง เหล่ า นั้น ที่ ถู ก ปล่ อ ยทิ้ ง จากแหล่ ง กํา เนิ ด มลพิ ษ หรื อ ที่ มี อ ยู่ ใ น สิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่ งก่อให้เกิดหรื ออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อม หรื อ ภาวะที่เป็ นพิษภัยอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รังสี ความ ร้ อ น แสง เสี ย ง กลิ่ น ความสั่ น สะเทื อ น หรื อเหตุ รํ า คาญอื่ น ๆ ที่ เ กิ ด หรื อ ถู ก ปล่ อ ยออกจาก แหล่งกําเนิดมลพิษด้วย “ภาวะมลพิษ หรื อ มลภาวะ” หมายความว่า สภาวะที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง หรื อปนเปื้ อนโดยมลพิษ ซึ่ งทําให้คุณภาพของสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมลง เช่น มลพิษทางนํ้า มลพิษ ทางอากาศ และมลพิษในดิน เป็ นต้น มลพิ ษ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาหลายประการ ไม่ ว่ า จะเป็ นในเรื่ อ งของปั ญ หาความ ปลอดภัยของประชาชนและทรัพย์สิน, ปั ญหาสังคมที่ทาให้เกิดการอพยพหรื อเข้าไปบุกรุ กเขตป่ า ํ สงวน เพื่อหาที่ทากินใหม่ที่ปลอดมลพิษ, ปั ญหาสุ ขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่ งมีชีวิตอื่นๆ ํ
  • 10. 10 รวมถึ งการสร้ างความรําคาญให้แก่ประชาชนที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ ที่มีสถานการณ์ ทางด้านมลพิษ รุ นแรง, ปั ญหาต่อระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติ, ปั ญหาต่อทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งนํ้า ป่ าไม้ ซึ่ง สุ ดท้ายก็อาจจะส่ งผลกระทบจนนําไปสู่ ความสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจ การลงทุนและภาพพจน์ของ ประเทศในที่สุด โดยตัวอย่างมลพิษที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่ มลพิษทางอากาศ, ความร้อน และความแห้งแล้ง, กัมมันตรังสี , ภัยธรรมชาติ, การสู ญเสี ยป่ าชายเลน, การเสื่ อมคุณภาพของดิน, การขาดแคลนนํ้า ดิ บ และปั ญ หานํ้า เสี ย , ขยะมู ล ฝอยและกากของเสี ย , การทํา ลาย ทรัพยากรธรรมชาติ, มลพิษทางเสี ยงและการสันสะเทือน และการใช้สารเคมีที่เป็ นพิษ เป็ นต้น ่ 6. ความยืดหยุ่นทางชีวภาพ (Biological Magnification) หมายถึง สิ่ งมีชีวิต จะมีความ ความยืดหยุ่นทางชี วภาพที่ แตกต่างกัน เช่ น ความสามารถในการสะสมสารพิษที่ แตกต่างกัน ซึ่ ง ่ ั อาจจะขึ้นอยูกบนํ้าหนักและความแข็งแรง 7. ความต้ านทานทางสิ่ งแวดล้ อม (Environmental Resistance) เป็ นความสามารถ ่ ่ ของสิ่ งมีชีวิตที่สามารถอยูในสภาพที่สิ่งแวดล้อมเป็ นพิษหรื อไม่เอื้ออํานวยให้อยูได้ เช่น สิ่ งมีชีวิต ่ บางชนิดสามารถอยูในนํ้าเสี ยในคลองของกรุ งเทพมหานครได้ เป็ นต้น ปัจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ ปั จจัยที่จะเป็ นสิ่ งกําหนดลักษณะของระบบนิเวศมีหลายอย่างคือ 1. อุณหภูมิ ภูมิอากาศของภูมิประเทศแต่ละแห่งจะเป็ นเครื่ องกําหนดว่าจะมีสัตว์ หรื อพืช ชนิดใดดํารงชีวิตอยู่บาง เช่น ในบริ เวณที่อากาศร้อนแถบทะเลทราย จะมีอูฐที่เป็ นสัตว์มีความทน ้ ่ ต่ออากาศร้อนแห้งแล้ง และมีพืชพวกกระบองเพชรที่สามารถดํารงชีวิตอยูได้ เป็ นต้น 2. ความชื้น ทั้งพืชและสัตว์จะมีการถ่ายเทไอนํ้าให้กบอากาศอยูเ่ สมอ ในบริ เวณอากาศที่ ั มีความชื้ นตํ่า จะทําให้รู้สึกหายใจไม่สะดวก ดังนั้นจึงมักพบว่าในระบบนิ เวศใดที่มีความชื้นมาก ่ มักจะมีพืชและสัตว์อาศัยอยูอย่างหนาแน่น 3. แสง แสงจากดวงอาทิตย์มีความสําคัญต่อระบบนิ เวศเป็ นอย่างยิ่ง เพราะทําให้เกิดการ ถ่ายเทธาตุต่างๆ ในระบบนิ เวศได้ พืชที่ข้ ึนอยู่ใต้เงาไม้ในป่ าย่อมแตกต่างกันกับพืชที่ข้ ึนในที่โล่ง แจ้ง นอกจากนี้ ในบริ เวณที่ช่วงกลางคืนแตกต่างกันในแต่ละระยะเวลาของปี นั้น ยังทําให้พืชและ สัตว์สนองตอบต่อความสว่าง หรื อความมืดแตกต่างออกไปด้วย 4. ดิน เมื่อสิ่ งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ตายจะถูกย่อยสลายธาตุต่างๆ กลายเป็ นฮิวมัส ดังนั้น ดินจึงเป็ นที่รวมของธาตุอาหารต่างๆ ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์หรื อมีธาตุอาหารที่แตกต่างกัน ย่อม ่ ทําให้พืชและสัตว์ที่อาศัยดินนั้นๆ ดํารงชีวิตอยูมีความแตกต่างกัน
  • 11. 11 5. ไฟป่ า การเกิดไฟป่ าแต่ละครั้ง ทําให้ชีวิตของพืชและสัตว์เปลี่ยนไป เช่นสัตว์ตองหนี ้ ไฟไปอยู่ที่อื่น พืชถูกเผาตายลงแต่ขณะเดียวกันก็ทาให้พืชแต่ละชนิ ดสามารถแตกขึ้นมาใหม่และ ํ เจริ ญงอกงามได้อย่างรวดเร็ วเพราะไม่มีพชอื่นเข้ามาบดบังและแย่งอาหาร ื 6. มลภาวะ เป็ นปั จจัยที่ เข้า มามี บทบาทในการเปลี่ ยนแปลงหรื อ กําหนดลักษณะของ สิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศ เมื่ อ ประมาณ 30 ปี มานี้ เอง มลภาวะอาจทํา ให้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ตาย หรื อ เจริ ญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ 7. การแย่ งชิง การแย่งชิ งกันนี้ ทาให้สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถแสวงหาทรัพยากรได้ตองล้ม ํ ้ ตายไป เช่น ในบริ เวณป่ าที่ตนไม้ใหญ่ถูกทําลายลง ย่อมเป็ นการยากอย่างยิงที่จะให้ป่าชนิดเจริ ญนั้น ้ ่ ่ ขึ้นมาเองได้อีก เพราะเมื่อต้นไม้ใหญ่ถูกทําลายลงทําให้พืชที่ข้ ึนอยูบริ เวณนั้น ได้รับอาหารจากดิน มากขึ้นจึงเจริ ญเติบโตขึ้นมาทดแทน 8. การกินซึ่งกันและกัน ในระบบนิเวศที่ขาดสมดุลในเรื่ องการกินซึ่ งกันและกัน จะทําให้ เกิดปั ญหาขึ้น เช่น ในทุ่งที่ปลูกข้าวโพด จะมีแมลงมากินและทําลายข้าวโพดเสี ยหาย เพราะไม่มี สัตว์อื่นมาจับตักแตนกินเป็ นอาหาร ซึ่งทําให้ตกแตนแพร่ พนธ์ได้อย่างรวดเร็ วนันเอง ๊ ั๊ ั ่ 9. ปรสิ ต พวกปริ สิตอาจถือเป็ นพวกที่กินซึ่ งกันและกันก็ได้ แต่มีขอแตกต่างที่ว่าพวก ้ ปรสิ ตจะดูดกินพืชและสัตว์อื่นๆ เป็ นอาหารโดยที่พชและสัตว์น้ นจะไม่ตายโดยทันที ื ั ระบบนิ เวศแต่ละประเภทดังกล่าวแล้วข้างต้นจะมีลกษณะองค์ประกอบที่ สําคัญ 2 ส่ วน ั ใหญ่ๆ คือ ลักษณะโครงสร้าง (Structure) และหน้าที่หรื อกิจกรรม (Function) ในระบบนิเวศทุก ประเภทย่อ มมี พ้ื น ฐานลัก ษณะขององค์ป ระกอบทั้ง สองประการนี้ แต่ จ ะต่ า งกัน ตรงที่ ค วาม หลากหลายและความสลับซับซ้อนของลักษณะโครงสร้างและหน้าที่หรื อกิจกรรมของสังคมในแต่ ละระบบนิเวศมากน้อยเพียงใดเท่านั้น ลักษณะโครงสร้ างของระบบนิเวศ (Ecosystem Structure) ลักษณะโครงสร้างหรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ องค์ประกอบของระบบนิเวศนันเอง ระบบนิเวศทุก ่ ประเภทย่อมมีพ้ืนฐานองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือลักษณะโครงสร้างหรื อองค์ประกอบ ของระบบนิ เวศนั้นมีส่วนประกอบสําคัญ ซึ่ งพอจะแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่ วนใหญ่ คือ ส่ วนประกอบ อชี วนหรื อสิ่ งที่ ไม่ มีชีวิต (Abiotic Component) และส่ วนประกอบชี วนหรื อสิ่ งมี ชีวิต (Biotic ั ั Component) และรายละเอียดแต่ละส่ วน พอที่จะกล่าวสรุ ปได้ดงนี้ ั 1. ส่ วนประกอบอชีวนหรื อสิ่ งที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Component) ั
  • 12. 12 ส่ วนประกอบอชีวนหรื อสิ่ งที่ไม่มีชีวิตในระบบนิ เวศรวมถึง อนินทรี ยวัตถุ (Inorganic ั Substances) อันได้แก่ พวกธาตุ อาหาร (Nutrient) เกลือแร่ นํ้า และพวกอินทรี ยวัตถุ (Organic Substances) เช่น พวกซากพืชซากสัตว์ ซึ่ งจะถูกพวกจุลชีวนย่อยสลายไปในที่สุด ซึ่ งพวกสารต่างๆ ั ดัง กล่ า วนี้ จะมี ป ระมาณมากน้ อ ยเปลี่ ย นแปรไปตามแต่ ล ะพื้ น ที่ นอกจากนี้ สภาพภู มิ อ ากาศ (Climatic Condition) ก็เป็ นส่ วนที่สาคัญอันหนึ่ งในองค์ประกอบอชีวนอีกด้วย เช่น อุณหภูมิ แสง ํ ั ฝน ความชื้น เหล่านี้ เป็ นต้น ในทํานองเดียวกันสภาพสิ่ งแวดล้อมเหล่านี้ ก็แปรเปลี่ยนไปตามแต่ละ สภาพพื้นที่เช่นเดียวกัน ระบบนิเวศหนองนําและองค์ ประกอบของระบบนิเวศ ้ ที่มา: Miller, 2002 : 78 2. ส่ วนประกอบชีวนหรื อสิ่ งที่มีชีวิต (biotic component) ั องค์ประกอบชี วนหรื อสิ่ งที่มีชีวิตในระบบนิ เวศ สามารถจําแนกออกเป็ น 3 ประเภท ั ใหญ่ๆ คือ (1) ผูผลิต (Producer Organisms) หมายถึงพวกที่สร้างอินทรี ยสารโดยใช้พลังงาน ้ แสงอาทิตย์และอนินทรี ยสารจากสิ่ งแวดล้อมขึ้นใช้เองได้ ผูผลิตนี้ส่วนใหญ่เป็ นพืชที่มีคลอโรฟิ ลด์ ์ ้ เป็ นองค์ประกอบที่ สํา คัญอาจจะมี ขนาดเล็กหรื อใหญ่ ก็ได้ เช่ น พวกขนาดเล็กซึ่ ง ต้องใช้กล้อง
  • 13. 13 จุลทรรศน์ส่องดู ได้แก่ พวกไดอะตอม พวกแพลงตอนพืชชนิดต่างๆ และพวกมีขนาดใหญ่ข้ ึนมา เช่น พวกสาหร่ ายและพวกสุ ดท้ายที่มองเห็นได้อย่างชัดแจ้ง เช่น ต้นหญ้า ต้นไม้ เป็ นต้น (2) ผูบริ โภค (Consumer Organisms) ซึ่ งหมายถึง พวกที่ตองพึ่งพาอาศัยสิ่ งที่มีชีวิต ้ ้ พวกอื่นในการสังเคราะห์อาหารเพราะตัวเองไม่สามารถสร้างอินทรี ยสารได้ ซึ่งแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรก ได้แก่ ผูบริ โภคขั้นปฐมภูมิ (Primary Consumers) หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ พวกที่กินพืชเป็ น ้ อาหาร (Herbivores) เช่น พวกกวาง เก้ง ฯลฯ และกลุ่มที่สอง คือ ผูบริ โภคขั้นทุติยภูมิ (Secondary ้ Consumers) หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ พวกที่กินสัตว์เป็ นอาหาร (Carnivores) เช่น พวกเสื อ นกบางชนิด ฯลฯ ส่ วนกลุ่มสุ ดท้ายเป็ นพวกอยูนอกเหนื อจากทั้งสองประเภทที่กล่าวมาแล้วคือ เป็ นพวกกินได้ ่ ทั้งพืชและสัตว์ หรื อที่เรี ยกว่าพวก Omnivores ได้แก่ มนุษย์ เป็ นต้น ระบบนิเวศทุ่งหญ้ าและองค์ ประกอบของระบบนิเวศ ที่มา: Miller, 2002 : 78 ้่ (3) ผูยอยสลาย (Decomposer Organisms) พวกนี้ หมายถึงพวกจุลชีวนทั้งหลายที่จะั ช่วยในการทําลายหรื อย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์ให้เน่ าเปื่ อยผุพง จนในที่สุดจะสลายตัวเป็ น ั ธาตุอาหารและปุ๋ ยซึ่งสะสมเป็ นแหล่งธาตุอาหาร (Nutrient Pool) ในดินเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อผูผลิต้ คือพวกพืชสี เขียวต่อไป จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ซึ่งเป็ นเรื่ องของลักษณะโครงสร้างหรื ออีกนัยหนึ่งคือ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ในระบบนิเวศประเภทใดๆ ก็ตามจะต้องมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน
  • 14. 14 หรื อ คล้า ยคลึ ง กัน แต่ จ ะแตกต่ า งกันไปก็ต รงประมาณหรื อ คุ ณ ภาพในส่ ว นประกอบของและ ประเภทองค์ประกอบเท่านั้น ทั้งนี้อาจจะกล่าวได้คือในกรณี ส่วนประกอบอชีวนในระบบนิเวศหนึ่ง ั อาจจะมี ประมาณแร่ ธาตุอาหาร ปริ มาณนํ้าต่ างกันกับอีกระบบนิ เวศหนึ่ งหรื อมีสภาพภูมิอากาศ แตกต่างกัน เช่น อุณหภูมิ แสง ความชื้ น เป็ นต้น สําหรับในส่ วนประกอบชีวนหรื อสิ่ งที่มีชีวิตนั้น ั ในระบบนิ เวศหนึ่ งไม่ว่าจะเป็ นผูผลิต ผูบริ โภค หรื อผูสลายตัวก็ตาม อาจจะแตกต่างกันในเรื่ อง ้ ้ ้ ความหลากหลายเกี่ยวกับชนิด (Species) ปริ มาณ รู ปชีวิต (Life Form) และมวลชีวภาพ (Biomass) เป็ นต้น และลักษณะต่างๆ ดังกล่ าวนี้ ในระบบนิ เวศหนึ่ งๆ อาจจะมี การเปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน ปริ มาณและคุณภาพเป็ นไปตามสภาพของสิ่ งแวดล้อมของแต่ละระบบนิเวศนั้น หน้ าทีและกิจกรรมของระบบนิเวศ (Ecosystem functions) ่ ในระบบนิเวศที่มีอยู่ทุกแห่ งบนพื้นโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็ นระบบนิ เวศบนบก เช่น ระบบ นิ เ วศป่ าไม้ หรื อ ระบบนิ เ วศในนํ้า เช่ น ระบบนิ เ วศนํ้า กร่ อ ยหรื อ ระบบนิ เ วศนํ้า จื ดก็ต ามจะมี กิจกรรมหรื อหน้าที่เกิดขึ้นภายในระบบทั้งสิ้ น เช่น มีการถ่ายทอดพลังงานกันระหว่างสมาชิ กใน โครงสร้าง (Structure Members) และ มีการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนสาร แร่ ธาตุอาหารในแต่ละส่ วน ของระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน (Energy Flow) และ การหมุนเวียนของสารและแร่ ธาตุอาหาร (Mineral or Nutrient Cycling) ถือว่าเป็ นหน้าที่หรื อกิจกรรม (Functions) หลักที่สาคัญซึ่ งเกิดขึ้นใน ํ ระบบนิ เวศ และเป็ นเรื่ องที่นกนิ เวศวิทยาจะต้องเข้าใจว่ามีกลไกหรื อขบวนการอย่างไร ความรู ้ใน ั เรื่ องทั้งสองนี้จะเป็ นแนวทางที่สาคัญในการที่จะปรับปรุ งระบบนิเวศ โดยพยายามจัดการอย่างชาญ ํ ฉลาดเพื่อให้องค์ประกอบที่สาคัญต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้วให้อยู่ในระดับที่สมดุลซึ่ งกันและกัน ํ และในขั้นสุ ดท้ายจะทําให้ระบบนิ เวศอยู่ในภาวะสมดุลอย่างสมํ่าเสมอโดยให้มีการเปลี่ยนแปลง หรื อผิดแผกไปจากสภาวะปกติตามธรรมชาติให้นอยที่สุด ้ การถ่ ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ (Energy Flow in Ecosystem) ดวงอาทิตย์นบว่าเป็ นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ที่สุดของระบบนิ เวศของโลก โดยให้พลังงาน ั ในรู ปของแสงสว่างและการแผ่รังสี ชนิ ดต่างๆ ผ่านจากอวกาศ บรรยากาศเข้าสู่ บรรดาระบบนิ เวศ ธรรมชาติ เช่น ป่ า ทะเล ทุ่งหญ้า นา บ่อ บึง ฯลฯ จากการศึกษาพบว่าดวงอาทิตย์มีสภาพคล้ายเตา ปฏิกรณ์ปรมาณู มีอุณหภูมิที่ผิวสู งประมาณ 5,700 องศาเซลเซี ยส มีองค์ประกอบที่เหมาะสมที่จะ ทําให้ธาตุไฮโดรเจนรวมตัวเข้าด้วยกันเป็ นธาตุฮีเลี่ยม พร้อมกับการปลดปล่อยพลังงานจํานวนมาก ในรู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มีการแผ่รังสี ท้ งหมดของแสงตั้งแต่ช่วงคลื่นยาวที่สุดหรื อมีพลังงาน ั
  • 15. 15 ตํ่าสุ ดถึงช่วงคลื่นสั้นสุ ดหรื อพลังงานสู งสุ ด รังสี เหล่านี้เรี ยงตามลําดับพลังงานตํ่าสุ ดถึงสู งสุ ดได้แก่ คลื่นวิทยุ (Radio wave) อินฟราเรด (Infrared) รังสี มองเห็นได้ (Visible Light) รังสี อลตราไวโอเลต ั (Ultraviolet ray) รังสี X (X-ray) และรังสี แกมม่า (R-ray) สําหรั บรังสี อลตราไวโอเลต จะอยู่ใน ั ระหว่างแสงที่มองเห็นได้กบรังสี X ช่วงคลื่นของรังสี เหล่านี้ และพลังงานจากดวงอาทิ ตย์ที่เข้าสู่ ั ระบบนิ เวศนั้นจะเป็ นพลังงานชุดใหม่เสมอไม่มีการหมุนเวียน จึงเป็ นลักษณะของ Renewable energy ไม่ใช่ Recycled energy ปริ มาณพลังงานที่ผิวโลกได้รับในวันที่ทองฟ้ าแจ่มใสประกอบด้วยพลังงานที่มีช่วงคลื่น ้ ระหว่าง Ultraviolet ถึ งช่ วงคลื่น Infrared ดังนี้ อัลตราไวโอเลต 15 เปอร์ เซ็ นต์ แสงที่ เห็ นได้ 45 เปอร์เซ็นต์ และอินฟราเรด 35 เปอร์เซนต์ ปริ มาณพลังงานจากดวงอาทิตย์ (Solar Energy) ห้าสิ บ ในล้านส่ วนเท่ านั้นที่ มาถึ งผิวด้านนอกของบรรยากาศของโลกด้วยอัตราที่ คงที่ ซึ่ งในจํานวนนี้ ประมาณกว่า 30 เปอร์ เซนต์จะสะท้อนหายไปในอวกาศเนื่ องจากองค์ประกอบของบรรยากาศ เมฆและผิวโลก อีก 20 เปอร์ เซนต์ของการแผ่รังสี จะสู ญหายไปเนื่ องจากสาเหตุต่างๆ โดยที่ส่วน หนึ่ งถู ก จับ ด้ ว ยโมเลกุ ล ของออกซิ เ จนและโอโซน (O3) ในชั้ น บรรยากาศสตราโตสเฟี ยร์ (Stratosphere) โดยเฉพาะช่วงแสงของอุลตราไวโอเลต (UV) โอโซนในชั้นนี้จึงทําหน้าที่กรองแสง หรื อดูดแสง UV ทําให้แสง UV เข้าสู่ โทรโปสเฟี ยร์ (Troposphere) ซึ่ งเป็ นชั้นบรรยากาศที่อยูใกล้ ่ ผิวโลกมากที่สุดได้นอยลง จึงเป็ นการป้ องกันสิ่ งมีชีวิตไม่ให้ถูกแสงมากเกินไปซึ่งอาจเป็ นอันตราย ้ ได้ เมื่อถึงชั้นโทรโปสเฟี ยร์จะมีอากาศและละอองนํ้าดูดกลืนแสงไว้ได้มากที่สุด เป็ นเหตุให้บริ เวณ ใกล้ผิวโลกอุ่นที่สุดและจะค่อยๆ เย็นลงเมื่อสู งขึ้นไป พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่เข้าสู่ บรรยากาศชั้น นี้ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์ จะสะท้อนกลับเนื่องจากฝุ่ นละออง ในที่สุดที่เหลืออีก 50 เปอร์ เซนต์ของ พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่จะมาถึงโลก ส่ วนใหญ่เป็ นรังสี อินฟราเรดเท่านั้นที่ผ่านและถูกดูดจับใน รู ป ของพลังงานความร้ อนโดยแผ่นดิ นและมหาสมุ ท ร และพลังงานที่ ผิว โลกได้รับนั้นมี อตรา ั ลดหลันและเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ่
  • 16. 16 การถ่ ายทอดและการถ่ ายเทพลังงานของโลก ที่มา: Miller, 2002 : 75 จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า สารพิษบางชนิด เช่น ไนโตรเจนไดออกไซด์ และ สารจําพวกฟรี ออน (Freon) จากการใช้น้ ายาเคมีฉีดพ่น (Spray) ทั้งหลาย ทําให้ปริ มาณโอโซน (O3) ํ ในชั้นสตราโตสเฟี ยร์ลดลง (ชั้ นโอโซนอยูห่างจากผิวโลกประมาณ 15 ถึง 45 กิโลเมตร) นอกจากนี้ ่ คลื่นเสี ยงของเครื่ องบินในระดับสู งก็เป็ นที่เข้าใจกันว่า เป็ นตัวการหนึ่ งที่ทาลายโอโซนซึ่ งหากชั้น ํ โอโซนถูกทําลาย ปริ มาณรังสี จากดวงอาทิตย์จะมาถึงโลกมากขึ้น ทําให้เกิดผลเสี ยคือมนุ ษย์และ สัตว์จะเกิดผิวหนังไหม้เกรี ยมและเกิดมะเร็ งที่ผวหนัง ิ พลังงานการแผ่รังสี จากดวงอาทิตย์ท้ งหมดที่ชีวาลัยได้รับประมาณ 1.3 x 1023 กิโลคาลอรี่ ั ต่อปี จะถูกนํามาใช้ในระบบนิ เวศเพื่อการสังเคราะห์ แสงประมาณ 1 เปอร์ เซนต์เท่านั้น ดังนั้น ่ ั พลังงานของโลกทางชีวภาพขึ้นอยูกบขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชและจุลินทรี ยที่สังเคราะห์ ์ แสงได้ ซึ่ งหมายถึ งผูผ ลิ ตนั้นเอง ผูผลิ ตในระบบนิ เ วศเป็ นพวกแรกที่ มีคลอโรฟิ ลล์สํา หรั บ จับ ้ ้ พลังงานจากแสงอาทิ ตย์ไว้ใช้ในขบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง แล้วทําการเปลี่ ยนสารโมเลกุล ง่ายๆ เช่น คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO3) และนํ้า (H2O) ให้เป็ นสารประกอบที่มีโครงสร้างซับซ้อน และมีพลังงานสู ง คือ คาร์ โบไฮเดรต (CH2O)n ได้แก่ นํ้าตาลกลูโคส (C6H12O6) นอกเหนือจากที่เป็ น องค์ประกอบที่สาคัญโดยตรง คือ คาร์บอนไดออกไซด์และนํ้าแล้ว พืชสี เขียวยังต้องการแร่ ธาตุและ ํ สารประกอบอนินทรี ยอื่นๆ อีกหลายชนิดมาเกี่ยวข้องในขบวนการเจริ ญเติบโตอีกด้วย ์
  • 17. 17 การถ่ ายเทและการสู ญเสี ยพลังงาน ที่มา: Miller, 2002 : 66 พลังงานที่ ผูผลิตรับไว้จากดวงอาทิ ตย์ และเปลี่ยนไปอยู่ในรู ปของสารอาหารนี้ จะมีการ ้ ถ่ายทอดไปตามลําดับขั้นของการกินอาหารภายในระบบนิ เวศ คือ ผูบริ โภคจะได้รับพลังงานจาก ้ ผูผลิตโดยการกินต่อกันเป็ นทอดๆ ในแต่ละลําดับขั้นของการถ่ายทอดพลังงานนี้ พลังงานจะค่อยๆ ้ ลดลงไปในแต่ละลําดับเรื่ อยๆ ไป เนื่องจากได้สูญเสี ยออกไปในรู ปของความร้อน การสู ญเสียพลังงานในห่ วงโซ่ อาหาร ที่มา: Miller, 2002 : 66