SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 115
ความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย
ความหมายของการวิจัย 
กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่ หรือกระบวนการ 
ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่มีคุณ ค่าโดยใช้กระบวนการทาง 
วิทยาศาสตร์ 
•สังเกต เห็นปัญหา นิยามปัญหา 
•กาหนดสมมุติฐาน 
•ตรวจสอบสมมุติฐาน (เก็บข้อมูล) 
•วิเคราะห์ข้อมูล 
•สรุปผล
ประเภทของการวิจัย
• แบ่งตามวิธีการวิจัย 
– การวิจัยแบบสารวจ (SURVEY R.) 
– การวิจัยแบบบรรยาย (DESCRIPTIVE R.) 
– การวิจัยแบบทดลอง (EXPERIMENTAL R.) 
– การวิจัยแบบสหสัมพันธ์(CORRELATIONAl R.) 
– การวิจัยแบบประเมิน (EVALUATIVE R.) 
– การวิจัยและพัฒนา (R. & DEVELOPMENT) 
– การวิจัยรายกรณี(CASE STUDY R.) 
– การวิจัยเอกสาร (DOCUMENTARY R.) 
– การวิจัยประวัติศาสตร์(HISTORICAL R.)
• แบ่งตามจุดมุ่งหมาย 
– การวิจัยบริสุทธ์ิ(PURE RESEARCH) 
– การวิจัยประยุกต์(APPLIED RESEARCH) 
• แบ่งตามลักษณะข้อมูล 
– การวิจัยเชิงปริมาณ (QUANTITATIVE R.) 
– การวิจัยเชิงคุณภาพ (QUALITATIVE R.) 
• แบ่งตามประเภทข้อมูล 
– การวิจัยเอกสาร (DOCUMENTARY R.) 
– การวิจัยเชิงประจักษ์(EMPIRICAL R.)
ข้นัตอนการวิจัย
วงจรการวิจัย RESEARCH CYCLE) 
ทฤษฎี 
การปฏิบัติ สมมุติฐานวิจัย 
การสรุปอ้างอิง ปัญหาวิจัย การสุ่มตัวอย่าง 
การวิเคราะห์ข้อมูล นิยาม, เครื่องมือ 
การรวบรวมข้อมูล
การศึกษา และรายงาน 
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 
• เอกสารอ้างอิงทั่วไป 
– ดรรชนีวารสาร รายการเอกสาร 
– บทคัดย่องานวิจัย บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ 
• เอกสารปฐมภูมิ 
– บทความวิชาการ 
– รายงานวิจัย เอกสารวิจัย วิทยานิพนธ์
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 
• เอกสารทุติยภูมิ 
– หนังสือ ตารา หนังสือพิมพ์ 
– พจนานุกรม สารานุกรม 
– รายงานปริทัศน์งานวิจัย คู่มือ รายงานประจาปี
การจัดทารายงานเอกสาร 
ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 
1. กาหนดวัตถุประสงค์ 
2. เสาะค้น คัดเลือกเอกสาร 
3. ปริทัศน์(REVIEW) เอกสาร 
4. จดบันทึกสารสนเทศ 
5. สังเคราะห์สารสนเทศ 
6. เขียนรายงาน
การจัดประเภทหรือหมวดหมู่ของสาระที่ 
จะสังเคราะห์ 
• สาระส่วนใหญ่ประกอบด้วย 
– นิยามตัวแปร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรหลักของการวิจัย หรือ 
ผลการวิจัยก่อนหน้านั้น 
• ตรวจสอบคุณภาพของเอกสาร 
• อ่าน วิเคราะห์ และจับประเด็น แล้วสรุปย่อลงในแบบบันทึก 
• จัดเตรียมข้อมูลเพื่อทารายการอ้างอิงภายหลังด้วย
ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการสืบค้น 
• ความทันสมัยของเอกสาร/แหล่งค้น 
• ประเภทของเอกสารที่อ้างอิง 
• ข้อบกพร่องเกี่ยวกับวิธีการอ้างอิง 
– ประเภทของแหล่งค้น/แหล่งอ้างอิง 
– การอ้างอิงโดยไม่ได้เรียบเรียงภาษาใหม่ (paraphrase) 
– การอ้างอิงไม่ตรงตามต้นฉบับ 
– การอ้างอิงแบบตัดต่อความคิด
การกาหนด 
กรอบความคิดของการวิจัย 
Conceptual Framework
การวางกรอบความคิด 
(conceptualization) 
• กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น 
จริงในธรรมชาติโดยอาศัยทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
• ผลที่ได้จากกระบวนการสร้างมโนทัศน์คือ กรอบ 
ความคิดเชิงทฤษฎี(theoretical framework) 
• เป็นแบบจา ลองแสดงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง 
ตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องตามทฤษฎี
กรอบความคิดของการวิจัย 
(conceptual framework) 
• แสดงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแต่ละตัว 
ทั้งหมดที่อยู่ในการวิจัย ซึ่งเป็นไปตามที่ทฤษฎีกา หนดไว้ 
• นิยมเขียนในรูปของแผนภาพ (diagram) 
• หากคัดเลือกตัวแปรบางตัวมาศึกษา และปรับลดตัวแปรที่ใช้ 
ในการวิจัยใหม่จะเรียกว่า กรอบความคิดของการวิจัย โดย 
ต้องอธิบายถึงความจา เป็นในการคัดเลือกหรือปรับลดตัว 
แปรจากกรอบเดิมให้สมเหตุสมผล
กรอบความคิดในการวิจัย 
(conceptual framework) 
• แบบจาลองที่นักวิจัยสร้างขึ้นโดยใช้ทฤษฎีและ 
ผลการวิจัยในอดีตเพื่อแทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ 
ระหว่างปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ 
และจะนาไปตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับ 
ข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่เพียงใด
การสร้างกรอบความคิดของการวิจัย 
• การกาหนดแหล่งข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 
• เอกสารที่เกี่ยวข้องมีหลายประเภท 
– ตา รา บทความวิชาการ บทความวิจัย รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 
• แหล่งเอกสารอาจจะอยู่ในรูปแบบที่มีการจัดพิมพ์เป็นหนังสือ 
หรือในรูปแบบของการเผยแพร่ในสื่ออิเลคทรอนิกส์ 
• นักวิจัยต้องรู้จักใช้คา ค้นที่สาคัญ (key words) ในการสืบค้น 
• มีการตรวจสอบคุณภาพความน่าเชื่อถือของแหล่งค้น
การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 
จากการศึกษาเอกสาร 
• นาข้อมูลที่ได้บันทึกมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ 
• กาหนดกรอบความคิดของการวิจัย โดยกาหนด 
โครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรตามประเด็นวิจัยที่ 
กาหนด 
• ส่วนใหญ่เพื่อให้เข้าใจง่าย จะนาเสนอเป็นแผนภาพ
กาหนดคาอธิบายบรรยาย 
กรอบความคิดของการวิจัย 
• อธิบายกรอบความคิดของการวิจัยว่ามีที่มาอย่างไร 
• ไม่ควรแสดงแต่แผนภาพเฉย ๆ 
• เพื่อให้กรอบความคิดมีน้า หนัก น่าเชื่อถือ ทา ให้ผู้อ่านมี 
ความชัดเจนในการนา ตัวแปรบางตัวมาศึกษา
ตัวอย่างกรอบความคิดของการวิจัย
การจับใจความสาคัญ 
การเขา้ใจความหมาย 
การใหร้ายละเอยีดสาคญั 
การสรุปความและอนุมาน 
ความสามารถในการอ่าน 
การลาดบัความสาคญั 
ไวยากรณ์ 
เนื้อหา 
กลไกภาษา 
ความสามารถในการคดิ 
วเิคราะห์ 
ความสามารถในการ 
เขยีนสอื่ความ 
การวเิคราะหเ์นื้อหา 
การวเิคราะหค์วามสมัพนัธ์ 
การวเิคราะหห์ลกัการสาคญั
บริบทของสถานศึกษา 
ขนาด พืน้ที่จังหวัด 
รูปแบบการจดัการเรยีนรู้ 
ปัจจัย / เงื่อนไข 
ผลการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง 
ผลกระทบ 
บทเรียนที่เรียนรู้ 
แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 
บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา 
ในสถานศึกษาขนั้พื้นฐาน 
แนวคิดและหลักการ 
วัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมาย 
 ลักษณะ ขัน้ตอนและวิธีดาเนินการ 
 การวัดและประเมินผล 
ผลที่เกิดขึ้นกับครู 
 กระบวนการจัดการเรียนรู้ 
ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน 
 พฤติกรรมการเรียนรู้ 
 คุณลักษณะของนักเรียน 
ผลที่เกิดขึ้นกับสถานศึกษา 
 ความสัมพันธ์กับชุมชน 
 การเรียนรู้ผ่านชุมชน 
ปัจจัยภายใน 
ปัจจัยภายนอก 
ปัจจัยเกื้อหนุน
วิธีการศึกษา 
การวิเคราะห์เอกสาร 
จากนักวิจัยในพืน้ที่ 
การจัดสนทนากลุ่ม 
การตรวจเยี่ยมพนื้ที่ 
(การสังเกต) 
ผลที่เกิดขึ้น 
(การเปลี่ยนแปลง) 
ผลที่เกิดกับครู 
-การจัดการเรียนการสอน 
-การวิจัยปฏิบัติการ 
-พฤติกรรมครู 
ผลที่เกิดกับนักเรียน 
-พฤติกรรมการเรียนรู้ 
-คุณลักษณะของนักเรียน 
ผลที่เกิดกับโรงเรียน 
-ความสัมพันธ์ชุมชน 
บริบทของโรงเรียน 
สังกัด ขนาด จังหวัด 
ปัจจัย/เงื่อนไข 
กระบวนการปฏิรูป 
การเรียนรู้ 
(ยุทธวิธีการบริหาร) 
-การพัฒนาบุคลากร 
-การบริหารจัดการ 
-การจัดการเรียนรู้ 
-การวัดและประเมินผล 
-การประกันคุณภาพ 
-การวิจัยปฏิบัติการ 
-ความร่วมมือกับชุมชน 
ผลกระทบ 
บทเรียนที่เรียนรู้
รายงานสภาพการเรยีนรูท้เี่กดิขนึ้ใน 
ระดบัชนั้เรยีน และโรงเรยีน ปัจจยัที่ 
สนบัสนุน/อุปสรรคในการปฏริูปการ 
เรยีนรู้จานวน 80 กรณีศกึษา 
กระบวนการปฏิรูปการเรียนรู้ 
(ยุทธวิธีการบริหาร) 
ผลที่เกิดกับครู นักเรียน 
โรงเรียน 
ปัจจัยเงื่อนไขความสาเร็จ 
ปัญหาอุปสรรค 
ข้อเสนอเชิงนโยบาย 
1. กาหนดเกณฑเ์ลอืกกรณีศกึษา คดัเลอืกโรงเรยีนที่ 
เป็นกรณีศกึษา จาก 5 จงัหวดัๆ ละ 16 โรงเรยีน 
รวม 80 โรงเรยีน 
2. ศกึษาสภาพการดา เนนิงานการปฏริูปการเรยีนรูข้อง 
โรงเรยีนดว้ยวธิีการสมัภาษณ์สงัเกตการณ์ในชนั้ 
เรยีน และโรงเรยีน 
3. วเิคราะหข์อ้มูลและจดัทา รายงานกรณีศกึษา 
4. การวเิคราะหเ์อกสารของนกัวจิยัในพนื้ที่ 
5. การจดัสนทนากลุ่ม 
6. การตรวจเยยี่มพนื้ท(ี่การสงัเกต) 
7. การสงัเคราะหผ์ลการวจิยัจากขอ้มูลทุกแหล่ง
ตัวแปรในการวิจัย
ประเภทของตัวแปร (Variable) 
Independent and Dependent Variables 
Active and Attribute Variables 
Continuous and Categorical Variables 
Quantitative and Qualitative Variables 
Extraneous Variables 
Intervening Variable (unobservable Variable) 
การจาแนกตามมาตรวัด (scale of measurement)
วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ 
IV DV 
Active V. หรือ 
Manipulated V.
ระดับการ 
ศึกษา รายได้ 
IV DV 
Attribute Variable
วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ 
IV DV 
Categorical V. Continuous V.
วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ 
IV DV 
Qualitative V. Quantitative V.
IV DV 
วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ 
สติปัญญา 
Extraneous V.
ประเภทตัวแปร 
แยกตามมาตราของการวัด
มาตรานามบัญญัติ(nominal scale) 
มาตราจัดอันดับ (ordinal scale) 
มาตราอันตรภาค (interval scale) 
มาตราอัตราส่วน (ratio scale)
เพศ ชาย 
หญิง 
อันดับความสาคัญ 
1, 2, 3,... 
ทักษะความสามารถ 0,10, 20, .....,100 
น้าหนัก 50, 60, 70, ...
การกาหนดนิยามปฏิบัติการ 
ของตัวแปรในการวิจัย
Observable data 
Empirical reality 
O.D. 
O.D. 
O.D. 
C1 
C2 
C3 
C1 
C2 
C3 
C4 
C5 
C6
ภาวะผู้นาของนักศึกษาวิชาทหาร 
หมายถึง ......................................... 
ทักษะการจัดการความรู้ 
หมายถึง ........................................... 
ความสนใจใฝ่รู้ 
หมายถึง ...........................................
วิธีดาเนินการวิจัย
การออกแบบการวิจัย 
1. ประเภทของการวิจัย 
2. การเก็บข้อมูล 
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
แบบการวิจัย (Research Designs) 
- การวิจัยเชิงบรรยาย/สารวจ 
- การวิจัยเชิงทดลอง 
- การวิจัยเอกสาร
การวิจัยเชิงบรรยาย/สารวจ 
- มุ่งเน้นอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดข้นึ 
ตามธรรมชาติ เน้นการสรุปอ้างอิง 
- ไม่มีตัวแปรจัดกระทา 
- นิยมใช้การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม 
- ใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ
การวิจัยเชิงทดลอง 
- การวิจัยที่มุ่งตอบคา ถามเชิงสาเหตุ 
- มีตัวแปรจัดกระทา 
- มีการควบคุมตัวแปรภายนอกที่ส่งผล 
ต่อตัวแปรตาม 
- เน้นความตรงภายใน (internal validity)
การวิจัยเชิงทดลอง 
O X O 
O O
การวิจัยเชิงทดลอง 
R O X O 
R O O
การออกแบบการเก็บข้อมูล
ข้อมูล = ข้อเท็จจริง, สารสนเทศ, ความคิด, ความรู้, 
ความรู้สึก, การแสดงออก, การกระทา หรือหลักฐาน 
ที่ช่วยให้นักวิจัยตอบคาถามวิจัยได้ 
ประชากร = คน, สิ่งมีชีวิต, สิ่งของหรือเอกสาร ซึ่งมี 
ข้อมูลที่นักวิจัยต้องการ 
กลุ่มตัวอย่าง = เซ็ทย่อยของประชากรที่นักวิจัยเลือก 
มาเป็นตัวแทนของประชากร
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 
• การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม 
– การสุ่มแบบง่าย (simple random sampling) 
– การสุ่มแบบแบ่งชั้น (stratified random sampling) 
– การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (cluster random sampling) 
– การสุ่มแบบมีระบบ (systematic random sampling) 
– การสุ่มหลายขั้นตอน (multi-stage random 
sampling)
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 
• การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบค่าความ 
น่าจะเป็น 
– การเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) 
– การเลือกแบบโควต้า (quota sampling) 
– การเลือกแบบสโนว์บอลล์(snowball sampling)
ประเภทของข้อมูล 
• ข้อมูลเชิงปริมาณ = ตัวแปร (VARIABLES) คือ 
สัญลักษณ์ทนีั่กวิจัยกา หนดให้มีค่าตั้งแต่สองค่าขึ้นไป 
เพื่อแทนคุณสมบัติของสิ่งที่วัด 
นิยามตัวแปรตามทฤษฎี 
นิยามตัวแปรเชิงปฎิบัติการ 
• ข้อมูลเชิงคุณภาพ = ข้อความที่บรรยายถึง คุณลักษณะที่ 
นักวิจัยต้องการศึกษา
วิธีการรวบรวมข้อมูล 
การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร : การสืบค้น การ 
ประเมิน การอ่าน การบันทึก 
การสังเกต : การนิยาม การเตรียมการ การฝึกหัด 
การนัดหมาย การปฏิบัติการสังเกต 
การสัมภาษณ์ : การเตรียมแบบสัมภาษณ์ การ 
ทดลองใช้ การนัดหมาย การปฏิบัติการ
วิธีการรวบรวมข้อมูล 
การใช้แบบสอบถาม : การสร้างและทดลองใช้ 
เครื่องมือ การส่ง การติดตาม 
การใช้แบบทดสอบ มาตรวัด
คุณภาพของเครื่องมือ 
ความเที่ยง (reliability) 
- internal consistency 
- test-retest reliability 
- inter-observer reliability
ความตรง (validity) 
- content validity 
- construct validity 
- criterion-related validity
การวิเคราะห์ข้อมูล 
การตรวจสอบข้อมูล (data edition) 
การจัดเตรียมข้อมูล (data preparation) 
การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis) 
การแปลความหมาย (interpretation) 
การอภิปรายผล (discussion)
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ 
• การแจกแจงความถี่, ร้อยละ 
• การเสนอแผนภูมิ และกราฟ 
• การวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง (เช่น ค่าเฉลยี่) 
• การวัดการกระจาย, ความเบ้, ความโด่ง 
• การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ 
• การวิเคราะห์ความแตกต่าง 
• การวิเคราะห์ความแปรปรวน 
• การวิเคราะห์การถดถอย 
• การวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูง
การพัฒนาโครงการวิจัย
ส่วนเนื้อหา (บทนา) 
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
ขอบเขตของการวิจัย 
นิยามคาศัพท์ 
ข้อตกลงเบือ้งต้น 
ประโยชน์ของการวิจัย 
เอกสารที่เก่ยีวข้องกับการวิจัย 
วิธีดาเนินการวิจัย
ส่วนท้าย 
บรรณานุกรม 
ภาคผนวก 
ปฏิทินปฏิบัติงาน 
งบประมาณ
การกาหนดปัญหาวิจัย
หัวข้อเรื่องวิจัย (RESEARCH TITLE) 
คาถามวิจัย (RESEARCH QUESTION)
หลักการกาหนดคาถามวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย 
• คาถามวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย ต้อง 
สอดคล้องกัน 
• ใช้ภาษาสั้น กะทัดรัด แต่ชัดเจน 
• คาถามหรือวัตถุประสงค์ย่อยต้องทาการวิจัย ได้ 
และผลการวิจัยที่ได้รวมกันเป็นผลการวิจัยของ 
คาถามหรือวัตถุประสงค์หลัก
หัวข้อเรื่องวิจัยที่ดี 
• แสดงความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 
• สามารถวิจัยได้ตามความพร้อมของผู้วิจัย 
• เป็นเรื่องสาคัญ เป็นประโยชน์ต่อสังคม 
• สร้างความรู้ทางวิชาการ 
• ไม่ขัดกับจรรยานักวิจัย 
• เป็นเรื่องที่ยังมีข้อโต้แย้ง สรุปยังไม่ได้ 
• มีนวภาพ
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการทางาน 
ของผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา 
- คุณภาพการทา งานของผู้บริหารเป็นอย่างไร? 
- ผู้บริหารที่มีวุฒิ อายุ และเพศต่างกัน มีระดับ คุณภาพการ 
ทางานแตกต่างกันอย่างไรฦ 
- ปัจจัยด้านสถานศึกษา เพื่อนร่วมงาน และ ภาวะผู้นาของ 
ผู้บริหารมีผลต่อคุณภาพการ ทา งานของผู้บริหาร 
อย่างไร?
การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
• เพื่อสารวจ (SURVEY) 
• เพื่อบรรยาย (DESCRIBE) 
• เพื่ออธิบาย (EXPLAIN) 
– เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (COMPARE) 
– เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ 
– เพื่อทานาย (PREDICT) 
– เพื่อทาการทดลอง (EXPERIMENT) 
• เพื่อสังเคราะห์(SYNTHESIZE) 
• เพื่อประเมิน (EVALUATE) 
• เพื่อพัฒนา (DEVELOP)
• การกา หนดกรอบความคิดของการวิจัย 
• การกา หนดขอบเขตของการวิจัย 
• การกา หนดข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย 
• การกา หนดข้อจา กัดของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย 
• สาระที่นักวิจัยเสนอ รายงานให้ผู้อ่านทราบว่าการวิจัย 
ครอบคลุมประชากรกลุ่มใด 
• ตัวแปรครบถ้วนตามกรอบความคิดเชิงทฤษฎีหรือไม่ 
• การวัดตัวแปรแต่ละตัวครบถ้วนตามนิยามเชิงทฤษฎีของตัว 
แปรเพียงใด 
• การรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสมบูรณ์ตามที่ควรจะเป็น 
เพียงใด 
• การวิเคราะห์ข้อมูล ตอบคา ถามวิจัยลึกซึ้งขนาดไหน
วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ 
IV DV 
Active V. หรือ 
Manipulated V.
ระดับการ 
ศึกษา รายได้ 
IV DV 
Attribute Variable
วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ 
IV DV 
Categorical V. Continuous V.
วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ 
IV DV 
Qualitative V. Quantitative V.
IV DV 
วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ 
สติปัญญา 
Extraneous V.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ 
ทางการเรียนของนักเรียน 
ปัจจัย ตัวแปร 
ครู คุณภาพการสอน วิธีสอน 
นักเรียน ความตงั้ใจเรียน ทัศนคติต่อการ 
เรียน 
ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ การอบรมเลี้ยงดู 
โรงเรียน สภาพแวดล้อม ลักษณะการบริหาร
ครู 
นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ 
ครอบครัว 
โรงเรียน
ครู 
นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ 
ครอบครัว 
โรงเรียน
นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ 
ครอบครัว
ขอบเขตการวิจัย 
ศึกษาเฉพาะปัจจัยด้านนักเรียนและครอบครัว 
ข้อตกลงเบื้องต้น 
ปัจจัยด้านครูและโรงเรียนคงที่ 
ข้อจากัดของการวิจัย 
ผลการวิจัยอาจไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง 
เนื่องจากข้อตกลงเบื้องต้นค่อนข้างอ่อน
ขอบเขตการวิจัย 
ศึกษาเฉพาะปัจจัยด้านนักเรียนและ 
ครอบครัว 
ข้อตกลงเบื้องต้น 
ปัจจัยด้านครูและโรงเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ 
ทางการเรียนเป็นเหมือนกันทุกโรงเรียน 
ข้อจากัดของการวิจัย 
ผลการวิจัยจะใช้ได้บนพื้นฐานของข้อตกลง 
เบื้องต้นนี้เท่านนั้
ขอบเขตการวิจัย 
ศึกษาเฉพาะปัจจัยด้านนักเรียนและครอบครัว 
และศึกษาจากโรงเรียนเดียว ห้องเรียนเดียว 
จากครูคนเดียวสอน 
ข้อตกลงเบื้องต้น 
ไม่ต้องระบุ 
ข้อจากัดของการวิจัย 
ผลการวิจัยอาจไม่สามารถใช้อ้างอิงได้กับสภาพ 
โรงเรียนหรือลักษณะครูแบบอื่นที่ต่างไปจากที่ 
ศึกษา
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย 
ในการเขียนโครงการวิจัย 
และแนวทางแก้ไข
ข้อบกพร่องในการศึกษาเอกสารที่ 
เกี่ยวข้องกับการวิจัย 
• ข้อบกพร่องในการสังเคราะห์เอกสาร 
– การลอกเลียน 
– การตัดแปะ 
– ไม่ได้สังเคราะห์
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 
ปัญหา-ข้อบกพร่อง 
 ความทันสมัยของเอกสาร 
(เก่า ลอกงานอื่น ไม่ค้นใหม่) 
 ประเภทของเอกสารที่อ้างอิง 
(ไม่ใช้เอกสารวิจัยที่มีความ 
น่าเชื่อถือมากกว่า) 
 การสังเคราะห์เอกสาร 
(ตัดแปะ คัดลอกมา) 
ขั้นตอนที่ดี คือ ต้องอ่าน จับประเด็น 
จดบันทึกใจความสาคัญ จัดหมวดหมู่ 
ความคิดให้เป็นระบบ แล้วสรุปความ 
เหมือนหรือต่าง) 
งานที่ต้องทา 
 ทาความเข้าใจประเด็นวิจัย 
 ค้นคว้า สังเคราะห์เอกสาร 
 ตรวจสอบผลการสังเคราะห์ 
 จัดลาดับ เชื่อมโยงความคิด 
 พัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
การเขียนความเป็นมาของปัญหาวิจัย 
ปัญหาที่พบ 
การอธิบายหลักการ 
สาคัญที่ไกลจากปัญหา 
วิจัย 
ไม่มีแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่ 
สาคัญ 
ไม่สามารถหาเหตุผล 
อธิบายว่าทาไมต้องศึกษา 
หลักการสา คัญ 
 ระบุสภาพที่พึงประสงค์ 
 ระบุสภาพที่เกิดขึ้นจริง 
พร้อมข้อมูลสถิติ และผล 
วิจัยสนับสนุน 
 ชี้ให้เห็นความต่างระหว่าง 
สภาพที่พึงประสงค์กับ 
สภาพที่เกิดขึ้นจริง 
 ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญของ 
ประเด็นวิจัย
การกาหนดคาถามวิจัย 
ปัญหาที่พบ 
 กา หนดในลักษณะของ 
ข้อความที่รู้คาตอบอยู่แล้ว มี 
เพียงนักวิจัยที่ยังไม่รู้คาตอบ 
 ลักษณะของคาถามเหล่านี้ 
สามารถหาคาตอบได้จากตารา 
ทัว่ไป ไม่ใช่ค้นหาจากการทา 
วิจัย 
หลักการสา คัญ 
 เป็นประโยคคาถาม แสดง 
ให้เห็นถึงส่งิที่นักวิจัย 
ต้องการค้นหาคาตอบ 
 คาถามวิจัยและประเด็นวิจัย 
มีความคล้ายคลึงกัน 
 ประเด็นวิจัยอาจกาหนด 
เป็นประโยคบอกเล่า หรือ 
เป็นคาถามวิจัยก็ได้ จะทา 
ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น
การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย 
ปัญหาที่พบ 
ระบุส่งิที่เป็นประโยชน์จาก 
การวิจัย หรือระบุผล การ 
วิจัยที่ต้องการอยากรู้หรือ 
ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข 
ให้หมดไป 
หลักการสาคัญ 
ระบุกิจกรรมหรือ 
กระบวนการที่นักวิจัย 
ต้องกระทาเพื่อให้ได้ 
ข้อมูลที่ตอบคาถามวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย 
ปัญหาที่พบ 
เขียนเป็นสูตรตายตัว 
เขียนเป็นวิธีดาเนินการวิจัย 
เหมือนบทที่ 3 
หลักการสาคัญ 
 ระบุว่าครอบคลุมตัวแปรอะไรบ้าง 
ซึ่งควรสอดคล้องกับกรอบความคิด 
ของการวิจัย 
 ควรระบุเหตุผลที่คัดเลือกตัวแปรบาง 
ตัวที่นา เข้ามาศึกษาในกรอบความคิด 
และเหตุผลที่ตัดตัวแปรบางตัวออก 
จากกรอบความคิด 
 ต้องขยายความให้เห็นแนวคิด 
เบื้องหลัง เพื่อให้ผู้อ่านรายงานวิจัย 
เข้าใจวิธีคิดของนักวิจัยได้ชัดเจน
ขอบเขตของการวิจัย 
ปัญหาที่พบ 
เขียนเป็นสูตรตายตัว 
เขียนเป็น 
วิธีดาเนินการวิจัย 
เหมือนบทที่ 3 
หลักการสาคัญ 
ขอบเขตประชากร 
 ต้องอธิบายได้ว่า กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง 
ครอบคลุมคนกล่มุใด 
 ทาไมจึงจากัดเฉพาะกล่มุน้เีท่านั้น 
เครื่องมือ 
 ไม่จาเป็นต้องปรากฏในขอบเขต 
 แต่หากจะระบุรายละเอียด น่าจะแสดง 
รายละเอียดของการกาหนดนิยาม 
ปฏิบัติการเกี่ยวกับตัวแปร มากกว่าการ 
อธิบายเกี่ยวกับวิธีการวัดตัวแปร
ข้อจากัดของการวิจัย 
 แสดงถึงความไม่สมบูรณ์ของการวิจัย 
 ไม่มีข้อจากัด หากออกแบบรัดกุม 
 เกิดขึ้นระหว่าง-หลังจากทาวิจัยเสร็จแล้ว 
 มักไม่ปรากฏในช่วงแรกของการนา เสนอ 
โครงการวิจัย (proposal) หากนักวิจัยรู้ว่าการวิจัย 
ของตนเองจะมีข้อจากัดในเรื่องอะไรบ้าง ก็ต้อง 
หาทางกาจัด ป้องกัน หรือแก้ไขก่อนที่จะเกิดปัญหา 
นั้น
ข้อจากัดของการวิจัย (ต่อ) 
ข้อจากัดที่อนุโลมได้ 
 กล่มุตัวอย่างมีขนาดน้อยกว่าที่ 
กาหนดหรือเป็นตัวแทนประชากรได้ 
บางลักษณะ 
 การวัดตัวแปรทาได้ไม่สมบูรณ์ 
ครบถ้วนตามนิยามที่ควรจะเป็น 
 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยไม่เป็นไป 
ตามที่ควรจะเป็นเน่อืงจากข้อจากัด 
เรื่องเวลา 
 งบประมาณ หรือการได้รับความ 
ร่วมมือจากกล่มุตัวอย่าง ทาให้ไม่ 
สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ตามที่ควรจะ 
เป็น 
ข้อจากัดที่ไม่สามารถรับได้ 
 กลุ่มตัวอย่างไม่ตั้งใจให้ 
ข้อมูล ทาให้ข้อมูลในการ 
วิจัยไม่ค่อยน่าเชื่อถือ 
 หากระบุข้อจากัดเช่นนี้ 
เท่ากับว่าผลการวิจัยนั้น 
เชื่อถือไม่ได้เลยตลอดเล่ม 
และไม่สามารถนาไปใช้ 
ประโยชน์ได้
ข้อตกลงเบื้องต้น 
 เป็นส่งิที่ไม่ต้องพิสูจน์ แต่จาเป็นต้องสร้างความ 
เข้าใจให้ตรงกัน 
 หากออกแบบการวิจัยได้ตามกรอบความคิด อาจไม่ 
จาเป็นต้องมีข้อตกลงใด ๆ 
 มีลักษณะเฉพาะ ไม่สามารถกาหนดเหมือนกันได้ 
 บ่อยครั้งพบว่านักวิจัยกาหนดข้อตกลงที่ไม่ค่อย 
จาเป็น
นิยามคาศัพท์ 
 เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องอธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกัน 
 ควรเป็นคาสา คัญที่นักวิจัยใช้ในความหมายเฉพาะ 
สาหรับการวิจัยนั้น 
 หากเป็นคาศัพท์ที่มีความหมายซึ่งเป็นที่เข้าใจตรงกัน 
และในการวิจัยนั้นก็ไม่ได้มีการใช้ในความหมายอื่นที่ 
ต่างออกไป ไม่จาเป็นต้องนิยาม
นิยามคาศัพท์ 
 ปัญหาการเขียนนิยามคาศัพท์ คือ การตัดคาสาคัญ 
ออกเป็นส่วนๆ เช่น 
ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนว ความคิดเห็น 
ทางการพัฒนาคุณธรรม 
แนวทาง 
การพัฒนา 
คุณธรรม 
= + 
 สาระสาคัญของตัวแปรหายไป ไม่เกิดประโยชน์ต่อการวิจัย 
 ที่ถูกต้องควรให้ความหมายของคาทั้งคา
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 
 นักวิจัยไม่สามารถอธิบายให้เห็นชัดเจนว่าการวิจัย 
ของตนเองมีประโยชน์อะไรบ้าง 
 ข้อบกพร่องคือ มักเขียนจานวนข้อของประโยชน์ที่ 
ได้รับตามจานวนข้อของวัตถุประสงค์ของการวิจัย 
 ปัญหาที่พบคือ การคาดหวังสูงหรือมากเกินไปจาก 
ผลการวิจัยนั้น ๆ
ขั้นการดาเนินการวิจัย 
การกา หนดตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 
ปัญหา : 
 ไม่ระบุลักษณะของประชากร (สา หรับการวิจัยเชิงปริมาณ) 
มีแต่คา อธิบายเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง ไม่ระบุที่มาของการ 
กาหนดขนาด 
จุดเน้นที่ควรตรวจสอบอย่างมาก : 
 ระบุลักษณะประชากร วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ 
 ถ้าใช้วิธีวิจัยเชิงทดลอง ควรอธิบายการวางแผนการทดลอง 
กระบวนการทดลอง การจัดกลุ่มทดลอง 
 ถ้าวิจัยที่ไม่ใช่เชิงทดลอง ตรวจสอบความเป็นตัวแทนประชากร
การสร้างเครื่องมือ-ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 
ส่งิที่ต้องระบุในงานวิจัยคือ 
 นิยามตัวแปรที่ต้องการวัด การสร้างเครื่องมือวิจัย 
การตรวจสอบคุณภาพ 
 หากยืมเครื่องมือจากหน่วยงานอื่นหรือจากนักวิจัยอื่น 
ต้องแสดงหลักฐานการขออนุญาตการใช้เครื่องมือ 
 กรณีใช้เครื่องมือผู้อื่น- ตรวจสอบคุณภาพซ้า 
 เครื่องมือที่สร้างขึ้น ควรแสดงคาอธิบาย 
กระบวนการพัฒนาเครื่องมือ และตัวอย่างของ 
เครื่องมือที่พัฒนาขึ้น
การสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 
ข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการสร้างเครื่องมือวิจัย 
 ขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือ- 
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 
 เน้นตรวจสอบภาษาที่ใช้และความครบถ้วนของสาระ ซึ่งต้อง 
สอดคล้องกับนิยามของตัวแปรที่มุ่งวัด 
 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญ 
 ผู้เชี่ยวชาญได้รับคาอธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบ นิยาม ตาราง 
โครงสร้างเนื้อหา และตารางแสดงว่าข้อคาถามแต่ละข้อมุ่งวัด 
ตัวแปรใด
การทาการศึกษานาร่อง 
 จาเป็นในการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย 
 เป็นการศึกษาโดยใช้กลุ่มตัวอย่างจานวนน้อย 
เพ่อืศึกษาผลที่ได้รับ ความเป็นไปได้ก่อนการ 
ดาเนินงานจริง 
 มีการวางแผนการออกแบบการศึกษานาร่อง 
 นา ผลการศึกษามาใช้ในการพัฒนาข้อเสนอ 
โครงการวิจัยให้สามารถปฏิบัติได้จริง
การรวบรวมข้อมูล 
 ต้องติดตามการดาเนินงานวิจัยอย่างใกล้ชิดทั้งการเก็บ 
ข้อมูล การจัดกระทาข้อมูล หรือการทดลอง 
 กรณีที่เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 
ควรกาหนด 
 ตารางการทางานในแต่ละขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูล 
 กา หนดยุทธวิธีที่จะทาให้ได้ปริมาณแบบสอบถามกลับคืน 
ตามต้องการ
การวิเคราะห์ข้อมูล 
 มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่กลับมา 
 ก่อนการวิเคราะห์ ถ้าเป็นไปได้ 
ควรมีการส่มุตรวจสอบการลงรหัสข้อมูล 
 มีหลักฐานการเก็บข้อมูล+ข้อมูลที่ได้กลับคืนมา
ปัญหาที่พบบ่อยในขั้นของการวิเคราะห์ข้อมูล 
 ใช้สถิติไม่เหมาะสม 
 แปลผลการวิเคราะห์ไม่ได้ 
 นักวิจัยที่ไม่มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล มักใช้วิธีการ 
จ้างผู้อื่นช่วยวิเคราะห์+แปลผลให้แทน 
 โอกาสในการเลือกใช้สถิติที่ไม่เหมาะสมจะมีมาก 
เน่อืงจากผู้ที่เป็นเจ้าของงานไม่สามารถแนะนา ให้ 
ผู้วิเคราะห์ข้อมูลเข้าใจได้
ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล 
 ทาความเข้าใจประเด็นวิจัยของตนเอง 
 รู้จักธรรมชาติและลักษณะของตัวแปร 
 สามารถวิเคราะห์เป้าหมายของการวิจัย 
ได้ว่าเป็นการบรรยายสภาพ 
 สารวจ อธิบาย หาความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ หรือ 
ทานาย
ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล 
(ต่อ) 
 สามารถระบุหรือเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม 
 ให้ความสาคัญกับการเตรียม+ตรวจสอบความสมบูรณ์ข้อมูล 
 เลือกใช้โปรแกรมที่ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสม 
 แปลความหมายผลการวิเคราะห์+ตรวจสอบการเสนอผล
กิจกรรมทดความคิด
1. ระบุสภาพที่พึงประสงค์/ต้องการจะให้เกิด 
................................................................................................................................... 
2. สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 
................................................................................................................................... 
3. ปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งจาเป็นต้องหารทางแก้ไข 
................................................................................................................................... 
4. ประเด็นที่ควรศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้คา ตอบที่นาไปสู่ความเข้าใจในปัญหา หรือการ 
วิเคราะห์หารทางแก้ไข ........................................................................................... 
5. กรอบความคิดของการวิจัย 
................................................................................................................................ 
6. ตัวแปรในกรอบความคิดของการวิจัย 
.................................................................................................................................. 
7. แบบการวิจัยที่ควรใช้ในการวิจัย 
..................................................................................................................................
ตัวอย่างหัวข้อเรื่อง 
• อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของวิทยาลัย การทัพอากาศ: 
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ 
• วิสัยทัศน์ของการศึกษาในวิทยาลัยการทัพ อากาศ: 
การวิจัยอนาคต 
• การศึกษาเปรียบเทียบการจัดการศึกษา ระหว่างวิทยาลัย 
การทัพอากาศและวิทยาลัยการทัพบก 
• การวิเคราะห์นโยบายการจัดการศึกษาของวิทยาลัย 
การทัพอากาศ
• การประเมินและพัฒนาหลักสูตร วิทยาลัย การทัพอากาศ 
• การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางการ พัฒนาการทา 
เอกสารวิจัยของนายทหาร นักศึกษาวิทยาลัยการทัพ 
อากาศ 
• การศึกษาสภาพ และปัญหาในการบริหารหลักสูตรของ 
วิทยาลัยการทัพอากาศ 
• การสังเคราะห์เอกสารวิจัยของนายทหาร นักศึกษา 
วิทยาลัยการทัพอากาศ
• การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนายทหาร 
นักศึกษาที่มียศ และอายุต่างกัน 
• การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา 
ต่างประเทศ ของนักศึกษาของวิทยาลัยการทัพอากาศ 
• การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของนายทหาร 
นักศึกษาวิทยาลัยการทัพอากาศ 
• ประสิทธิภาพของการให้คาปรึกษาในการทาเอกสาร 
วิจัยของนายทหารนักศึกษา
• การศึกษาความต้องการในการศึกษาต่อ และความ 
ก้าวหน้าของนายทหารสัญญาบัตร 
• สภาพปัจจุบันและปัญหาในการคัดเลือกนายทหาร 
เข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหา 
• พฤติกรรมการเรียนของนายทหารนักศึกษา 
• ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับตัวของ 
นายทหารนักศึกษา 
• สภาพและปัญหาเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ของ 
นายทหารนักศึกษา
• การติดตามควบคุม กากับ และประเมินผล ตามนโยบาย 
การจัดการศึกษา กองทัพอากาศ 
• การเปรียบเทียบวิธีการตัดสินใจสั่งการของผู้บังคับบัญชา 
ที่ผ่านและไม่ผ่านการศึกษาจากวิทยาลัยการทัพอากาศ 
• การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทที่คาดหวังกับบทบาทที่ 
ปฏิบัติจริงของอาจารย์ตามการรับรู้ของนายทหาร 
นักศึกษา 
• ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะผู้นา การปรับตัว และ 
เจตคติของนายทหารนักศึกษา
• การวิจัยและพัฒนาระบบการบริหารภายใน 
ของ …… 
• การศึกษาผลของ ……… ที่มีต่อ 
…….. 
• การเปรียบเทียบคุณภาพของ …….. 
ระหว่างการใช้ ……….. กับ 
………..

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองPrachyanun Nilsook
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 

La actualidad más candente (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 

Similar a ระเบียบวิธีวิจัย

การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสารNitinop Tongwassanasong
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยbenjama
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdfแบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdfธีรพงศ์ อ่อนอก
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยChamada Rinzine
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 

Similar a ระเบียบวิธีวิจัย (20)

Research1
Research1Research1
Research1
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Design
DesignDesign
Design
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdfแบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 

ระเบียบวิธีวิจัย