SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 1
Descargar para leer sin conexión
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
(Cognitive Theory)
ลักษณะของทฤษฎี การนาไปใช้
แนวคิดสาคัญ
ทฤษฎีกลุ่มนี้มีแนวคิดที่สาคัญ 5 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีเกสตัสท์
2. ทฤษฎีสนาม
3. ทฤษฎีเครื่องหมาย
4. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
5. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า การเรียนรู้ของมนุษย์มี
ความซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้นการเรียนรู้เป็น
กระบวนการทางความคิดที่เกิดจาการ
สะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ
ความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูล
ออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหา
ต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทาง
สติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจให้แก่ตนเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธินิยมนี้ ให้
ความสาคัญกับความสามารถในการตั้ง
วัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ
ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้
ความหมายกับสิ่งเร้าต่างๆ ที่ได้จาก
ประสบการณ์
จัดสถานการณ์ให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการแก้ปัญหาง่ายๆ ไปสู่
ปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น สอนให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตนเองเพื่อนาไปสู่
การคิดเป็น ทาเป็นและแก้ปัญหาเป็น จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ
มอบงานหรือกิจกรรมให้ทุกกลุ่ม ให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมการเรียน เป็นต้น
แนวความคิดของทฤษฎีสนามกล่าวว่า การ
เรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลแรงจูงใจหรือแรง
ขับที่จะกระทาไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตน
ต้องการ
แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฎี
เกสตัลท์นี้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการ
ทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัว
มนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็น
ส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย เกิดขึ้นได้ 2
ลักษณะ คือ การรับรู้ (perception) และ
การหยั่งเห็น (insight)
แนวคิดสาคัญของทฤษฎีเครื่องหมายของ
ทอลแมน (Tolman) กล่าวว่า การเรียนรู้เกิด
จากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดง
พฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาแบ่งเป็นของเพียเจต์
(Piaget) และบรูเนอร์ (Bruner) เพียเจต์อธิบายว่า การ
เรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่ง
จะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น ในขณะที่บ
รูเนอร์ก็ได้ศึกษาเรื่องพัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนื่อง
จากเพียเจต์อีกที
แนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซู
เบล (Ausubel) กล่าวว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่
ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งที่รู้มาก่อน

Más contenido relacionado

Destacado

Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6wichien wongwan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์monnareerat
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมNaracha Nong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 

Destacado (17)

Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
Chapter35630505256
Chapter35630505256Chapter35630505256
Chapter35630505256
 
Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6
 
Concept map 5
Concept map 5Concept map 5
Concept map 5
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 

Cognitive cm

  • 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitive Theory) ลักษณะของทฤษฎี การนาไปใช้ แนวคิดสาคัญ ทฤษฎีกลุ่มนี้มีแนวคิดที่สาคัญ 5 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีเกสตัสท์ 2. ทฤษฎีสนาม 3. ทฤษฎีเครื่องหมาย 4. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 5. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า การเรียนรู้ของมนุษย์มี ความซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้นการเรียนรู้เป็น กระบวนการทางความคิดที่เกิดจาการ สะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ ความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูล ออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหา ต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทาง สติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง ความรู้ ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธินิยมนี้ ให้ ความสาคัญกับความสามารถในการตั้ง วัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้ ความหมายกับสิ่งเร้าต่างๆ ที่ได้จาก ประสบการณ์ จัดสถานการณ์ให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการแก้ปัญหาง่ายๆ ไปสู่ ปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น สอนให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตนเองเพื่อนาไปสู่ การคิดเป็น ทาเป็นและแก้ปัญหาเป็น จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ มอบงานหรือกิจกรรมให้ทุกกลุ่ม ให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียน เป็นต้น แนวความคิดของทฤษฎีสนามกล่าวว่า การ เรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลแรงจูงใจหรือแรง ขับที่จะกระทาไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตน ต้องการ แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฎี เกสตัลท์นี้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการ ทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัว มนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็น ส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ การรับรู้ (perception) และ การหยั่งเห็น (insight) แนวคิดสาคัญของทฤษฎีเครื่องหมายของ ทอลแมน (Tolman) กล่าวว่า การเรียนรู้เกิด จากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดง พฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาแบ่งเป็นของเพียเจต์ (Piaget) และบรูเนอร์ (Bruner) เพียเจต์อธิบายว่า การ เรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่ง จะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น ในขณะที่บ รูเนอร์ก็ได้ศึกษาเรื่องพัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนื่อง จากเพียเจต์อีกที แนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซู เบล (Ausubel) กล่าวว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่ง หนึ่งที่รู้มาก่อน