SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
Descargar para leer sin conexión
คมวัชร เอี้ยงออง1
การดําเนินคดีสิ่งแวดลอมในประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ไมมีการจัดตั้งศาลคดีสิ่งแวดลอมไวเปนการเฉพาะ การฟองคดีและ
การดําเนินคดีสิ่งแวดลอมในประเทศสหรัฐอเมริกาจึงกระทําที่ศาลตามปกติเหมือนคดีทั่วไป (ยกเวนใน
บางมลรัฐ ไดแก มลรัฐเวอรมอนทที่มีการออกกฎหมายจัดตั้งศาลสิ่งแวดลอม)
ระบบศาลของสหรัฐอเมริกา
การดําเนินคดีในประเทศสหรัฐเปนระบบกลาวหา(Adversary system) และเนื่องจากประเทศ
สหรัฐอเมริกามีการปกครองแบบสหพันธรัฐ โดยมีรัฐบาลกลาง (Federal government) กับมลรัฐ (State)
และตางก็มการจัดตั้งศาลของตนเอง ตามเขตอํานาจที่รฐธรรมนูญรับรองไว สหรัฐอเมริกาจึงมีระบบ
ี
ั
ศาลคู ไดแก ศาลรัฐบาลกลาง (Federal Court System) และศาลมลรัฐ (State Court System)
ระบบศาลของรัฐบาลกลาง
ศาลของรัฐบาลกลางนั้นแบงลําดับชั้นไดเปน 3 ชั้น ไดแก ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา
ศาลชั้นตน (District court)
ศาลชั้นตนเปนศาลที่ทําหนาที่ดําเนินกระบวนพิจารณาโดยมีการสืบพยาน (Trial court) และมี

คําพิพากษาชี้ขาดตัดสินคดีในคดีที่อยูในเขตอํานาจศาล (Jurisdiction) ของตน โดยทั่วไปเรียกวา U.S.
district court ซึ่งแบงเปน 96 เขต (district) ในแตละเขตจะมี district court อยางนอย 1 ศาล เกือบทุกคดี
ที่เปนคดีตามกฎหมายรัฐบาลกลางจะตองทําการพิจารณาที่ District court
ศาลชั้นกลางศาลอุทธรณ (Appeal court)
ศาลอุทธรณเปนศาลในลําดับชั้นที่สอง โดยแบงเปน 12 ภาค (Circuit) กับ 1 เขต ไดแก เขต
District of Columbia (D.C.) ซึ่งเปนเมืองหลวงของรัฐบาลกลาง ศาลอุทธรณในแตละภาคจะพิจารณาคดี
ที่อุทธรณมาจาก district court ในภาคของตน นอกจากนี้ การอุทธรณคําสั่งทางปกครองจากหนวยงาน
ทางปกครอง (administrative agency) ก็ทําการพิจารณาทีศาลอุทธรณภาคนั้นๆ
่
ศาลสูงสุดหรือศาลฎีกา (Supreme Court)

1

น.บ. (ธรรมศาสาตร) , น.ม. (จุฬาลงกรณ), เนติบัณฑิตไทย, Cert. International Human Rights Law (University of
Nottingham), LL.M (University of California, Berkeley), ผูพิพากษาศาลชั้นตนประจําสํานักประธานศาลฎีกา
ศาลฎีกาสหรัฐอเมริกาเปนศาลสูงสุด โดยจะพิจารณาคดีที่มีการฎีกาขึนมาจากศาลอุทธรณภาค
้
ตางๆ ในบางกรณีก็มการสืบพยานที่ศาลฎีกาดวย แตก็ทํานอยมาก เชน คดีทฟองดําเนินคดีเอกอัค
ี
ี่
ราชทูตตางประเทศ เปนตน
ระบบศาลมลรัฐ
ศาลของมลรัฐนั้นไมมีลักษณะโครงสรางเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แตละรัฐก็มีระบบเปนของ
ตนเอง อยางไรก็ดีทุกรัฐยังคงเดินตามโครงสรางทั่วไปของระบบศาลรัฐบาลกลาง กลาวคือ โดยทั่วไป
จะประกอบไปดวย ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฏีกา อยางไรก็ดี บางมลรัฐก็มีเพียงสองลําดับชั้น
ไดแกศาลชั้นตน และศาลสูง
ศาลชั้นตน
ในระบบศาลมลรัฐ ศาลชั้นตนหรือศาลที่ทําการพิจารณาโดยมีการสืบพยาน(Trial court) จะถูก
กําหนดและจัดตั้งโดยมลรัฐนั้นเอง ซึ่งโดยปกติมกจะกําหนดตามเขตcounty โดยเรียกชื่อศาลแตกตาง
ั
กันไป อาทิเชน courts of common plea หรือ county courts แตสําหรับรัฐนิวยอรคนั้นมีเอกลักษณพิเศษ
โดยใชคําวา supreme court สําหรับศาลชั้นตน
ศาลชั้นกลางหรือศาลอุทธรณ
มีโครงสรางคลายกับศาลอุทธรณของรัฐบาลกลาง
โดยเปนศาลที่มีอํานาจพิจารณาอุทธรณ
ทั้งหลายที่มาจากศาลชั้นตน แตสําหรับคดีที่อุทธรณมาจากหนวยงานทางปกครองอํานาจจะจํากัดลง ชื่อ
เรียกก็จะแตกตางกันไปตามแตละรัฐ เชน Court of appeal หรือ superior courts
ศาลสูงสุดหรือศาลฎีกา
เปนศาลสูงสุดของทุกรัฐ โดยทั่วไปจะเรียก Supreme Court ในบางรัฐเปนที่รูจักในนาม court
of appeals มีรัฐจํานวนประมาณครึ่งหนึ่งที่คูความสามารถอุทธรณไดสองครั้ง (อุทธรณและฎีกา) แตอีก
ครึ่งที่เหลือมีเพียงศาลอุทธรณเทานัน
้
การฟองคดีและเขตอํานาจศาล
การฟองคดีโดยทั่วไปแลวตองเริ่มฟองที่ศาลชั้นตน โจทกจะเปนผูเลือกศาลที่จะฟองคดี ซึ่งคิด
วาเหมาะสมกับตน บางครั้งก็อาจจะเลือกวา จะฟองคดีตอศาลมลรัฐหรือศาลรัฐบาลกลาง อยางไรก็ดี
ถึงแมวาโจทกจะเลือกฟองคดีตอศาลมลรัฐ แตจําเลยยังคงมีสิทธิขอโอนคดีไปยังศาลรัฐบาลกลางได
การกําหนดวาศาลในระบบใดจะเปนผูที่มอํานาจพิจารณาคดีใดนัน ขึ้นอยูกับเรื่องที่ฟองรองกันหรือ
ี
้
เนื้อหาสาระแหงคดี (Subject matter) ซึ่งกําหนดโดยกฎหมายซึ่งจะกลาวถึงตอไป
เขตอํานาจในคดีสิ่งแวดลอมของศาลมลรัฐ
ศาลมลรัฐมีเขตอํานาจเหนือทุกคดีทีมิไดอยูในเขตอํานาจของศาลรัฐบาลกลาง คดีสวนใหญ
มักจะดําเนินกระบวนพิจารณาที่ศาลมลรัฐ
คดีเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดลอมของศาลมลรัฐโดยทั่วไปจะขึ้นสูการพิจารณาของศาลมลรัฐ
รวมทั้งคดีละเมิดของเอกชนที่เกี่ยวของกับเรื่องสิ่งแวดลอมดวย
เขตอํานาจในคดีสิ่งแวดลอมของศาลรัฐบาลกลาง
คดีสิ่งแวดลอมที่อยูในอํานาจของศาลรัฐบาลกลางไดแก
คดีสิ่งแวดลอมตามกฎหมายของ
รัฐบาลกลางที่มอบใหศาลของรัฐบาลกลางเปนผูมีเขตอํานาจเชน กฎหมายวาดวยความรับผิดชอบ การ
ชดเชยและความรับผิดในสิ่งแวดลอม (Comprehensive Environmental Response, Compensation and
Liability Act of 1980, CERCLA) กฎหมายวาดวยการรักษาและฟนฟูแหลงทรัพยากร (Resource
Conservation and Recovery Act, RCRA) กฎหมายวาดวยอากาศทีสะอาด (Clean Air Act) หรือ
่
กฎหมายวาดวยน้ําสะอาด (Clean Water Act) ตลอดจนคดีละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่มีลักษณะขามรัฐ
(Inter-states) เชน มีผลกระทบจากรัฐหนึงไปสูอีกรัฐหนึ่ง หรือกรณีคูความเปนพลเมืองตางรัฐกัน และ
่
การโตแยงการใชอํานาจออกกฎหมายเกียวกับสิ่งแวดลอมของมลรัฐหรือรัฐบาลกลางที่มีผลกระทบตอ
่
การพาณิชยระหวางมลรัฐ (Inter-states Commerce) หรือขัดตอรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา
การทับซอนของเขตอํานาจศาล (Concurrent of Jurisdiction)
มีหลายคดีที่อาจพิจารณาไดโดยศาลรัฐบาลกลางและศาลมลรัฐ โดยเปนกรณีที่มการทับซอน
ี
ของเขตอํานาจศาลทั้งสองระบบ ทําใหโจทกสามารถเลือกฟองในศาลใดศาลหนึ่งได ทั้งนี้ มีอยูสอง
กรณี กลาวคือ กรณีแรก ถาคดีนั้นจําเปนตองตีความรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กฎหมายรัฐบาลกลาง
หรือสนธิสัญญา เปนปญหาที่เกี่ยวของกับเรื่องรัฐบาลกลาง เรียกวาเปนคดีปญหาของรัฐบาลกลาง

(Federal question cases) แตอาจพิจารณาไดที่ศาลมลรัฐหรือศาลรัฐบาลกลาง เพราะกฎหมายของ
รัฐบาลกลางไมไดมอบเขตอํานาจโดยเฉพาะใหกับศาลรัฐบาลกลางทั้งหมด
กรณีที่สองเปนเรื่องที่มาจากความหลากหลายของพลเมืองสหรัฐ (Diversity of citizenship)
ประชาชนของรัฐหนึ่งอาจเขาไป หรืออยูอาศัยในอีกรัฐหนึ่ง เมื่อเกิดขอพิพาทกันขึน อาจทําใหคดีมี

้
องคประกอบเกี่ยวกับความแตกตางของพลเมืองที่เปนคูความ ทั้งนี้ถาคูความทั้งสองฝาย(โจทก-จําเลย)มี

ถิ่นที่อยูตางรัฐกัน ก็เขาเงื่อนไขเรื่องความแตกตาง แตหากคูความทั้งสองฝายมีถิ่นที่อยูในรัฐเดียวกัน
ความแตกตางก็หมดไป ตัวอยางเชน โจทกเปนผูมีถิ่นที่อยูที่รัฐโอไฮโอ สวนจําเลยคนหนึ่งมีถิ่นที่อยูที่
รัฐมิชิแกนและอีกคนมี่ถิ่นทีอยูที่รัฐอินเดียนา กรณีนี้จะมีประเด็นเรื่องความแตกตางเกิดขึ้น ทําใหมีเขต
่
อํานาจพิจารณาทั้งศาลมลรัฐและศาลของรัฐบาลกลาง แตถาโจทกชาวโอไฮโอฟองจําเลยชาวโอไฮโอ
กับมิชิแกน ถือวามีคูความทังสองฝงอาศัยที่อาศัยอยูในรัฐเดียวกันแลว ก็ไมเขาเงื่อนไขในความแตกตาง
้
นี้และไมเกิดการทับซอนของเขตอํานาจศาล อยางไรก็ดี ถาโจทประสงคจะฟองคดีตอศาลรัฐบาลกลาง

โดยอาศัยฐานของเขตอํานาจมาจากเรื่องความหลากหลายของพลเมือง (Diversity of citizenship) ขอ
พิพาทนั้นตองมีทุนทรัพยตั้งแต 50,000 เหรียญสหรัฐขึ้นไป
เมื่อคดีมีความทับซอนของเขตอํานาจศาลรัฐบาลกลางกับศาลมลรัฐทั้งกรณีคดีปญหาของ
รัฐบาลกลางหรือความแตกตางของพลเมือง โจทกอาจฟองคดีไดไมวาที่ศาลรัฐบาลกลางหรือศาลมลรัฐ
อยางไรก็ดีถาโจทกฟองรองคดีที่ศาลมลรัฐ จําเลยก็มสิทธิขอโอนคดีไปยังศาลรัฐบาลกลางได แตถา
ี

โจทกฟองคดีที่ศาลรัฐบาลกลางก็คงตองพิจารณาที่ศาลของรัฐบาลกลางนั้น
เหตุที่กําหนดใหคูความมีสิทธิขึ้นศาลรัฐบาลกลาง ก็เพื่อหลีกเลี่ยงความกังวลของคูความใน
เรื่องอคติของศาลมลรัฐ ทั้งนี้ ลูกขุนของศาลมลรัฐโดยทัวไปก็มกจะคัดเลือกมาจากคนใน County
่
ั
นั้นเอง แตลกขุนในศาลรัฐบาลกลางจะคัดเลือกมาจากคนในเขต (District) ทั้งหมด ซึ่งรวมหลาย
ู
County ลูกขุนในศาลมลรัฐจึงมีความเหมือนหรือคลายคลึงกันมากกวาในศาลรัฐบาลกลาง
เขตศาล (Venue)
เขตอํานาจศาลตามสาระแหงคดี (Jurisdiction over subject matter)กับเขตศาล (Venue) เปนคน
ละเรื่องกัน กลาวคือเมื่อทราบแลววาศาลในระบบใดมีเขตอํานาจพิจารณาคดีแลว สิ่งที่ตองทราบตอไป
คือ ศาลใดในระบบนั้นจะมีอํานาจรับคดีไวพิจารณา โดยพิจารณาตามเขตทางภูมศาสตร(Geographic
ิ
location) โดยทั่วไปจะยึดเกณฑที่คลายกัน อาทิเชน ถิ่นที่อยูของจําเลย ที่ตั้งของทรัพยที่พิพาท หรือ

สถานที่มูลคดีเกิดขึ้น หากมีจําเลยหลายคนที่อาศัยอยูในเขตศาลตางกัน โจทกสามารถเลือกฟองยังศาล
ใดศาลหนึ่งทีจาเลยเหลานั้นมีถิ่นที่อยูอยูในเขตอํานาจศาลได ในกรณีของบริษัท ถิ่นที่อยูไดแก ที่ตั้ง
่ํ
สํานักงานแหงใหญ ถาเปนบริษัทขนาดเล็กก็อาจหมายถึงที่ตั้งโรงงานหรือสํานักงาน ตัวอยางเชน ถา
โจทกอาศัยอยูที่ Wood County ฟองจําเลยที่อาศัยอยูที่ Lucas County ในคดีอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นที่ Huron

County ศาลที่มีอํานาจจะพิจารณาไดแกทั้งสามเขตศาลนั้น ซึ่งโจทกอาจเลือกฟองยังศาลใดศาลหนึงใน
่
สามศาลนี้
ในกรณีที่ศาลที่รับคดีไวพจารณาไมสะดวกแกคูความฝายใดฝายหนึ่ง ก็อาจขอใหโอนคดีไปยัง
ิ
ศาลที่สะดวกกวา ตามหลัก forum non conveniens ซึ่งเปนดุลพินจของศาลวา จะอนุญาตตามคําขอ
ิ
ดังกลาวหรือไม
บทบาทบุคคลที่เกี่ยวของกับกระบวนการพิจารณาพิพากษา
ทนายความ
โดยปกติแลว เมื่อเกิดกรณีพิพาท คูความซึ่งอาจเปนเอกชน หรือเปนกลุมเคลื่อนไหวดาน
สิ่งแวดลอม(Environmental group) มักจะติดตอกับทนายความกอน ซึ่งทนายความนัน นอกจากจะเปน
้
ตัวแทนตัวความในศาลหรือในชั้นพิจารณาของคณะกรรมการทางปกครองแลว บางครั้งยังทําหนาทีเ่ ปน
ผูเจรจาดวย อาทิเชน ถาเอกชนตองการทําโครงการพัฒนาที่ดิน แตประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นมี
ความกังวลเรื่องผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทั้งสองฝายตางก็อาจจางทนายความเขาไปเจรจาเพื่อหาทาง
เลือกหรือทางออกรวมกัน
ลูกขุน (Jury)
ลูกขุนมีความสําคัญในการแสดงใหเห็นถึงการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ
พิจารณาคดีของศาล ลูกขุนเปนกลุมบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกมาโดยการสุมเลือกมาจากบุคคลที่อาศัย
อยูในพืนที่ทางภูมิศาสตรที่ศาลนั้นตั้งอยู เพื่อเขามาตัดสินปญหาขอเท็จจริง ในยุคแรกประกอบดวย
้
ลูกขุนจํานวน 12 นาย แตในหลายรัฐลดจํานวนลงเหลือเพียงไมกี่นายสําหรับการพิจารณาคดีแพง โดย
ปกติ คําตัดสินของลูกขุนตองเปนเอกฉันท ทุกวันนี้ในคดีแพงนัน กวาครึ่งของมลรัฐทั้งหมดไมไดยึดถือ
้
วาตองถึงกับเปนเอกฉันท ในคดีแพงซึ่งโจทกตองการการเยียวยาในรูปของคาเสียหาย ลูกขุนก็จะเปนผู
พิจารณากําหนดจํานวนคาเสียหายให อยางไรก็ดี คูความทั้งสองฝายอาจตกลงกันสละสิทธิในการไดรับ
การพิจารณาโดยมีลูกขุน ซึ่งผูพิพากษาจะเปนผูตัดสินปญหาขอเท็จจริงและกําหนดคาเสียหาย
นอกจากนี้ คดีสิ่งแวดลอมจํานวนมาก การเยียวยาความเสียหายมุงไปที่การรักษาความสงบสุข

ของสังคม โดยขอเพียงใหศาลมีคําสั่งหาม (Injunction) มิใหจําเลยกระทําการใดๆอันเปนการกอใหเกิด
ความเสียหายตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน แตไมมีการขอคาเสียหาย อยางเชนการขอให
ศาลออกคําสั่งหามมิใหจําเลยปลอยน้ําทิ้งจากโรงงานโดยที่ยังไมมีการบําบัดเสียกอนเทานั้น โดยไมได
เรียกรองคาเสียหาย เมื่อใดก็ตามที่ศาลไดมีคําสั่งออกไป เชนคําสั่งหามตามที่รองขอมา คดีก็เปนอัน
เสร็จ ไมตองมีการพิจารณาเรืองคาเสียหาย ก็ไมตองมีการใชลูกขุนในคดีนั้น
่
ผูพิพากษา
ผูพิพากษาทําหนาที่เปนประธานในการดําเนินกระบวนพิจารณา ควบคุมการพิจารณา ตัดสิน
ปญหาขอกฎหมาย อาทิ ปญหาวา พยานหลักฐานใดสามารถรับได (Admissible) หรือกฏหมายใดที่จะ
ใชบังคับแกคดี ซึ่งผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาในคดีนั้นจะอธิบายถึงกฎหมายที่จะใชบังคับแกคดีแกลูกขุน
ในรูปคําแนะนํา ในกรณีทคูความสละสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาโดยมีลูกขุน หรือในกรณีทกฎหมาย
ี่
ี่
บางฉบับกําหนดใหศาลทําการพิจารณาโดยไมตองมีลูกขุน
ผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีนนจะเปนผู
ั้
ตัดสินปญหาขอเท็จจริงดวย โดยปกติในศาลชั้นตนจะมีผพิพากษาเพียงนายเดียวขึ้นนั่งพิจารณาในแต
ู
ละคดีที่ทําการสืบพยาน
ในศาลอุทธรณผูพิพากษาจะพิจารณาเปนองคคณะโดยมีหนาที่ทบทวนคําพิพากษาของศาล
ชั้นตน และในบางครั้งก็มีการรับฟงการแถลงการณดวยวาจาจากคูความ
อยางไรก็ดเี กี่ยวกับคดีสิ่งแวดลอมนั้น
ผูพิพากษายังจําเปนตองมีความรูความเขาใจในเรือง
่
สิ่งแวดลอม
ความเขาใจในเรื่องวิทยาศาสตรเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและการเยียวยาความเสียหายที่
เหมาะสมแกคดีประเภทนี้
ผูพิพากษาศาลมลรัฐปกติมักมาจากการเลือกตั้ง แตก็มีบางแหงมาจากการแตงตั้งบาง ในขณะที่
ผูพิพากษาศาลรัฐบาลกลางมาจากการแตงตังโดยประธานาธิบดีตามคําแนะนําและยินยอมจากวุฒิสภา ผู
้
พิพากษาศาลรัฐบาลกลางอยูในตําแหนงตลอดชีวิต

สวนผูพพากษาศาลมลรัฐมักจะมีวาระการดํารง
ิ
ตําแหนง แตคราวละกี่ปจะแตกตางกันไปในแตละรัฐ
ประเภทคดีสิ่งแวดลอม
การพิจารณาคดีสิ่งแวดลอมนั้น อาจแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก การฟองตามคอมมอนลอว
(Common law claim) กับการฟองคดีตามกฎหมายสิ่งแวดลอมที่ออกเปนการเฉพาะ
ในสวนของคดีคอมมอนลอวนั้นสวนใหญจะเปนคดีละเมิดทั่วไปไดแกการฟองในมูลเรื่องการ
บุกรุก (Trespass) การกอความเดือดรอนรําคาญ (Nuisance) การกระทําละเมิดที่เปนความรับผิดเด็ดขาด
(Strict Liability) การกระทําละเมิดโดยประมาท (Negligence) นอกจากนี้ก็มีเรื่องการคุมครอง
ประโยชนสาธารณะ (Public Trust Doctrine) เปนตน
การฟองคดีตามกฎหมายสิ่งแวดลอมที่ออกเปนการเฉพาะ ไดแก การฟองคดีตามกฎหมาย
สิ่งแวดลอมทีออกมาเปนการเฉพาะ อาทิ กฎหมายวาดวยความรับผิดชอบ การชดเชยและความรับผิดใน
่
สิ่งแวดลอม (Comprehensive Environmental Response, Compensation and Liability Act of 1980,
CERCLA) และกฎหมายวาดวยการรักษาและฟนฟูแหลงทรัพยากร (Resource Conservation and
Recovery Act, RCRA) ซึ่งมุงคุมครอง ฟนฟู ดินและน้ํา ทั้งบนดินและใตดิน ในบริเณที่มีการทิ้งของเสีย
และวัตถุมีพษจนเปนหรืออาจเปนอันตรายแกสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังมี
ิ
กฎหมายวาดวยการควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act) กฎหมายวาดวยอากาศที่สะอาด
(Clean Air Act) กฎหมายวาดวยน้ําสะอาด (Clean Water Act) กฎหมายวาดวยถังกักเก็บใตดิน
(Underground Storage Tank Act, USTA) กฎหมายวาดวยนโยบายสิ่งแวดลอมแหงชาติ (National
Environmental Policy Act) เปนตน
การดําเนินคดีโดยประชาชนและอํานาจฟอง (Citizen Suite and Standing)
คดีสิ่งแวดลอมที่ขึ้นสูศาลสหรัฐอเมริกา หากไมนบ คดีที่ดําเนินการโดยกระทรวงพิทกษ
ั
ั
สิ่งแวดลอมของสหรัฐ (Environmental Protection Agency, EPA) แลว เกือบทั้งหมดฟองโดยกลุม
ประชาชน ในชวงทศวรรษ 1970-1980 เมือเริ่มตีความใชบังคับกฎหมายสิ่งแวดลอม คดีสวนใหญเปน
่
เรื่องที่กลุมรักษาประโยชนสาธารณะ(Public Interest Group) ฟองรัฐบาลเกี่ยวกับการใชดุลพินจโดยมิ
ิ
ชอบในการจัดการตามกฎหมายสิ่งแวดลอม หรือโดยไมบังคับใชใหเหมาะสม เหตุทเี่ รื่องเหลานี้ มีการ
พิจารณาทบทวนดุลพินิจในการบังคับใชกฎหมายของหนวยงานและเจาหนาที่ของรัฐก็เพราะ มีการ
ยอมรับใหกลุมประชาชนมีสิทธินําคดีขึ้นสูศาลเพื่อบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมได และมีคดีลักษณะ
เดียวกันเปนจํานวนมากที่กลุมประชาชนไดนํามาฟองตอศาลอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดี ในยุครัฐบาล
ประธานาธิบดีเรแกนและบุช(ผูพอ) เคยมีกระแสอนุรักษนิยมยกขอโตแยงวา ผูท่มีอํานาจฟองตองเปนผู
ี
ที่เสียหายเปนพิเศษ (Particularized Injury)เทานั้น และทุกคนก็มนาและอากาศทีดีและสะอาดอยูแลว
ี ้ํ
่
กลุมประชาชนก็ไมควรไดรบอนุญาตใหฟองคดีเหลานี้
ั

สําหรับเงื่อนไขเรื่องอํานาจฟองตามรัฐธรรมนูญสหรัฐนั้น มีขอพิจารณา 3 ประการไดแก
ประการแรก ตองมีความเสียหายเกิดขึ้น (Injury) โดยโจทกตองไดรับความเสียหายจากการ
กระทําอันละเมิดหรือฝาฝนตอกฎหมายทีคุมครองสิทธิน้นแลว
่
ั
ประการที่สอง ตองมีความสัมพันธระหวางเหตุและผล (Causation) กลาวคือ ตองมี
ความสัมพันธระหวางความเสียหายและการกระทําที่ถูกฟอง ในคดี Massachusetts v. Environmental
Protection Agency2 ศาลฎีกาสหรัฐ เห็นวา ภาวะโลกรอนอันมีสาเหตุมาจากการที่ EPA ปฏิเสธไม
ควบคุมจัดการการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเขาเงื่อนไของคประกอบขอนี้ ซึ่งรัฐแมสสาชูเสทส
กลาวอางวา ไดมีความเสียหายโดยเกิดการสูญเสียที่ดินชายฝงทะเลแลว
ประการที่สาม ตองเปนเรื่องที่ศาลอาจเยียวยาใหได (Redress ability) กลาวคือ คําขอตามฟอง
ตองเปนสิ่งที่ศาลที่มีการฟองคดีนั้นสามารถจะเยียวยาใหได อาทิเชนคดี Lujan v. Defenders of Wildlife
ศาลฎีกาใหความเห็นวา กรณีที่ตองอาศัยอํานาจของประธานาธิบดีในการเยียวยาความเสียหายดวยนัน
้
เปนเรื่องที่ศาลไมอาจจะพิพากษาใหได ซึ่งจะไดกลาวรายละเอียดของคดีในอันดับตอไป
สําหรับในประเด็นเรื่องอํานาจฟองในกรณีราษฎรฟองหนวยงานของรัฐเกี่ยวกับการบังคับใช
กฎหมายนั้น ศาลฎีกาของสหรัฐถือเกณฑพิจารณา 2 ขอตาม Administrative Procedure Act หรือ APA
เรียกวา Data Processing Test ไดแก ประการแรก โจทกตองมีความเสียหายตามความเปนจริงหรือความ
เสียหายในทางขอเท็จจริง (injury in fact) และ ประการที่สอง โจทกมีผลประโยชนอยูในขายที่ไดรับ
การปกปองหรือควบคุมจัดการโดยกฎหมายที่หนวยงานของรัฐกระทําการฝาฝน (Zone of interest)3
ศาลฎีกาสหรัฐไดตัดสินในประเด็นเรื่องอํานาจฟองไวหลายคดีดวยกัน ไดแก คดี Sierra Club

v. Morton 4ซึ่ง Sierra Club ไดโตแยง Forest Service และ Department of Interior (กรมปาไมและ
กรมการกิจการภายในหรือมหาดไทย) ทีอนุมัติโครงการของบริษัท วอลท ดิสนีย เอเตอรไพรซ ที่
่
ตองการปรับสภาพพื้นทีหุบเขา Mineral King Valley ซึ่งมีสภาพกึ่งปาทึบและเปนที่อยูอาศัยของสัตว
่
ใหกลายเปนแหลงทองเที่ยวประเภทรีสอรท ทั้งนี้ Sierra Club อางวา ตนมีอํานาจฟอง และมีสิทธิขอให
ศาลออกคําสั่งหามมิใหมการออกใบอนุญาตใหแกบริษัทดังกลาว เพราะกลุมสมาชิกของตนมีสวนรวม
ี
ในการอนุรักษและบํารุงรักษาอุทยานแหงชาติ ตลอดจนสถานที่อยูอาศัยและหลบภัยของสัตว รวมทั้ง
ผืนปาของประเทศ แตศาลฎีกาสหรัฐปฏิเสธวา คดีดังกลาว Sierra Club ไมมีอํานาจฟอง โดยใหเหตุผล
วา Sierra Club อางวา ตนหรือสมาชิกของตนอาจไดรบผลกระทบตอกิจกรรมใดๆที่ดําเนินอยูหรือเกิด
ั
ผลกระทบเปนครั้งคราวจากโครงการพัฒนาของบริษัทดิสนียที่พิพาทนั้น แตไมปรากฏวา มีถอยคําหรือ
ขอความใดที่ Sierra Club ชี้ใหเห็นวา การกระทําของจําเลยจะสงผลกระทบอยางรายแรงจนจะทําให
สมาชิกของคลับสามารถใชประโยชนใน Mineral King เพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงคอันหนึ่งอันใด
ลดลงไปอยางมาก แตอยางใดไม ทั้งนี้ ถึงแมวา ศาลฎีกาจะไดปฏิเสธอํานาจฟองของ Sierra Club ในคดี
ดังกลาวก็ตาม แตคําพิพากษาในคดีนี้กลับทําใหเกิดการตีความวา องคกรหนึ่งองคกรใดที่สมาชิกอาจ

2
3

Massachusetts v. Environmental Protection Agency , 59 U.S. 1438 (2007)

Danial A. Farber, Jody Freeman, Ann E. Carlson and Roger W. Findley, Cases and material on
Environmental Law 365-415, (7th Ed. Thomson West, 2006) (1981)
4
Sierra Club v. Morton, 405 U.S. 727, 92 S. Ct. 1361, 31 L. Ed. 2d 636 (1972)
ไดรับผลกระทบจากการไมปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดลอมฉบับใดก็ตาม ยอมมีอํานาจฟอง หากองคกร
และสมาชิกขององคกรนั้นไดรับความเสียหายตามความเปนจริง (injury in fact)จากโครงการดังกลาว5
คดีตอมาไดแกคดี United States v. Students Challenging Regulatory Agency Procedure
ิ
(SCRAP I)6 ซึ่งเกี่ยวกับการโตแยงคําวินจฉัยของคณะกรรมการการคาระหวางมลรัฐ (the Interstate
Commerce Commission, ICC) ที่อนุญาตใหการรถไฟเก็บคาระวางเพิ่ม 2.5 เปอรเซนตจากสินคารี
ไซเคิลที่ขนสง โดยปราศจากการทํารายงานผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และเปนการเลือกปฏิบัติตอ
สินคาประเภทนี้ ซึ่งจะทําใหมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นทั่วประเทศ และขยะพวกนีจะตกอยูตามปาและ
้
สวนสาธารณะซึ่งมีกิจกรรมปนเขา ตกปลาและเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ กลุมดังกลาวยังกลาวอาง
อีกวา สมาชิกในกลุมสูดเอาอากาศที่มมลพิษอันเปนผลเนื่องมาจากอัตราคาระวางที่เพิ่มขึ้น และสมาชิก
ี
ทุกคนตองจายภาษีเพิมขึ้นเพราะตองใชเงินในการกําจัดขยะ คณะกรรมการดังกลาวโตแยงเรื่องอํานาจ
่
ฟอง แตศาลฎีกาสหรัฐตัดสินวา โจทกมีอํานาจฟองโดยสมาชิกแตละคนไดรับความเสียหายโดยตรงจาก
โครงสรางคาระวางสินคาดังกลาว ซึ่งกระทบตอเศรษฐกิจและความสุนทรียของพวกเขา เพราะโดยปกติ
สมาชิกไดใชปา แมน้ําและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ รอบบริเวณเมืองวอชิงตันเพื่อตังแคมป ปนเขา ตก
้
ปลา ชมทิวทัศน และเพื่อการพักผอนหยอนใจ
คดี Duke Power Co. v. Carolina Environmental Study Group, Inc.7ซึ่งโจทกในคดีนี้ตั้งขอ
โตแยงวา กฎหมาย Price Anderson Act ขัดตอรัฐธรรมนูญสหรัฐ โดยกฎหมายฉบับดังกลาวจํากัดความ
รับผิดของโรงงานนิวเคลียรในความเสียหายที่อาจเกิดจากอุบัติเหตุในแตละครั้งไว โจทกอางวา หาก
ปราศจากขอจํากัดดังกลาวก็จะไมมการสรางเตาปฏิกรณ
ี
ซึ่งมันก็เหมือนกับการเก็บสิ่งที่พรอมจะ
กอใหเกิดความเสียหายตอสิ่งแวดลอมไดในทันทีทันใดเอาไว และเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นแลว ปรากฏ
วา สูงกวาจํานวนทีจํากัดไวในกฎหมายฉบับดังกลาว และผูเสียหายจะไมสามารถเรียกคาเสียหายสวน
่
นั้นได เทากับเปนการเอาทรัพยสินของประชาชนไปโดยไมมีการจายคาตอบแทน จึงขัดตอรัฐธรรมนูญ
ซึ่งศาลเห็นวา มีความเปนไปไดวา ถาไมมบทบัญญัติดังกลาวแลว ก็คงไมมีการสรางหรือดําเนินการเตา
ี
ปฏิกรณนั้นใกลบานโจทก ดังนั้น โจทกยอมมีอํานาจฟอง อยางไรก็ดี จําเลยไดตอสูวา ความเสียหายที่
โจทกอางเปนเหตุใหตนมีอํานาจฟองกับขอเรียกรองของโจทกนั้นไมเกียวโยงสัมพันธกัน แตขอตอสู
่
ของจําเลยขอนี้ศาลไมเห็นพองดวย โดยใหเหตุผลวา ความเสียหายที่โจทกยกมาเปนเหตุแหงอํานาจฟอง
นั้นไมจําตองสัมพันธกับขอเรียกรองของโจทก

5

Roger W. Findley and Daniel A. Farber, Environmental Law in a nutshell 2-4, (6th Ed. Thomson West,
2004) (1983)
6
United States v. Students Challenging Regulatory Agency Procedure, 412 U.S. 669, 93 S. Ct. 2405, 37 L.
Ed. 2d 254 (S. Ct. 1973)
7
Duke Power Co. v. Carolina Environmental Study Group, Inc. , 438 U.S. 59, 98 S. Ct. 2630, 57 L. Ed. 2d
595 (S. Ct. 1978)
คดี Lujan v. National Wildlife Federation8 เปนเรื่องเกี่ยวกับการทีสํานักงานบริหารจัดการ
่
ที่ดิน (Bureau of Land Management, BLM) ทําการเพิกถอนที่ดินสาธารณะใน 11 รัฐฝงตะวันตกและ
เปดใหมีการเขาไปพัฒนา โจทก (National Wildlife Federation) กลาวหา การกระทําของ BLM วา ฝา
ฝนเงื่อนไขตามขั้นตอนของกฎหมาย และเปนการเปดพื้นที่ดนเพื่อการทําเหมืองแร แตศาลตัดสินวา
ิ
โจทกไมมีอํานาจฟอง เพราะ โจทกอางเพียงวา มีสมาชิกที่ใชที่ดนของรัฐบาลกลางในบริเวณที่ไดรับ
ิ
ผลกระทบจากคําสั่งดังกลาว หากจะโตแยง คงโตแยงไดเฉพาะโครงการในพืนที่เหลานั้น มิใชโตแยง
้
โครงการทั้งหมดของ BLM ตามฟอง
คดี Lujan v. Defenders of Wildlife9 ขึ้นสูศาลฎีกาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 1991 ในคดีนี้ The
Defenders (กลุมอนุรักษสัตวปา) เรียกรองวา กฎหมายคุมครองสัตวใกลสูญพันธุ (the Endangered
Species Act of 1973) ควรบังคับใชกบกิจกรรมตางๆในตางประเทศที่ไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
ั
สหรัฐดวย โครงการที่พิพาทหรือเปนประเด็นที่นํามาพิจารณานัน เปนการใชเงินจากรัฐบาลสหรัฐใน
้
โครงการชลประทานที่ดําเนินการในประเทศศรีลังกา และการสรางเขื่อนอัสวานขึ้นใหมที่แมน้ําไนล
ในประเทศอียปต ซึ่งโครงการดังกลาวสงผลคุกคามตอสัตวใกลสูญพันธุอยางชางในศรีลังกาและจรเข
ิ
ในอียิปตรวมถึงสัตวอีกหลายชนิด Lujan ยกประเด็นตอสูเรื่องอํานาจฟอง โดยโตแยงวา การที่กลุม
Defenders of Wildlife จะนําคดีนี้มาฟองตอศาลนั้น อยางนอยกลุมเคลือนไหวดังกลาวตองแสดงใหศาล
่
เห็นวา มีขอเท็จจริงอันหนึงอันใดทีแสดงวา พวกตนไดรับความเสียหายในความเปนจริงหรือในทาง
่
่
ขอเท็จจริง (injury in fact) โดยมีสาเหตุมาจากกฎหมายฉบับดังกลาว สวน The Defenders โจทก อางวา
พวกตนมีอํานาจฟอง เพราะพวกตนเปนตัวแทนสมาชิกองคกรที่ไดเขาไปในสถานที่กอสราง โดยเขาไป
ตามระเบียบ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสัตวใกลสูญพันธุในบริเวณพืนที่เหลานั้นภายใตกฎหมายฉบับดังกลาว
้
แตโจทกไมสามารถพิสูจนถึงความเสียหายได
และเรื่องตามที่ขอมาในฟองยังเปนเรื่องที่ตองอาศัย
อํานาจของประธานาธิบดีในการแกไขปญหาอีกดวย จึงเปนเรื่องที่ศาลไมอาจเยียวยาใหได และศาลจึง
เห็นวา โจทกไมมีอํานาจฟอง
คดีที่กลาวมาขางตน เปนคดีแรกๆที่สรางบรรทัดฐานเรื่องอํานาจฟอง สําหรับคดี Lujan นั้นศาล
เลือกที่จะจํากัดสิทธิของประชาชนโดยจํากัดเรื่องอํานาจฟอง แตศาลฎีกาสหรัฐในปจจุบันมีแนวคิด
แตกตางจากยุค 1970 แมกระนั้นก็ตาม ประเด็นเรื่องอํานาจฟองยังคงเปนที่ถกเถียงกัน ในป 1997 มีคํา
ตัดสินในคดี Bennett v. Spear วา ประชาชนสามารถฟองรัฐเกี่ยวกับกฎเกณฑที่เขมงวดเกินไปได
หรือไม คดีนกลุมเจาของปศุสัตวในเขตชลประทานหลายแหงฟอง Fish and Wildlife Service ที่จํากัด
ี้
การปลอยน้ําจากโครงการชลประทานเพื่อปกปองปลาใกลสูญพันธุสองชนิด กลุมเจาของปศุสัตวอางวา
การกระทําดังกลาวทําใหพวกตนเสียหายทางเศรษฐกิจ ศาล District Court ยกฟอง ศาลอุทธรณพิพากษา
8
9

Lujan v. National Wildlife Federation, 497 U.S. 871, 110 S. Ct. 3177, 111 L. Ed. 2d 695 (S. Ct. 1990)
Lujan v. Defenders of Wildlife, 504 U.S. 555, 112 Sx. Ct. 2130, 119 L. Ed. 2d 351 (S. Ct. 1992)
ยืน โดยยกเหตุเรื่องโจทกไมมีอํานาจฟอง แตศาลฎีกากลับคําตัดสินของศาลลาง โดยกลาววา สิทธิที่จะ
โตแยงกฎขอบังคับใดภายใต the Endanger Species Act (ESA) ไมไดจํากัดอยูเฉพาะกับนักอนุรักษ
สิ่งแวดลอม โดย Justice Scalia เนนวา the Endanger Species Actใหอํานาจทุกคนฟองโตแยงการบังคับ
ใชกฎหมายของฝายปกครองได ทั้งที่เขมงวดไปและยอหยอนเกินสมควรแกเหตุ
ตอมาเมื่อป 2000 มีคดี Friend of the Earth Inc. v. Laidlaw Environmental Services (TOC) Inc.
ขึ้นสูการพิจารณาของศาลฎีกาสหรัฐ ซึ่งคดีนี้ น้ําเสียทีถูกปลอยจากโรงงานของจําเลยหลังการบําบัด
่
แลว
ยังคงมีปริมาณของสารปรอทสูงเกินกวาที่ไดรับอนุญาตไวในระบบการกําจัดมลพิษทีมีการ
่
ปลดปลอยแหงชาติ (National Pollution Discharged Elimination System, NPDES) ซึ่งศาลวางบรรทัด
ฐานในประเด็นอํานาจฟองวา 1. โจทกไดรับความเสียหายตามความจริงหรือมีลักษณะเปนภัยคุกคาม 2.
ความเสียหายที่วานั้นสมควรที่จะนํามาฟองรองจําเลย และ3.ความเสียหายนั้นสามารถเยียวยาโดยคํา
พิพากษาได ทั้งนี้ โจทกในคดีส่งแวดลอมไมจําตองพิสูจนวา การปลดปลอยนั้นกอใหเกิดมลพิษที่เปน
ิ
ภยันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม แตตองแสดงใหเห็นวา มลพิษดังกลาวทําใหโจทกไมสามารถใช

แหลงน้ํานันไดตามปกติเหมือนเชนในอดีตและจะสงผลถึงในอนาคตดวย เชน ไมอาจตกปลา แลนเรือ
้
หรือวายน้ําในแหลงน้ํานันได อันเปนการสงเสริมใหประชาชนมีบทบาทในการชวยบังคับใหการปลอย
้
มลพิษลงสูแหลงน้ําของโรงงานเปนไปตามที่ไดรับอนุญาตอีกทางหนึ่ง
การฟองคดีโดยประชาชนนัน อาจกลาวไดวา กฎหมายสิ่งแวดลอมอนุญาตใหประชาชนฟอง
้
คดีสิ่งแวดลอมไดสองประเภท กลาวคือ ประเภทแรก ประชาชนมีสิทธิฟองผูบริหาร EPA ดวยเหตุอัน
เนื่องมาจาก ความบกพรองในการปฏิบัตหนาที่ตามกฏหมาย หรือไมกระทําภายในกําหนดเวลา เมื่อ
ิ
พิจารณาในแงมุมนี้ การฟองคดีโดยประชาชน จึงเปนการชวยควบคุมEPA .shกระทําการตามหนาที่
อยางมีประสิทธิภาพ ประเภทที่สอง เปนการอนุญาตใหประชาชนสามารถฟองดําเนินคดีผูกอมลพิษ
หรือผูที่กระทําการใดๆอันเปนการฝาฝนกฎหมายสิ่งแวดลอมได การกระทําอันเปนการฝาฝนกฎหมาย
ไดแก การปลอยมลพิษโดยไมไดรับอนุญาตหรือเกินกวาปริมาณที่ไดรับอนุญาต ลมเหลวในการ
ตรวจสอบมลพิษ หรือในการรายงานผลการตรวจสอบแกหนวยงานที่เกียวของ ตัวอยางกฎหมายที่
่
อนุญาตใหประชาชน สามารถรองขอใหหนวยงานของรัฐดําเนินการตามกฎหมายสิ่งแวดลอมได อาทิ
ตามClean Air Act (CAA) กําหนดใหบคคลใดๆสามารถรองตอ EPAเพื่อใหโตแยงคัดคานคําอนุญาต
ุ
ของมลรัฐตาม Title V โดยตองรองขอภายใน 60 วันหลังจากชวงเวลาในการทบทวนของ EPA ได
สิ้นสุดลงโดยไมมีขอทวงติงใดๆจาก EPA สวน CERCLA กําหนดใหผูใดที่ไดรับผลกระทบจากการ
ปลอยวัตถุอันตรายสามารถรองขอตอ EPA ใหทําการประเมินเบื้องตนในเขตพื้นที่ซึ่งมีการทิ้งวัตถุเชน
วานั้นวา มีอนตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมหรือไม โดยจะตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 12
ั
เดือน มิฉะนั้นตองแจงใหทราบถึงเหตุที่ไมอาจกระทําการดังกลาวได เปนตน
ในสวนการใชสิทธิฟองรองผูกระทําความผิดตามกฎหมายสิ่งแวดลอมนั้น ประชาชนมีสิทธิ
ฟองคดีตอศาลเพื่อเปนการประกันวากฎหมาย(Clean Air Act)จะมีการบังคับใช10 โดยทําหนาทีเ่ สมือน
เปนอัยการในภาคเอกชน (Private Attorney Generals) ทั้งนี้ประชาชนสามารถฟองคดีไดที่ศาลมลรัฐ
เพื่อขอใหมีคําสั่งหามเพื่อบรรเทาความเสียหาย (Injunctive Relief) โดยใหแกไขหรือหยุดการกระทําอัน
ละเมิดตอกฎหมาย และใหมีการชําระคาปรับเปนคาเสียหายที่จายใหแกรัฐ (Civil Penalty) โดยมี
กฎหมายสิ่งแวดลอมหลักๆที่ใหอํานาจสวนนี้แกประชาชนไว เชน Clean Air Act (CAA) Clean Water
Act (CWA) Resource Conservation and Recovery Act (RCRA) และ Comprehensive Environmental
Response Compensation and Liability Act (CERCLA)
ตัวอยางการฟองคดีโดยประชาชนตาม Clean Water Act เริ่มจากมีการฝาฝนบัญญัติของ CWA
ซึ่งกอนอื่น ในการปลอยของเสีย ผูปลอยของเสียตองไดรับอนุญาตตามระบบการกําจัดของเสียที่มีการ
ปลดปลอยแหงชาติ (National Pollutant Discharge Elimination System, NPDES) ใหปลอยของเสียลงสู
ทางน้ําของสหรัฐเสียกอน โดยNPDES จะกําหนดมาตรฐานหรือขอจํากัดในการปลดปลอย รวมถึงการ
ตรวจสอบและรายงานการปฏิบัติการโดยใชมาตรฐานการปฏิบัติที่มีการจัดการที่ดีทสุด
ี่
(Best
Management Practices, BMPS) การฝาฝนขอจํากัดหรือเงื่อนไขตามคําอนุญาตที่ระบุไวใน NPDES ถือ
เปนการฝาฝน CWA และมีการกําหนดเรื่องอํานาจฟองไวดังนี11
้
1.บุคคลใดๆอาจฟองคดีแพงเพื่อประโยชนของตนได คําวา ประชาชน (Citizen) หมายถึงประชาชนใดๆ
หรือบุคคลหลายคน ซึ่งมีผลประโยชนที่ไดรับผลกระทบหรืออาจจะไดรับผลกระทบ
2.ประชาชนจะมีอํานาจฟองก็ตอเมื่อตนไดรับความเสียหายจากการกระทําอันฝาฝนกฎหมายของจําเลย
การปลอยมลพิษซึ่งกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ เศรษฐกิจ การพักผอนหยอนใจ ความสุนทรีย และ
สิ่งแวดลอม โดยประชาชนที่จะฟองคดีนั้นตองใชนาที่ไดรับผลกระทบนั้นเปนประจํา
้ํ
อาศัยหรือ
พักผอนหยอนใจใกลทางน้ํานั้น ทั้งนี้กอนฟองคดี ประชาชนผูจะฟองคดีตองสงหนังสือทักทวงเพื่อใหผู
ที่ฝาฝนมีโอกาสแกไข
และสงไปยังหนวยงานที่ปกปองคุมครองสิ่งแวดลอม(EPA)เพื่อใหโอกาส

ดําเนินคดีผูฝาฝน เปนเวลา 60 วันกอนฟองคดี หากศาลพิจารณาแลวพบวามีการฝาฝนจริง ศาลจะ
กําหนดคาปรับ แตถือเปนโทษในทางแพง(Civil Penalty) ทั้งนี้ CWA ไมไดใหอํานาจศาลมลรัฐในการ
พิจารณาคดีทฟองโดยประชาชน12 และการฝาฝนนั้นตองยังคงมีอยูในขณะฟอง การฟองคดีตองกระทํา
ี่
โดยเจตนาสุจริต(Good-Faith) และมีภาระการพิสูจนแกผูฝาฝนวา จะตองแสดงใหประจักษชัดวา

10
11
12

Friends of the Earth v. Carey, 535 F.2d 165 (2nd Cir. 1976).
33 U.S.C. s 1365
Gwaltney of Smithfield Ltd. V. Chesapeake Bay Foundation, Inc. 108 S. Ct. 376 (1987)
พฤติกรรมการฝาฝนนั้นจะไมเกิดขึ้นอีก 13 อยางไรก็ดี ประชาชนยังไมอาจฟองคดีไดหากหนวยงานของ
รัฐไดฟองคดีในเรื่องเดียวกันตอศาลกอนแลว14
ในสวนของคาปรับนั้นอาจสูงถึง 32,500 ดอลลารสหรัฐตอวัน ซึ่งการกําหนดคาปรับนั้นศาลจะ
พิจารณาจาก ความรุนแรงของการฝาฝน ประโยชนทางเศรษฐกิจที่ผูฝาฝนไดรับจากการฝาฝน ความ

จริงใจในการพยายามปฏิบติตามกฎหมาย ผลกระทบทางเศรษฐกิจตอผูฝาฝน และปจจัยอื่นอันเปนไป
ั
เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม คาปรับจะถูกสงไปยังกระทวงการคลัง แตศาลอาจกําหนดใหมอบเงิน
ดังกลาวแกโครงการสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับวัตถุประสงคของCWAได นอกจากนี้
ศาลอาจ
พิพากษาใหจําเลยจายคาฤชาธรรมเนียม
ตลอดจนทนายความและคาปวยการพยานผูเชียวชาญแทน
่
โจทกได15 โดยคาทนายความจะกําหนดตามอัตราทองตลาด(Market Rates) การประนีประนอมยอม
ความยอมอาจมีได โดยมักจะมีกําหนดการที่จะดําเนินการใหถูกตองตามกฎหมาย คาปรับ(Civil
Penalty)ที่ตองจายใหแกกระทรวงการคลัง คาใชจายทีจะมอบใหแกโครงการสิ่งแวดลอม คาทนายความ
่
และคาใชจายอื่นๆ ซึ่งตองสงขอตกลงไปใหรัฐบาลสหรัฐทราบกอนศาลมีคําพิพากษาตามยอมเปนเวลา
45 วัน16 และในการพิจารณาวาจะพิพากษาตามยอมใหหรือไมนั้น ศาลตองพิจารณาวาขอตกลงนั้น
เปนไปโดยเปนธรรม(Fair) สมเหตุสมผล (Reasonable) เที่ยงธรรม (Equitable) และขัดตอความสงบ
และศีลธรรมอันดีของประชาชน(Public Policy) หรือไม
การดําเนินคดีกลุม (Class Action)
การดําเนินคดีกลุมมักใชในกรณีที่มีผูเสียหายเปนจํานวนมาก เชน คดีเกียวกับการคุมครอง
่
ผูบริโภค คดีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม วิธีการดําเนินคดีจะกระทําในรูปของกลุมบุคคล ซึ่งจะเปนกลุมบุคคล
ฝายโจทกหรือจําเลยก็ได
การดําเนินคดีกลุมจะเริ่มโดยการที่โจทกยนคํารองขอดําเนินคดีแบบกลุม
ื่
พรอมกับเสนอคําฟองตอศาล โดยผลของคําพิพากษาจะผูกพันสมาชิกในกลุมทุกคน
การดําเนินคดีกลุม(Class Action) มีบัญญัติไวในกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (Federal Rule
of Civil Procedure, FRCP) ซึ่งมีการนํามาใชทั้งในคดีแพงที่ฟองยังศาลรัฐบาลกลางและศาลมลรัฐ แตก็
มีบางรัฐเชน รัฐนิวยอรคและรัฐฟลอริดาที่ปฏิเสธรูปแบบการดําเนินคดีกลุมที่บัญญัติไวใน FRCP ทั้งนี้
เปนอิสระของมลรัฐตางๆที่จะนํา FRCPมาใชหรือไมกได
็
ตามRule 23 (a) เงื่อนไขเบื้องตนของการดําเนินคดีกลุม บุคคลหนึ่งหรือมากกวา อาจฟองหรือ
ถูกฟองเหมือนเชนคูความผูแทนคดีในนามของสมาชิกในกลุมทั้งหมดได ถา

(1) สมาชิกของกลุมมีจํานวนมากและการที่สมาชิกของกลุมจะเขามารวมกันในคดีนนเปนสิ่งที่
ั้
ยาก
13
14
15
16

Gwaltney, อางแลว
33 U.S.C. s 1365(b)(1)(b)
33 U.S.C. s 1365(d)
40 C.F.R. Part 135.5
(2) มีปญหาขอกฎหมายและขอเท็จจริงอยางเดียวกันในกลุม
(3) ขอเรียกรองหรือขอตอสูของคูความผูแทนคดี เปนขอเรียกรองหรือขอตอสูประเภทเดียวกัน
(4) คูความผูแทนคดีสามารถปองกันผลประโยชนของกลุมอยางเปนธรรมและเพียงพอ
ในการขอใหมการดําเนินคดีแบบกลุมนี้ จะตองปรากฏแกศาลวา กรณีเขาเงื่อนไขครบทั้ง 4
ี
ประการขางตน
โดยผูรองขอใหดําเนินคดีแบบกลุมจะมีภาระในการแสดงขอเท็จจริงใหศาลเห็นวา


จํานวนสมาชิกที่ไดรับความเสียหายจากการกระทําของจําเลยนี้มีเปนจํานวนมาก
โดยขึ้นอยูกับ
ขอเท็จจริงในแตละคดีวา ผูเสียหายจํานวนอยางนอยเทาใดจึงจะถือวาเปนจํานวนมาก ทั้งนี้ ไมจาตอง
ํ
กําหนดจํานวนสมาชิกไว แตกําหนดลักษณะของสมาชิกในกลุมไดอยางชัดเจนก็เพียงพอแลว โดย
สมาชิกในกลุมจะตองเปนผูเสียหายที่มีความเสียหายเกิดขึ้นแลวจริง ความเสียหายนั้นปรากฏอยางชัด

แจงในขณะรองขอใหดําเนินคดีแบบกลุม แตหากเพียงเปนการคาดคะเนวา อาจจะมีผูที่ไดรับความ
เสียหายเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่ง ยังไมอาจถือไดวาบุคคลเหลานั้นไดรับความเสียหายแลว17 และไม
อาจจะนับรวมเอาบุคคลเหลานั้นมาเปนสมาชิกกลุมได
สําหรับคดีสิ่งแวดลอม โดยสวนมาก ผูที่ไดรับสารพิษอันเกิดจากการรั่วไหลจากแหลงกําเนิด
มลพิษ มักจะใชเวลานานกวาจะมีการแสดงอาการ เมื่อปรากฏวา มีการรั่วไหลของสารพิษจากแหลงของ
จําเลย แตยังไมสามารถตรวจสอบพบความเสียหาย จะเกิดปญหาวา บุคคลเหลานี้เปนผูเสียหายที่จะ
ขอใหดําเนินคดีกลุมไดหรือไม นอกจากนี้ เนื่องจาก Rule 23 กําหนดเงื่อนไขไวอีกวา การที่สมาชิกของ
กลุมจะเขามารวมกันในคดีนนเปนไปไดยากดวย ดังนั้น แมสมาชิกในกลุมจะมีจํานวนมาก แตก็มาก
ั้
เกินไป จะทําใหคดียุงยากเกินสมควร ศาลก็อาจไมอนุญาตใหดําเนินคดีแบบกลุม และเนื่องจาก การ
ดําเนินคดีในรูปแบบนี้มวัตถุประสงคเพื่อใหศาลมีคําพิพากษาเปนอยางเดียวกันในระหวางสมาชิกใน
ี
กลุม ขอเรียกรองหรือขอตอสูของโจทกซึ่งเปนผูแทนคดีจงตองเปนอยางเดียวกับขอเรียกรอง หรือขอ
ึ
ตอสูของสมาชิกในกลุม ทําใหการฟองคดีของโจทกซึ่งเปนผูแทนกลุมเปนการฟองเพื่อประโยชนของ
สมาชิกทุกคนในกลุม และในประการสุดทาย คูความที่เปนผูแทนกลุม ตลอดจนทนายความ ตองเปนผูที่
มีคุณสมบัติที่จะทําหนาที่เพือคุมครองประโยชนใหสมาชิกในกลุมไดอยางเพียงพอและเปนธรรม ใน
่
กรณีที่ผูเปนตัวแทนกลุมมีผลประโยชนขดกับสมาชิกในกลุม ไมถือวา บุคคลเหลานี้เปนสมาชิกในกลุม
ั

18
เดียวกัน เมื่อคํารองขอดําเนินคดีแบบกลุม ครบเงื่อนไขเบื้องตนตาม Rule 23 (a) (1) แลว ผูแทนกลุม
หรือผูแทนคดีตองแสดงใหศาลเห็นดวยวาการดําเนินคดีแบบกลุมเปนวิธีการที่เหมาะสมที่จะนํามาใช
ในการดําเนินคดีตาม Rule 23 (b)
สําหรับคดีละเมิดที่มีผูเสียหายจํานวนมาก (Mass Tort Litigation) อาทิ คดีการแพรกระจายของ
แรใยหิน (Asbestos)19 ในชวงกลางทศวรรษ1980 มีหลายคดีที่ใชวิธีการการฟองคดีแบบกลุม และศาล
17
18
19

Makuc V. American Honda Motor Co Inc., 835 F.2d 389 (1st Cir. 1987)
Hansberry V. Lee, 311 U.S. 32, 61 S. Ct. 115, 85 L. Ed. 22 (1940)

แรใยหิน Asbestos เปนสารที่ทนความรอนไดสูง มีประโยชนในทางอุตสาหกรรม แตเปนสารกอมะเร็งซึ่งอันตรายตอสุขภาพ
มักจะอนุญาตใหดําเนินคดีแบบกลุมได20 เชนในคดี School Asbestos ศาลอุทธรณภาค 3 มีคําสั่งยืน
ตามคําสั่งอนุญาตของศาลชั้นตนในคดีที่โรงเรียนหลายแหงฟองขอใหมีการนําแรใยหินออกไปจาก
บริเวณโรงเรียนและเรียกใหจําเลยชดใชคาใชจายในการตรวจสอบ ประเด็นขอหนึ่งที่สําคัญคือ เมื่อยัง
ไมปรากฏวามีอาการเจ็บปวย ก็ยังไมอาจเรียกคาเสียหายได อยางไรก็ดี สําหรับกรณีแรใยหินนัน ศาล
้
สวนใหญก็อนุญาตใหดําเนินคดีตอไปได เพราะเห็นวา แมจะยังไมปรากฏอาการของโรค แตอยางนอย
ผูเสียหายก็ไดรับอันตรายในระดับเซลลแลว อยางไรก็ดี มีหลายศาลที่ปฏิเสธที่จะใหดําเนินคดีแบบกลุม
หากปรากฏเพียงวา มีการแพรกระจายของสารพิษ แตยังไมปรากฏอาการเจ็บปวยตามรางกาย โดยให
เหตุผลวากรณียังไมเขาเงื่อนไขตาม Rule 23 บางศาลก็ชี้ไปที่ประเด็นวา เปนเรื่องยากในการสงหมาย
แจงไปยังโจทกในคดีที่มเี พียงการแพรกระจายของสารพิษซึ่งพวกเขาอาจไมทราบวา ตนอยูในเขตที่มี

การแพรกระจายและไมมีขอมูลเพียงพอเพือประกอบการตัดสินใจใชสิทธิเลือกออก (opt-out) จากกลุม
่
นอกจากนี้ยังมีปญหาเรื่องการพิสูจนในนามกลุม (Class-wide Proof) ซึ่งเปนปญหาใหญอกประการ
ี
หนึ่งวา เมื่อมีสมาชิกเปนจํานวนมาก โจทกจะสามารถพิสูจนโดยใชพยานผูเชียวชาญและเหตุผลทาง
่
21
สถิติหรือการประเมินโดยอาศัยการคํานวนแทนไดหรือไม นอกจากนี้ยังมีคดีที่ ศาลอุทธรณภาค 5
ปฏิเสธแผนของโจทกที่จะใชวิธีการคํานวนเพื่อประเมินคาเสียหายจากกลุมตัวอยางทีเ่ ปนตัวแทนทีมี
่
ลักษณะความเสียหายในทํานองเดียวกันนันวา ไมเพียงพอแกคณะลูกขุนในการกําหนดคาเสียหาย แต
้
จะตองแสดงใหเห็นถึงความเสียหายทีแทจริง โดยอางหลัก Due Process และ Seventh Amendment
่
ในสวนของการเยียวยาความเสียหายสําหรับคดีกลุมนั้น ศาลใชหลายวิธีการเพื่อเยียวยาสําหรับ
สมาชิกในกลุม ซึ่งในบางกรณี สมาชิกบางคนอาจตองพิสูจนความเสียหายของตนแยกตางหาก ศาล

หลายแหงไดนําหลักการ Fluid Recovery หรือ cypress หมายถึง ใหใกลเคียงความเปนไปไดมากที่สุด
มาใช และในคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ศาลอาจใชวิธีการใหจําเลยจายเงินใหแก
องคกรรักษาประโยชนสาธารณะหรือโครงการที่เปนประโยชนแกกลุมโดยรวม เชน มอบเงินให
หนวยงานของรัฐเพื่อการศึกษาวิจยเกี่ยวกับสุขภาพหรือเพื่อการกําจัดมลพิษไปจากแหลงน้ํา เปนตน
ั
คาเสียหาย (Damages)
คาเสียหายตามกฎหมายสหรัฐสามารถแบงออกเปน คาเสียหายทีเ่ ปนการเยียวยาความเสียหาย
(Compensatory Damages) กับคาเสียหายในเชิงลงโทษ (Punitive Damages)

20

Robert H. Klonoff. Class Actions and Other Multi-Party Litigation In a Nutshell 218-219, West Group,
1999).
21
In re Fibreboard Corporation, 893 F. 2d. 706 (5th Cir. 1990)
สําหรับคาเสียหายที่เปนการเยียวยาความเสียหายนั้นเปนคาเสียหายทีตามปกติศาลจะสั่งให
่
จําเลยจายแกผูเสียหายเพื่อชดเชยเยียวยาความเสียหายทีไดรับ22 ซึ่งแบงได 3 ประการ ไดแก ประการแรก
่
คาเสียหายในความเสียหายที่เปนตัวเงิน {Pecuniary damages) โดยเปนคาเสียหายที่จายใหแกผูเสียหาย
แทนตัวเงินทีสูญเสียไป เชน คารักษาพยาบาล หรือคาขาดรายไดอันเนื่องจากอาการบาดเจ็บหรือ
่
เจ็บปวย ประการที่สองคือ คาเสียหายในความเสียหายที่มิใชตัวเงิน (Non-pecuniary damages) โดยเปน
การจายเพื่อชดเชยความเสียหายที่มิใชตวเงิน เชน ความเจ็บปวดทางกายและจิตใจ ประการสุดทายคือ
ั
คาเสียหายสําหรับการสูญเสียความสุข (Hedonic losses) เปนการชดเชยความสงบสุขในชีวิตทีสูญเสีย
่
ไป
สวนคาเสียหายในเชิงลงโทษนั้น เปนคาเสียหายที่ศาลสั่งใหจําเลยจายใหแกโจทกเพื่อเปนการ
ลงโทษ โดยจะสั่งใหจําเลยจายคาเสียหายประเภทนี้ เมื่อการกระทําละเมิดนั้นเปนการกระทําโดยมี
เจตนาชัวรายหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง (Malicious and reckless) เชนจําเลยมีเจตนาปลอย
่
มลพิษลงสูแหลงน้ํา โดยรูอยูแลววา วัตถุที่ปลอยออกมานั้นเปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชนทําให
โจทกซึ่งอยูในบริเวณใกเคียงไดรับอันตรายจากมลพิษนัน
้
หรือเกิดการรั่วไหลของมลพิษโดยความ
ประมาทเลินเลออยางรายแรงของจําเลยหรือลูกจาง
สําหรับคดีสิ่งแวดลอมที่ฟองโดยอาศัยมูลละเมิดนัน ปกติจะพิจารณาโดยมีลูกขุน และลูกขุนจะ
้
เปนผูกําหนดจํานวนคาเสียหาย ทั้งนี้ ในแตละรัฐอาจจะกําหนดจํานวนคาเสียหายในเชิงลงโทษไว
แตกตางกัน เชนบางรัฐกําหนดไววาตองไมเกินสองเทา สามเทาหรือสี่เทาของคาเสียหายตามปกติ
(Compensatory damages) หรือบางรัฐก็ไมมีขอจํากัดไวก็อาจกําหนดสูงถึงรอยเทาของคาเสียหายปกติ
ได สวนคดีทไมไดพจารณาโดยมีลูกขุนนัน ผูพิพากษาจะเปนผูกําหนดคาเสียหาย เชน คดีที่ฟองให
ี่
ิ
้

เจาของที่ดินทีมีการทิ้งของเสียรับผิดชอบในการฟนฟูสภาพที่ดนตาม CERCLA เปนการพิจารณาโดยผู
่

ิ
พิพากษาไมใชลูกขุน เปนตน
บรรณานุกรม
เอกสารภาษาไทย
น้ําแท มีบุญสลาง, การดําเนินคดีแบบกลุมในคดีสิ่งแวดลอม,วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชานิติศาสตร คณะนิตศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2547
ิ
เอกสารภาษาตางประเทศ
Dan B. Dobbs, Law of Remedies: Damages-Equity-Restitution (2nd ed., West Publishing, 1993)
(1973).
22

John L.Diamond, Lawrence C.Levine and M.Stuart Madden, Understanding Tort, (2nd ed, Lexis Publishing, 2000)
(1996), p.242.
Daniel A. Farber, Jody Freeman, Ann E. Carlson and Rodger W. Findley, Cases and materials on
Environmental Law (7th ed. Thomson/West 2006) (1981).
Gerald W. Boston & M. Stuart Madden, Law of Environmental and Toxic Torts: Cases, Materials and
Problems (2nd ed., West Group, 2001) (1994).
John L. Diamond, Lawrence C. Levine and M. Stuart Madden, Understanding Tort (2nd ed., Lexis
Publishing, 2000) (1996).
Mallor & Robert, Punitive Damages: Toward a Principled Approach, 31 Hastings L.J. (1980).
Nancy K. Kubasek and Gary S. Silverman, Environmental Law (4th Ed., Prentice Hall, 2002).
Philip Weinberg and Kevin A. Reilly, Understanding Environmental Law ( Matthew Bendar& Co.,
Inc., 1998).
Roger W. Findley and Daniel A. Farber, Environmental Law in a nutshell (6th Ed. Thomson West,
2004)(1983).
Robert H. Klonoff, Class Actions and Other Multi-Party Litigation in a Nutshell, ( West
Group,
1999).

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
Aon Narinchoti
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
Sutthi Kunwatananon
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
Nattapon
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
A-NKR Ning
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
Pat3 ต.ค. 58
Pat3 ต.ค. 58Pat3 ต.ค. 58
Pat3 ต.ค. 58
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยา
 
Purchasing merchandise
Purchasing merchandisePurchasing merchandise
Purchasing merchandise
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 

Más de Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
Nanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
Nanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
Nanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
Nanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
Nanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
Nanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
Nanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
Nanthapong Sornkaew
 

Más de Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 
V2011 3
V2011 3V2011 3
V2011 3
 

ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ

  • 1. คมวัชร เอี้ยงออง1 การดําเนินคดีสิ่งแวดลอมในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ไมมีการจัดตั้งศาลคดีสิ่งแวดลอมไวเปนการเฉพาะ การฟองคดีและ การดําเนินคดีสิ่งแวดลอมในประเทศสหรัฐอเมริกาจึงกระทําที่ศาลตามปกติเหมือนคดีทั่วไป (ยกเวนใน บางมลรัฐ ไดแก มลรัฐเวอรมอนทที่มีการออกกฎหมายจัดตั้งศาลสิ่งแวดลอม) ระบบศาลของสหรัฐอเมริกา การดําเนินคดีในประเทศสหรัฐเปนระบบกลาวหา(Adversary system) และเนื่องจากประเทศ สหรัฐอเมริกามีการปกครองแบบสหพันธรัฐ โดยมีรัฐบาลกลาง (Federal government) กับมลรัฐ (State) และตางก็มการจัดตั้งศาลของตนเอง ตามเขตอํานาจที่รฐธรรมนูญรับรองไว สหรัฐอเมริกาจึงมีระบบ ี ั ศาลคู ไดแก ศาลรัฐบาลกลาง (Federal Court System) และศาลมลรัฐ (State Court System) ระบบศาลของรัฐบาลกลาง ศาลของรัฐบาลกลางนั้นแบงลําดับชั้นไดเปน 3 ชั้น ไดแก ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา ศาลชั้นตน (District court) ศาลชั้นตนเปนศาลที่ทําหนาที่ดําเนินกระบวนพิจารณาโดยมีการสืบพยาน (Trial court) และมี  คําพิพากษาชี้ขาดตัดสินคดีในคดีที่อยูในเขตอํานาจศาล (Jurisdiction) ของตน โดยทั่วไปเรียกวา U.S. district court ซึ่งแบงเปน 96 เขต (district) ในแตละเขตจะมี district court อยางนอย 1 ศาล เกือบทุกคดี ที่เปนคดีตามกฎหมายรัฐบาลกลางจะตองทําการพิจารณาที่ District court ศาลชั้นกลางศาลอุทธรณ (Appeal court) ศาลอุทธรณเปนศาลในลําดับชั้นที่สอง โดยแบงเปน 12 ภาค (Circuit) กับ 1 เขต ไดแก เขต District of Columbia (D.C.) ซึ่งเปนเมืองหลวงของรัฐบาลกลาง ศาลอุทธรณในแตละภาคจะพิจารณาคดี ที่อุทธรณมาจาก district court ในภาคของตน นอกจากนี้ การอุทธรณคําสั่งทางปกครองจากหนวยงาน ทางปกครอง (administrative agency) ก็ทําการพิจารณาทีศาลอุทธรณภาคนั้นๆ ่ ศาลสูงสุดหรือศาลฎีกา (Supreme Court) 1 น.บ. (ธรรมศาสาตร) , น.ม. (จุฬาลงกรณ), เนติบัณฑิตไทย, Cert. International Human Rights Law (University of Nottingham), LL.M (University of California, Berkeley), ผูพิพากษาศาลชั้นตนประจําสํานักประธานศาลฎีกา
  • 2. ศาลฎีกาสหรัฐอเมริกาเปนศาลสูงสุด โดยจะพิจารณาคดีที่มีการฎีกาขึนมาจากศาลอุทธรณภาค ้ ตางๆ ในบางกรณีก็มการสืบพยานที่ศาลฎีกาดวย แตก็ทํานอยมาก เชน คดีทฟองดําเนินคดีเอกอัค ี ี่ ราชทูตตางประเทศ เปนตน ระบบศาลมลรัฐ ศาลของมลรัฐนั้นไมมีลักษณะโครงสรางเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แตละรัฐก็มีระบบเปนของ ตนเอง อยางไรก็ดีทุกรัฐยังคงเดินตามโครงสรางทั่วไปของระบบศาลรัฐบาลกลาง กลาวคือ โดยทั่วไป จะประกอบไปดวย ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฏีกา อยางไรก็ดี บางมลรัฐก็มีเพียงสองลําดับชั้น ไดแกศาลชั้นตน และศาลสูง ศาลชั้นตน ในระบบศาลมลรัฐ ศาลชั้นตนหรือศาลที่ทําการพิจารณาโดยมีการสืบพยาน(Trial court) จะถูก กําหนดและจัดตั้งโดยมลรัฐนั้นเอง ซึ่งโดยปกติมกจะกําหนดตามเขตcounty โดยเรียกชื่อศาลแตกตาง ั กันไป อาทิเชน courts of common plea หรือ county courts แตสําหรับรัฐนิวยอรคนั้นมีเอกลักษณพิเศษ โดยใชคําวา supreme court สําหรับศาลชั้นตน ศาลชั้นกลางหรือศาลอุทธรณ มีโครงสรางคลายกับศาลอุทธรณของรัฐบาลกลาง โดยเปนศาลที่มีอํานาจพิจารณาอุทธรณ ทั้งหลายที่มาจากศาลชั้นตน แตสําหรับคดีที่อุทธรณมาจากหนวยงานทางปกครองอํานาจจะจํากัดลง ชื่อ เรียกก็จะแตกตางกันไปตามแตละรัฐ เชน Court of appeal หรือ superior courts ศาลสูงสุดหรือศาลฎีกา เปนศาลสูงสุดของทุกรัฐ โดยทั่วไปจะเรียก Supreme Court ในบางรัฐเปนที่รูจักในนาม court of appeals มีรัฐจํานวนประมาณครึ่งหนึ่งที่คูความสามารถอุทธรณไดสองครั้ง (อุทธรณและฎีกา) แตอีก ครึ่งที่เหลือมีเพียงศาลอุทธรณเทานัน ้ การฟองคดีและเขตอํานาจศาล การฟองคดีโดยทั่วไปแลวตองเริ่มฟองที่ศาลชั้นตน โจทกจะเปนผูเลือกศาลที่จะฟองคดี ซึ่งคิด วาเหมาะสมกับตน บางครั้งก็อาจจะเลือกวา จะฟองคดีตอศาลมลรัฐหรือศาลรัฐบาลกลาง อยางไรก็ดี ถึงแมวาโจทกจะเลือกฟองคดีตอศาลมลรัฐ แตจําเลยยังคงมีสิทธิขอโอนคดีไปยังศาลรัฐบาลกลางได การกําหนดวาศาลในระบบใดจะเปนผูที่มอํานาจพิจารณาคดีใดนัน ขึ้นอยูกับเรื่องที่ฟองรองกันหรือ ี ้ เนื้อหาสาระแหงคดี (Subject matter) ซึ่งกําหนดโดยกฎหมายซึ่งจะกลาวถึงตอไป เขตอํานาจในคดีสิ่งแวดลอมของศาลมลรัฐ ศาลมลรัฐมีเขตอํานาจเหนือทุกคดีทีมิไดอยูในเขตอํานาจของศาลรัฐบาลกลาง คดีสวนใหญ มักจะดําเนินกระบวนพิจารณาที่ศาลมลรัฐ คดีเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดลอมของศาลมลรัฐโดยทั่วไปจะขึ้นสูการพิจารณาของศาลมลรัฐ รวมทั้งคดีละเมิดของเอกชนที่เกี่ยวของกับเรื่องสิ่งแวดลอมดวย
  • 3. เขตอํานาจในคดีสิ่งแวดลอมของศาลรัฐบาลกลาง คดีสิ่งแวดลอมที่อยูในอํานาจของศาลรัฐบาลกลางไดแก คดีสิ่งแวดลอมตามกฎหมายของ รัฐบาลกลางที่มอบใหศาลของรัฐบาลกลางเปนผูมีเขตอํานาจเชน กฎหมายวาดวยความรับผิดชอบ การ ชดเชยและความรับผิดในสิ่งแวดลอม (Comprehensive Environmental Response, Compensation and Liability Act of 1980, CERCLA) กฎหมายวาดวยการรักษาและฟนฟูแหลงทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act, RCRA) กฎหมายวาดวยอากาศทีสะอาด (Clean Air Act) หรือ ่ กฎหมายวาดวยน้ําสะอาด (Clean Water Act) ตลอดจนคดีละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่มีลักษณะขามรัฐ (Inter-states) เชน มีผลกระทบจากรัฐหนึงไปสูอีกรัฐหนึ่ง หรือกรณีคูความเปนพลเมืองตางรัฐกัน และ ่ การโตแยงการใชอํานาจออกกฎหมายเกียวกับสิ่งแวดลอมของมลรัฐหรือรัฐบาลกลางที่มีผลกระทบตอ ่ การพาณิชยระหวางมลรัฐ (Inter-states Commerce) หรือขัดตอรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา การทับซอนของเขตอํานาจศาล (Concurrent of Jurisdiction) มีหลายคดีที่อาจพิจารณาไดโดยศาลรัฐบาลกลางและศาลมลรัฐ โดยเปนกรณีที่มการทับซอน ี ของเขตอํานาจศาลทั้งสองระบบ ทําใหโจทกสามารถเลือกฟองในศาลใดศาลหนึ่งได ทั้งนี้ มีอยูสอง กรณี กลาวคือ กรณีแรก ถาคดีนั้นจําเปนตองตีความรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กฎหมายรัฐบาลกลาง หรือสนธิสัญญา เปนปญหาที่เกี่ยวของกับเรื่องรัฐบาลกลาง เรียกวาเปนคดีปญหาของรัฐบาลกลาง  (Federal question cases) แตอาจพิจารณาไดที่ศาลมลรัฐหรือศาลรัฐบาลกลาง เพราะกฎหมายของ รัฐบาลกลางไมไดมอบเขตอํานาจโดยเฉพาะใหกับศาลรัฐบาลกลางทั้งหมด กรณีที่สองเปนเรื่องที่มาจากความหลากหลายของพลเมืองสหรัฐ (Diversity of citizenship) ประชาชนของรัฐหนึ่งอาจเขาไป หรืออยูอาศัยในอีกรัฐหนึ่ง เมื่อเกิดขอพิพาทกันขึน อาจทําใหคดีมี  ้ องคประกอบเกี่ยวกับความแตกตางของพลเมืองที่เปนคูความ ทั้งนี้ถาคูความทั้งสองฝาย(โจทก-จําเลย)มี  ถิ่นที่อยูตางรัฐกัน ก็เขาเงื่อนไขเรื่องความแตกตาง แตหากคูความทั้งสองฝายมีถิ่นที่อยูในรัฐเดียวกัน ความแตกตางก็หมดไป ตัวอยางเชน โจทกเปนผูมีถิ่นที่อยูที่รัฐโอไฮโอ สวนจําเลยคนหนึ่งมีถิ่นที่อยูที่ รัฐมิชิแกนและอีกคนมี่ถิ่นทีอยูที่รัฐอินเดียนา กรณีนี้จะมีประเด็นเรื่องความแตกตางเกิดขึ้น ทําใหมีเขต ่ อํานาจพิจารณาทั้งศาลมลรัฐและศาลของรัฐบาลกลาง แตถาโจทกชาวโอไฮโอฟองจําเลยชาวโอไฮโอ กับมิชิแกน ถือวามีคูความทังสองฝงอาศัยที่อาศัยอยูในรัฐเดียวกันแลว ก็ไมเขาเงื่อนไขในความแตกตาง ้ นี้และไมเกิดการทับซอนของเขตอํานาจศาล อยางไรก็ดี ถาโจทประสงคจะฟองคดีตอศาลรัฐบาลกลาง  โดยอาศัยฐานของเขตอํานาจมาจากเรื่องความหลากหลายของพลเมือง (Diversity of citizenship) ขอ พิพาทนั้นตองมีทุนทรัพยตั้งแต 50,000 เหรียญสหรัฐขึ้นไป เมื่อคดีมีความทับซอนของเขตอํานาจศาลรัฐบาลกลางกับศาลมลรัฐทั้งกรณีคดีปญหาของ รัฐบาลกลางหรือความแตกตางของพลเมือง โจทกอาจฟองคดีไดไมวาที่ศาลรัฐบาลกลางหรือศาลมลรัฐ
  • 4. อยางไรก็ดีถาโจทกฟองรองคดีที่ศาลมลรัฐ จําเลยก็มสิทธิขอโอนคดีไปยังศาลรัฐบาลกลางได แตถา ี  โจทกฟองคดีที่ศาลรัฐบาลกลางก็คงตองพิจารณาที่ศาลของรัฐบาลกลางนั้น เหตุที่กําหนดใหคูความมีสิทธิขึ้นศาลรัฐบาลกลาง ก็เพื่อหลีกเลี่ยงความกังวลของคูความใน เรื่องอคติของศาลมลรัฐ ทั้งนี้ ลูกขุนของศาลมลรัฐโดยทัวไปก็มกจะคัดเลือกมาจากคนใน County ่ ั นั้นเอง แตลกขุนในศาลรัฐบาลกลางจะคัดเลือกมาจากคนในเขต (District) ทั้งหมด ซึ่งรวมหลาย ู County ลูกขุนในศาลมลรัฐจึงมีความเหมือนหรือคลายคลึงกันมากกวาในศาลรัฐบาลกลาง เขตศาล (Venue) เขตอํานาจศาลตามสาระแหงคดี (Jurisdiction over subject matter)กับเขตศาล (Venue) เปนคน ละเรื่องกัน กลาวคือเมื่อทราบแลววาศาลในระบบใดมีเขตอํานาจพิจารณาคดีแลว สิ่งที่ตองทราบตอไป คือ ศาลใดในระบบนั้นจะมีอํานาจรับคดีไวพิจารณา โดยพิจารณาตามเขตทางภูมศาสตร(Geographic ิ location) โดยทั่วไปจะยึดเกณฑที่คลายกัน อาทิเชน ถิ่นที่อยูของจําเลย ที่ตั้งของทรัพยที่พิพาท หรือ  สถานที่มูลคดีเกิดขึ้น หากมีจําเลยหลายคนที่อาศัยอยูในเขตศาลตางกัน โจทกสามารถเลือกฟองยังศาล ใดศาลหนึ่งทีจาเลยเหลานั้นมีถิ่นที่อยูอยูในเขตอํานาจศาลได ในกรณีของบริษัท ถิ่นที่อยูไดแก ที่ตั้ง ่ํ สํานักงานแหงใหญ ถาเปนบริษัทขนาดเล็กก็อาจหมายถึงที่ตั้งโรงงานหรือสํานักงาน ตัวอยางเชน ถา โจทกอาศัยอยูที่ Wood County ฟองจําเลยที่อาศัยอยูที่ Lucas County ในคดีอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นที่ Huron  County ศาลที่มีอํานาจจะพิจารณาไดแกทั้งสามเขตศาลนั้น ซึ่งโจทกอาจเลือกฟองยังศาลใดศาลหนึงใน ่ สามศาลนี้ ในกรณีที่ศาลที่รับคดีไวพจารณาไมสะดวกแกคูความฝายใดฝายหนึ่ง ก็อาจขอใหโอนคดีไปยัง ิ ศาลที่สะดวกกวา ตามหลัก forum non conveniens ซึ่งเปนดุลพินจของศาลวา จะอนุญาตตามคําขอ ิ ดังกลาวหรือไม บทบาทบุคคลที่เกี่ยวของกับกระบวนการพิจารณาพิพากษา ทนายความ โดยปกติแลว เมื่อเกิดกรณีพิพาท คูความซึ่งอาจเปนเอกชน หรือเปนกลุมเคลื่อนไหวดาน สิ่งแวดลอม(Environmental group) มักจะติดตอกับทนายความกอน ซึ่งทนายความนัน นอกจากจะเปน ้ ตัวแทนตัวความในศาลหรือในชั้นพิจารณาของคณะกรรมการทางปกครองแลว บางครั้งยังทําหนาทีเ่ ปน ผูเจรจาดวย อาทิเชน ถาเอกชนตองการทําโครงการพัฒนาที่ดิน แตประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นมี ความกังวลเรื่องผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทั้งสองฝายตางก็อาจจางทนายความเขาไปเจรจาเพื่อหาทาง เลือกหรือทางออกรวมกัน ลูกขุน (Jury) ลูกขุนมีความสําคัญในการแสดงใหเห็นถึงการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ พิจารณาคดีของศาล ลูกขุนเปนกลุมบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกมาโดยการสุมเลือกมาจากบุคคลที่อาศัย อยูในพืนที่ทางภูมิศาสตรที่ศาลนั้นตั้งอยู เพื่อเขามาตัดสินปญหาขอเท็จจริง ในยุคแรกประกอบดวย ้
  • 5. ลูกขุนจํานวน 12 นาย แตในหลายรัฐลดจํานวนลงเหลือเพียงไมกี่นายสําหรับการพิจารณาคดีแพง โดย ปกติ คําตัดสินของลูกขุนตองเปนเอกฉันท ทุกวันนี้ในคดีแพงนัน กวาครึ่งของมลรัฐทั้งหมดไมไดยึดถือ ้ วาตองถึงกับเปนเอกฉันท ในคดีแพงซึ่งโจทกตองการการเยียวยาในรูปของคาเสียหาย ลูกขุนก็จะเปนผู พิจารณากําหนดจํานวนคาเสียหายให อยางไรก็ดี คูความทั้งสองฝายอาจตกลงกันสละสิทธิในการไดรับ การพิจารณาโดยมีลูกขุน ซึ่งผูพิพากษาจะเปนผูตัดสินปญหาขอเท็จจริงและกําหนดคาเสียหาย นอกจากนี้ คดีสิ่งแวดลอมจํานวนมาก การเยียวยาความเสียหายมุงไปที่การรักษาความสงบสุข  ของสังคม โดยขอเพียงใหศาลมีคําสั่งหาม (Injunction) มิใหจําเลยกระทําการใดๆอันเปนการกอใหเกิด ความเสียหายตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน แตไมมีการขอคาเสียหาย อยางเชนการขอให ศาลออกคําสั่งหามมิใหจําเลยปลอยน้ําทิ้งจากโรงงานโดยที่ยังไมมีการบําบัดเสียกอนเทานั้น โดยไมได เรียกรองคาเสียหาย เมื่อใดก็ตามที่ศาลไดมีคําสั่งออกไป เชนคําสั่งหามตามที่รองขอมา คดีก็เปนอัน เสร็จ ไมตองมีการพิจารณาเรืองคาเสียหาย ก็ไมตองมีการใชลูกขุนในคดีนั้น ่ ผูพิพากษา ผูพิพากษาทําหนาที่เปนประธานในการดําเนินกระบวนพิจารณา ควบคุมการพิจารณา ตัดสิน ปญหาขอกฎหมาย อาทิ ปญหาวา พยานหลักฐานใดสามารถรับได (Admissible) หรือกฏหมายใดที่จะ ใชบังคับแกคดี ซึ่งผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาในคดีนั้นจะอธิบายถึงกฎหมายที่จะใชบังคับแกคดีแกลูกขุน ในรูปคําแนะนํา ในกรณีทคูความสละสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาโดยมีลูกขุน หรือในกรณีทกฎหมาย ี่ ี่ บางฉบับกําหนดใหศาลทําการพิจารณาโดยไมตองมีลูกขุน ผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีนนจะเปนผู ั้ ตัดสินปญหาขอเท็จจริงดวย โดยปกติในศาลชั้นตนจะมีผพิพากษาเพียงนายเดียวขึ้นนั่งพิจารณาในแต ู ละคดีที่ทําการสืบพยาน ในศาลอุทธรณผูพิพากษาจะพิจารณาเปนองคคณะโดยมีหนาที่ทบทวนคําพิพากษาของศาล ชั้นตน และในบางครั้งก็มีการรับฟงการแถลงการณดวยวาจาจากคูความ อยางไรก็ดเี กี่ยวกับคดีสิ่งแวดลอมนั้น ผูพิพากษายังจําเปนตองมีความรูความเขาใจในเรือง ่ สิ่งแวดลอม ความเขาใจในเรื่องวิทยาศาสตรเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและการเยียวยาความเสียหายที่ เหมาะสมแกคดีประเภทนี้ ผูพิพากษาศาลมลรัฐปกติมักมาจากการเลือกตั้ง แตก็มีบางแหงมาจากการแตงตั้งบาง ในขณะที่ ผูพิพากษาศาลรัฐบาลกลางมาจากการแตงตังโดยประธานาธิบดีตามคําแนะนําและยินยอมจากวุฒิสภา ผู ้ พิพากษาศาลรัฐบาลกลางอยูในตําแหนงตลอดชีวิต  สวนผูพพากษาศาลมลรัฐมักจะมีวาระการดํารง ิ ตําแหนง แตคราวละกี่ปจะแตกตางกันไปในแตละรัฐ ประเภทคดีสิ่งแวดลอม การพิจารณาคดีสิ่งแวดลอมนั้น อาจแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก การฟองตามคอมมอนลอว (Common law claim) กับการฟองคดีตามกฎหมายสิ่งแวดลอมที่ออกเปนการเฉพาะ
  • 6. ในสวนของคดีคอมมอนลอวนั้นสวนใหญจะเปนคดีละเมิดทั่วไปไดแกการฟองในมูลเรื่องการ บุกรุก (Trespass) การกอความเดือดรอนรําคาญ (Nuisance) การกระทําละเมิดที่เปนความรับผิดเด็ดขาด (Strict Liability) การกระทําละเมิดโดยประมาท (Negligence) นอกจากนี้ก็มีเรื่องการคุมครอง ประโยชนสาธารณะ (Public Trust Doctrine) เปนตน การฟองคดีตามกฎหมายสิ่งแวดลอมที่ออกเปนการเฉพาะ ไดแก การฟองคดีตามกฎหมาย สิ่งแวดลอมทีออกมาเปนการเฉพาะ อาทิ กฎหมายวาดวยความรับผิดชอบ การชดเชยและความรับผิดใน ่ สิ่งแวดลอม (Comprehensive Environmental Response, Compensation and Liability Act of 1980, CERCLA) และกฎหมายวาดวยการรักษาและฟนฟูแหลงทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act, RCRA) ซึ่งมุงคุมครอง ฟนฟู ดินและน้ํา ทั้งบนดินและใตดิน ในบริเณที่มีการทิ้งของเสีย และวัตถุมีพษจนเปนหรืออาจเปนอันตรายแกสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังมี ิ กฎหมายวาดวยการควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act) กฎหมายวาดวยอากาศที่สะอาด (Clean Air Act) กฎหมายวาดวยน้ําสะอาด (Clean Water Act) กฎหมายวาดวยถังกักเก็บใตดิน (Underground Storage Tank Act, USTA) กฎหมายวาดวยนโยบายสิ่งแวดลอมแหงชาติ (National Environmental Policy Act) เปนตน การดําเนินคดีโดยประชาชนและอํานาจฟอง (Citizen Suite and Standing) คดีสิ่งแวดลอมที่ขึ้นสูศาลสหรัฐอเมริกา หากไมนบ คดีที่ดําเนินการโดยกระทรวงพิทกษ ั ั สิ่งแวดลอมของสหรัฐ (Environmental Protection Agency, EPA) แลว เกือบทั้งหมดฟองโดยกลุม ประชาชน ในชวงทศวรรษ 1970-1980 เมือเริ่มตีความใชบังคับกฎหมายสิ่งแวดลอม คดีสวนใหญเปน ่ เรื่องที่กลุมรักษาประโยชนสาธารณะ(Public Interest Group) ฟองรัฐบาลเกี่ยวกับการใชดุลพินจโดยมิ ิ ชอบในการจัดการตามกฎหมายสิ่งแวดลอม หรือโดยไมบังคับใชใหเหมาะสม เหตุทเี่ รื่องเหลานี้ มีการ พิจารณาทบทวนดุลพินิจในการบังคับใชกฎหมายของหนวยงานและเจาหนาที่ของรัฐก็เพราะ มีการ ยอมรับใหกลุมประชาชนมีสิทธินําคดีขึ้นสูศาลเพื่อบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมได และมีคดีลักษณะ เดียวกันเปนจํานวนมากที่กลุมประชาชนไดนํามาฟองตอศาลอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดี ในยุครัฐบาล ประธานาธิบดีเรแกนและบุช(ผูพอ) เคยมีกระแสอนุรักษนิยมยกขอโตแยงวา ผูท่มีอํานาจฟองตองเปนผู ี ที่เสียหายเปนพิเศษ (Particularized Injury)เทานั้น และทุกคนก็มนาและอากาศทีดีและสะอาดอยูแลว ี ้ํ ่ กลุมประชาชนก็ไมควรไดรบอนุญาตใหฟองคดีเหลานี้ ั  สําหรับเงื่อนไขเรื่องอํานาจฟองตามรัฐธรรมนูญสหรัฐนั้น มีขอพิจารณา 3 ประการไดแก ประการแรก ตองมีความเสียหายเกิดขึ้น (Injury) โดยโจทกตองไดรับความเสียหายจากการ กระทําอันละเมิดหรือฝาฝนตอกฎหมายทีคุมครองสิทธิน้นแลว ่ ั ประการที่สอง ตองมีความสัมพันธระหวางเหตุและผล (Causation) กลาวคือ ตองมี ความสัมพันธระหวางความเสียหายและการกระทําที่ถูกฟอง ในคดี Massachusetts v. Environmental
  • 7. Protection Agency2 ศาลฎีกาสหรัฐ เห็นวา ภาวะโลกรอนอันมีสาเหตุมาจากการที่ EPA ปฏิเสธไม ควบคุมจัดการการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเขาเงื่อนไของคประกอบขอนี้ ซึ่งรัฐแมสสาชูเสทส กลาวอางวา ไดมีความเสียหายโดยเกิดการสูญเสียที่ดินชายฝงทะเลแลว ประการที่สาม ตองเปนเรื่องที่ศาลอาจเยียวยาใหได (Redress ability) กลาวคือ คําขอตามฟอง ตองเปนสิ่งที่ศาลที่มีการฟองคดีนั้นสามารถจะเยียวยาใหได อาทิเชนคดี Lujan v. Defenders of Wildlife ศาลฎีกาใหความเห็นวา กรณีที่ตองอาศัยอํานาจของประธานาธิบดีในการเยียวยาความเสียหายดวยนัน ้ เปนเรื่องที่ศาลไมอาจจะพิพากษาใหได ซึ่งจะไดกลาวรายละเอียดของคดีในอันดับตอไป สําหรับในประเด็นเรื่องอํานาจฟองในกรณีราษฎรฟองหนวยงานของรัฐเกี่ยวกับการบังคับใช กฎหมายนั้น ศาลฎีกาของสหรัฐถือเกณฑพิจารณา 2 ขอตาม Administrative Procedure Act หรือ APA เรียกวา Data Processing Test ไดแก ประการแรก โจทกตองมีความเสียหายตามความเปนจริงหรือความ เสียหายในทางขอเท็จจริง (injury in fact) และ ประการที่สอง โจทกมีผลประโยชนอยูในขายที่ไดรับ การปกปองหรือควบคุมจัดการโดยกฎหมายที่หนวยงานของรัฐกระทําการฝาฝน (Zone of interest)3 ศาลฎีกาสหรัฐไดตัดสินในประเด็นเรื่องอํานาจฟองไวหลายคดีดวยกัน ไดแก คดี Sierra Club  v. Morton 4ซึ่ง Sierra Club ไดโตแยง Forest Service และ Department of Interior (กรมปาไมและ กรมการกิจการภายในหรือมหาดไทย) ทีอนุมัติโครงการของบริษัท วอลท ดิสนีย เอเตอรไพรซ ที่ ่ ตองการปรับสภาพพื้นทีหุบเขา Mineral King Valley ซึ่งมีสภาพกึ่งปาทึบและเปนที่อยูอาศัยของสัตว ่ ใหกลายเปนแหลงทองเที่ยวประเภทรีสอรท ทั้งนี้ Sierra Club อางวา ตนมีอํานาจฟอง และมีสิทธิขอให ศาลออกคําสั่งหามมิใหมการออกใบอนุญาตใหแกบริษัทดังกลาว เพราะกลุมสมาชิกของตนมีสวนรวม ี ในการอนุรักษและบํารุงรักษาอุทยานแหงชาติ ตลอดจนสถานที่อยูอาศัยและหลบภัยของสัตว รวมทั้ง ผืนปาของประเทศ แตศาลฎีกาสหรัฐปฏิเสธวา คดีดังกลาว Sierra Club ไมมีอํานาจฟอง โดยใหเหตุผล วา Sierra Club อางวา ตนหรือสมาชิกของตนอาจไดรบผลกระทบตอกิจกรรมใดๆที่ดําเนินอยูหรือเกิด ั ผลกระทบเปนครั้งคราวจากโครงการพัฒนาของบริษัทดิสนียที่พิพาทนั้น แตไมปรากฏวา มีถอยคําหรือ ขอความใดที่ Sierra Club ชี้ใหเห็นวา การกระทําของจําเลยจะสงผลกระทบอยางรายแรงจนจะทําให สมาชิกของคลับสามารถใชประโยชนใน Mineral King เพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงคอันหนึ่งอันใด ลดลงไปอยางมาก แตอยางใดไม ทั้งนี้ ถึงแมวา ศาลฎีกาจะไดปฏิเสธอํานาจฟองของ Sierra Club ในคดี ดังกลาวก็ตาม แตคําพิพากษาในคดีนี้กลับทําใหเกิดการตีความวา องคกรหนึ่งองคกรใดที่สมาชิกอาจ 2 3 Massachusetts v. Environmental Protection Agency , 59 U.S. 1438 (2007) Danial A. Farber, Jody Freeman, Ann E. Carlson and Roger W. Findley, Cases and material on Environmental Law 365-415, (7th Ed. Thomson West, 2006) (1981) 4 Sierra Club v. Morton, 405 U.S. 727, 92 S. Ct. 1361, 31 L. Ed. 2d 636 (1972)
  • 8. ไดรับผลกระทบจากการไมปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดลอมฉบับใดก็ตาม ยอมมีอํานาจฟอง หากองคกร และสมาชิกขององคกรนั้นไดรับความเสียหายตามความเปนจริง (injury in fact)จากโครงการดังกลาว5 คดีตอมาไดแกคดี United States v. Students Challenging Regulatory Agency Procedure ิ (SCRAP I)6 ซึ่งเกี่ยวกับการโตแยงคําวินจฉัยของคณะกรรมการการคาระหวางมลรัฐ (the Interstate Commerce Commission, ICC) ที่อนุญาตใหการรถไฟเก็บคาระวางเพิ่ม 2.5 เปอรเซนตจากสินคารี ไซเคิลที่ขนสง โดยปราศจากการทํารายงานผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และเปนการเลือกปฏิบัติตอ สินคาประเภทนี้ ซึ่งจะทําใหมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นทั่วประเทศ และขยะพวกนีจะตกอยูตามปาและ ้ สวนสาธารณะซึ่งมีกิจกรรมปนเขา ตกปลาและเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ กลุมดังกลาวยังกลาวอาง อีกวา สมาชิกในกลุมสูดเอาอากาศที่มมลพิษอันเปนผลเนื่องมาจากอัตราคาระวางที่เพิ่มขึ้น และสมาชิก ี ทุกคนตองจายภาษีเพิมขึ้นเพราะตองใชเงินในการกําจัดขยะ คณะกรรมการดังกลาวโตแยงเรื่องอํานาจ ่ ฟอง แตศาลฎีกาสหรัฐตัดสินวา โจทกมีอํานาจฟองโดยสมาชิกแตละคนไดรับความเสียหายโดยตรงจาก โครงสรางคาระวางสินคาดังกลาว ซึ่งกระทบตอเศรษฐกิจและความสุนทรียของพวกเขา เพราะโดยปกติ สมาชิกไดใชปา แมน้ําและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ รอบบริเวณเมืองวอชิงตันเพื่อตังแคมป ปนเขา ตก ้ ปลา ชมทิวทัศน และเพื่อการพักผอนหยอนใจ คดี Duke Power Co. v. Carolina Environmental Study Group, Inc.7ซึ่งโจทกในคดีนี้ตั้งขอ โตแยงวา กฎหมาย Price Anderson Act ขัดตอรัฐธรรมนูญสหรัฐ โดยกฎหมายฉบับดังกลาวจํากัดความ รับผิดของโรงงานนิวเคลียรในความเสียหายที่อาจเกิดจากอุบัติเหตุในแตละครั้งไว โจทกอางวา หาก ปราศจากขอจํากัดดังกลาวก็จะไมมการสรางเตาปฏิกรณ ี ซึ่งมันก็เหมือนกับการเก็บสิ่งที่พรอมจะ กอใหเกิดความเสียหายตอสิ่งแวดลอมไดในทันทีทันใดเอาไว และเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นแลว ปรากฏ วา สูงกวาจํานวนทีจํากัดไวในกฎหมายฉบับดังกลาว และผูเสียหายจะไมสามารถเรียกคาเสียหายสวน ่ นั้นได เทากับเปนการเอาทรัพยสินของประชาชนไปโดยไมมีการจายคาตอบแทน จึงขัดตอรัฐธรรมนูญ ซึ่งศาลเห็นวา มีความเปนไปไดวา ถาไมมบทบัญญัติดังกลาวแลว ก็คงไมมีการสรางหรือดําเนินการเตา ี ปฏิกรณนั้นใกลบานโจทก ดังนั้น โจทกยอมมีอํานาจฟอง อยางไรก็ดี จําเลยไดตอสูวา ความเสียหายที่ โจทกอางเปนเหตุใหตนมีอํานาจฟองกับขอเรียกรองของโจทกนั้นไมเกียวโยงสัมพันธกัน แตขอตอสู ่ ของจําเลยขอนี้ศาลไมเห็นพองดวย โดยใหเหตุผลวา ความเสียหายที่โจทกยกมาเปนเหตุแหงอํานาจฟอง นั้นไมจําตองสัมพันธกับขอเรียกรองของโจทก 5 Roger W. Findley and Daniel A. Farber, Environmental Law in a nutshell 2-4, (6th Ed. Thomson West, 2004) (1983) 6 United States v. Students Challenging Regulatory Agency Procedure, 412 U.S. 669, 93 S. Ct. 2405, 37 L. Ed. 2d 254 (S. Ct. 1973) 7 Duke Power Co. v. Carolina Environmental Study Group, Inc. , 438 U.S. 59, 98 S. Ct. 2630, 57 L. Ed. 2d 595 (S. Ct. 1978)
  • 9. คดี Lujan v. National Wildlife Federation8 เปนเรื่องเกี่ยวกับการทีสํานักงานบริหารจัดการ ่ ที่ดิน (Bureau of Land Management, BLM) ทําการเพิกถอนที่ดินสาธารณะใน 11 รัฐฝงตะวันตกและ เปดใหมีการเขาไปพัฒนา โจทก (National Wildlife Federation) กลาวหา การกระทําของ BLM วา ฝา ฝนเงื่อนไขตามขั้นตอนของกฎหมาย และเปนการเปดพื้นที่ดนเพื่อการทําเหมืองแร แตศาลตัดสินวา ิ โจทกไมมีอํานาจฟอง เพราะ โจทกอางเพียงวา มีสมาชิกที่ใชที่ดนของรัฐบาลกลางในบริเวณที่ไดรับ ิ ผลกระทบจากคําสั่งดังกลาว หากจะโตแยง คงโตแยงไดเฉพาะโครงการในพืนที่เหลานั้น มิใชโตแยง ้ โครงการทั้งหมดของ BLM ตามฟอง คดี Lujan v. Defenders of Wildlife9 ขึ้นสูศาลฎีกาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 1991 ในคดีนี้ The Defenders (กลุมอนุรักษสัตวปา) เรียกรองวา กฎหมายคุมครองสัตวใกลสูญพันธุ (the Endangered Species Act of 1973) ควรบังคับใชกบกิจกรรมตางๆในตางประเทศที่ไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ั สหรัฐดวย โครงการที่พิพาทหรือเปนประเด็นที่นํามาพิจารณานัน เปนการใชเงินจากรัฐบาลสหรัฐใน ้ โครงการชลประทานที่ดําเนินการในประเทศศรีลังกา และการสรางเขื่อนอัสวานขึ้นใหมที่แมน้ําไนล ในประเทศอียปต ซึ่งโครงการดังกลาวสงผลคุกคามตอสัตวใกลสูญพันธุอยางชางในศรีลังกาและจรเข ิ ในอียิปตรวมถึงสัตวอีกหลายชนิด Lujan ยกประเด็นตอสูเรื่องอํานาจฟอง โดยโตแยงวา การที่กลุม Defenders of Wildlife จะนําคดีนี้มาฟองตอศาลนั้น อยางนอยกลุมเคลือนไหวดังกลาวตองแสดงใหศาล ่ เห็นวา มีขอเท็จจริงอันหนึงอันใดทีแสดงวา พวกตนไดรับความเสียหายในความเปนจริงหรือในทาง ่ ่ ขอเท็จจริง (injury in fact) โดยมีสาเหตุมาจากกฎหมายฉบับดังกลาว สวน The Defenders โจทก อางวา พวกตนมีอํานาจฟอง เพราะพวกตนเปนตัวแทนสมาชิกองคกรที่ไดเขาไปในสถานที่กอสราง โดยเขาไป ตามระเบียบ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสัตวใกลสูญพันธุในบริเวณพืนที่เหลานั้นภายใตกฎหมายฉบับดังกลาว ้ แตโจทกไมสามารถพิสูจนถึงความเสียหายได และเรื่องตามที่ขอมาในฟองยังเปนเรื่องที่ตองอาศัย อํานาจของประธานาธิบดีในการแกไขปญหาอีกดวย จึงเปนเรื่องที่ศาลไมอาจเยียวยาใหได และศาลจึง เห็นวา โจทกไมมีอํานาจฟอง คดีที่กลาวมาขางตน เปนคดีแรกๆที่สรางบรรทัดฐานเรื่องอํานาจฟอง สําหรับคดี Lujan นั้นศาล เลือกที่จะจํากัดสิทธิของประชาชนโดยจํากัดเรื่องอํานาจฟอง แตศาลฎีกาสหรัฐในปจจุบันมีแนวคิด แตกตางจากยุค 1970 แมกระนั้นก็ตาม ประเด็นเรื่องอํานาจฟองยังคงเปนที่ถกเถียงกัน ในป 1997 มีคํา ตัดสินในคดี Bennett v. Spear วา ประชาชนสามารถฟองรัฐเกี่ยวกับกฎเกณฑที่เขมงวดเกินไปได หรือไม คดีนกลุมเจาของปศุสัตวในเขตชลประทานหลายแหงฟอง Fish and Wildlife Service ที่จํากัด ี้ การปลอยน้ําจากโครงการชลประทานเพื่อปกปองปลาใกลสูญพันธุสองชนิด กลุมเจาของปศุสัตวอางวา การกระทําดังกลาวทําใหพวกตนเสียหายทางเศรษฐกิจ ศาล District Court ยกฟอง ศาลอุทธรณพิพากษา 8 9 Lujan v. National Wildlife Federation, 497 U.S. 871, 110 S. Ct. 3177, 111 L. Ed. 2d 695 (S. Ct. 1990) Lujan v. Defenders of Wildlife, 504 U.S. 555, 112 Sx. Ct. 2130, 119 L. Ed. 2d 351 (S. Ct. 1992)
  • 10. ยืน โดยยกเหตุเรื่องโจทกไมมีอํานาจฟอง แตศาลฎีกากลับคําตัดสินของศาลลาง โดยกลาววา สิทธิที่จะ โตแยงกฎขอบังคับใดภายใต the Endanger Species Act (ESA) ไมไดจํากัดอยูเฉพาะกับนักอนุรักษ สิ่งแวดลอม โดย Justice Scalia เนนวา the Endanger Species Actใหอํานาจทุกคนฟองโตแยงการบังคับ ใชกฎหมายของฝายปกครองได ทั้งที่เขมงวดไปและยอหยอนเกินสมควรแกเหตุ ตอมาเมื่อป 2000 มีคดี Friend of the Earth Inc. v. Laidlaw Environmental Services (TOC) Inc. ขึ้นสูการพิจารณาของศาลฎีกาสหรัฐ ซึ่งคดีนี้ น้ําเสียทีถูกปลอยจากโรงงานของจําเลยหลังการบําบัด ่ แลว ยังคงมีปริมาณของสารปรอทสูงเกินกวาที่ไดรับอนุญาตไวในระบบการกําจัดมลพิษทีมีการ ่ ปลดปลอยแหงชาติ (National Pollution Discharged Elimination System, NPDES) ซึ่งศาลวางบรรทัด ฐานในประเด็นอํานาจฟองวา 1. โจทกไดรับความเสียหายตามความจริงหรือมีลักษณะเปนภัยคุกคาม 2. ความเสียหายที่วานั้นสมควรที่จะนํามาฟองรองจําเลย และ3.ความเสียหายนั้นสามารถเยียวยาโดยคํา พิพากษาได ทั้งนี้ โจทกในคดีส่งแวดลอมไมจําตองพิสูจนวา การปลดปลอยนั้นกอใหเกิดมลพิษที่เปน ิ ภยันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม แตตองแสดงใหเห็นวา มลพิษดังกลาวทําใหโจทกไมสามารถใช  แหลงน้ํานันไดตามปกติเหมือนเชนในอดีตและจะสงผลถึงในอนาคตดวย เชน ไมอาจตกปลา แลนเรือ ้ หรือวายน้ําในแหลงน้ํานันได อันเปนการสงเสริมใหประชาชนมีบทบาทในการชวยบังคับใหการปลอย ้ มลพิษลงสูแหลงน้ําของโรงงานเปนไปตามที่ไดรับอนุญาตอีกทางหนึ่ง การฟองคดีโดยประชาชนนัน อาจกลาวไดวา กฎหมายสิ่งแวดลอมอนุญาตใหประชาชนฟอง ้ คดีสิ่งแวดลอมไดสองประเภท กลาวคือ ประเภทแรก ประชาชนมีสิทธิฟองผูบริหาร EPA ดวยเหตุอัน เนื่องมาจาก ความบกพรองในการปฏิบัตหนาที่ตามกฏหมาย หรือไมกระทําภายในกําหนดเวลา เมื่อ ิ พิจารณาในแงมุมนี้ การฟองคดีโดยประชาชน จึงเปนการชวยควบคุมEPA .shกระทําการตามหนาที่ อยางมีประสิทธิภาพ ประเภทที่สอง เปนการอนุญาตใหประชาชนสามารถฟองดําเนินคดีผูกอมลพิษ หรือผูที่กระทําการใดๆอันเปนการฝาฝนกฎหมายสิ่งแวดลอมได การกระทําอันเปนการฝาฝนกฎหมาย ไดแก การปลอยมลพิษโดยไมไดรับอนุญาตหรือเกินกวาปริมาณที่ไดรับอนุญาต ลมเหลวในการ ตรวจสอบมลพิษ หรือในการรายงานผลการตรวจสอบแกหนวยงานที่เกียวของ ตัวอยางกฎหมายที่ ่ อนุญาตใหประชาชน สามารถรองขอใหหนวยงานของรัฐดําเนินการตามกฎหมายสิ่งแวดลอมได อาทิ ตามClean Air Act (CAA) กําหนดใหบคคลใดๆสามารถรองตอ EPAเพื่อใหโตแยงคัดคานคําอนุญาต ุ ของมลรัฐตาม Title V โดยตองรองขอภายใน 60 วันหลังจากชวงเวลาในการทบทวนของ EPA ได สิ้นสุดลงโดยไมมีขอทวงติงใดๆจาก EPA สวน CERCLA กําหนดใหผูใดที่ไดรับผลกระทบจากการ ปลอยวัตถุอันตรายสามารถรองขอตอ EPA ใหทําการประเมินเบื้องตนในเขตพื้นที่ซึ่งมีการทิ้งวัตถุเชน วานั้นวา มีอนตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมหรือไม โดยจะตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 12 ั เดือน มิฉะนั้นตองแจงใหทราบถึงเหตุที่ไมอาจกระทําการดังกลาวได เปนตน
  • 11. ในสวนการใชสิทธิฟองรองผูกระทําความผิดตามกฎหมายสิ่งแวดลอมนั้น ประชาชนมีสิทธิ ฟองคดีตอศาลเพื่อเปนการประกันวากฎหมาย(Clean Air Act)จะมีการบังคับใช10 โดยทําหนาทีเ่ สมือน เปนอัยการในภาคเอกชน (Private Attorney Generals) ทั้งนี้ประชาชนสามารถฟองคดีไดที่ศาลมลรัฐ เพื่อขอใหมีคําสั่งหามเพื่อบรรเทาความเสียหาย (Injunctive Relief) โดยใหแกไขหรือหยุดการกระทําอัน ละเมิดตอกฎหมาย และใหมีการชําระคาปรับเปนคาเสียหายที่จายใหแกรัฐ (Civil Penalty) โดยมี กฎหมายสิ่งแวดลอมหลักๆที่ใหอํานาจสวนนี้แกประชาชนไว เชน Clean Air Act (CAA) Clean Water Act (CWA) Resource Conservation and Recovery Act (RCRA) และ Comprehensive Environmental Response Compensation and Liability Act (CERCLA) ตัวอยางการฟองคดีโดยประชาชนตาม Clean Water Act เริ่มจากมีการฝาฝนบัญญัติของ CWA ซึ่งกอนอื่น ในการปลอยของเสีย ผูปลอยของเสียตองไดรับอนุญาตตามระบบการกําจัดของเสียที่มีการ ปลดปลอยแหงชาติ (National Pollutant Discharge Elimination System, NPDES) ใหปลอยของเสียลงสู ทางน้ําของสหรัฐเสียกอน โดยNPDES จะกําหนดมาตรฐานหรือขอจํากัดในการปลดปลอย รวมถึงการ ตรวจสอบและรายงานการปฏิบัติการโดยใชมาตรฐานการปฏิบัติที่มีการจัดการที่ดีทสุด ี่ (Best Management Practices, BMPS) การฝาฝนขอจํากัดหรือเงื่อนไขตามคําอนุญาตที่ระบุไวใน NPDES ถือ เปนการฝาฝน CWA และมีการกําหนดเรื่องอํานาจฟองไวดังนี11 ้ 1.บุคคลใดๆอาจฟองคดีแพงเพื่อประโยชนของตนได คําวา ประชาชน (Citizen) หมายถึงประชาชนใดๆ หรือบุคคลหลายคน ซึ่งมีผลประโยชนที่ไดรับผลกระทบหรืออาจจะไดรับผลกระทบ 2.ประชาชนจะมีอํานาจฟองก็ตอเมื่อตนไดรับความเสียหายจากการกระทําอันฝาฝนกฎหมายของจําเลย การปลอยมลพิษซึ่งกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ เศรษฐกิจ การพักผอนหยอนใจ ความสุนทรีย และ สิ่งแวดลอม โดยประชาชนที่จะฟองคดีนั้นตองใชนาที่ไดรับผลกระทบนั้นเปนประจํา ้ํ อาศัยหรือ พักผอนหยอนใจใกลทางน้ํานั้น ทั้งนี้กอนฟองคดี ประชาชนผูจะฟองคดีตองสงหนังสือทักทวงเพื่อใหผู ที่ฝาฝนมีโอกาสแกไข และสงไปยังหนวยงานที่ปกปองคุมครองสิ่งแวดลอม(EPA)เพื่อใหโอกาส  ดําเนินคดีผูฝาฝน เปนเวลา 60 วันกอนฟองคดี หากศาลพิจารณาแลวพบวามีการฝาฝนจริง ศาลจะ กําหนดคาปรับ แตถือเปนโทษในทางแพง(Civil Penalty) ทั้งนี้ CWA ไมไดใหอํานาจศาลมลรัฐในการ พิจารณาคดีทฟองโดยประชาชน12 และการฝาฝนนั้นตองยังคงมีอยูในขณะฟอง การฟองคดีตองกระทํา ี่ โดยเจตนาสุจริต(Good-Faith) และมีภาระการพิสูจนแกผูฝาฝนวา จะตองแสดงใหประจักษชัดวา 10 11 12 Friends of the Earth v. Carey, 535 F.2d 165 (2nd Cir. 1976). 33 U.S.C. s 1365 Gwaltney of Smithfield Ltd. V. Chesapeake Bay Foundation, Inc. 108 S. Ct. 376 (1987)
  • 12. พฤติกรรมการฝาฝนนั้นจะไมเกิดขึ้นอีก 13 อยางไรก็ดี ประชาชนยังไมอาจฟองคดีไดหากหนวยงานของ รัฐไดฟองคดีในเรื่องเดียวกันตอศาลกอนแลว14 ในสวนของคาปรับนั้นอาจสูงถึง 32,500 ดอลลารสหรัฐตอวัน ซึ่งการกําหนดคาปรับนั้นศาลจะ พิจารณาจาก ความรุนแรงของการฝาฝน ประโยชนทางเศรษฐกิจที่ผูฝาฝนไดรับจากการฝาฝน ความ  จริงใจในการพยายามปฏิบติตามกฎหมาย ผลกระทบทางเศรษฐกิจตอผูฝาฝน และปจจัยอื่นอันเปนไป ั เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม คาปรับจะถูกสงไปยังกระทวงการคลัง แตศาลอาจกําหนดใหมอบเงิน ดังกลาวแกโครงการสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับวัตถุประสงคของCWAได นอกจากนี้ ศาลอาจ พิพากษาใหจําเลยจายคาฤชาธรรมเนียม ตลอดจนทนายความและคาปวยการพยานผูเชียวชาญแทน ่ โจทกได15 โดยคาทนายความจะกําหนดตามอัตราทองตลาด(Market Rates) การประนีประนอมยอม ความยอมอาจมีได โดยมักจะมีกําหนดการที่จะดําเนินการใหถูกตองตามกฎหมาย คาปรับ(Civil Penalty)ที่ตองจายใหแกกระทรวงการคลัง คาใชจายทีจะมอบใหแกโครงการสิ่งแวดลอม คาทนายความ ่ และคาใชจายอื่นๆ ซึ่งตองสงขอตกลงไปใหรัฐบาลสหรัฐทราบกอนศาลมีคําพิพากษาตามยอมเปนเวลา 45 วัน16 และในการพิจารณาวาจะพิพากษาตามยอมใหหรือไมนั้น ศาลตองพิจารณาวาขอตกลงนั้น เปนไปโดยเปนธรรม(Fair) สมเหตุสมผล (Reasonable) เที่ยงธรรม (Equitable) และขัดตอความสงบ และศีลธรรมอันดีของประชาชน(Public Policy) หรือไม การดําเนินคดีกลุม (Class Action) การดําเนินคดีกลุมมักใชในกรณีที่มีผูเสียหายเปนจํานวนมาก เชน คดีเกียวกับการคุมครอง ่ ผูบริโภค คดีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม วิธีการดําเนินคดีจะกระทําในรูปของกลุมบุคคล ซึ่งจะเปนกลุมบุคคล ฝายโจทกหรือจําเลยก็ได การดําเนินคดีกลุมจะเริ่มโดยการที่โจทกยนคํารองขอดําเนินคดีแบบกลุม ื่ พรอมกับเสนอคําฟองตอศาล โดยผลของคําพิพากษาจะผูกพันสมาชิกในกลุมทุกคน การดําเนินคดีกลุม(Class Action) มีบัญญัติไวในกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (Federal Rule of Civil Procedure, FRCP) ซึ่งมีการนํามาใชทั้งในคดีแพงที่ฟองยังศาลรัฐบาลกลางและศาลมลรัฐ แตก็ มีบางรัฐเชน รัฐนิวยอรคและรัฐฟลอริดาที่ปฏิเสธรูปแบบการดําเนินคดีกลุมที่บัญญัติไวใน FRCP ทั้งนี้ เปนอิสระของมลรัฐตางๆที่จะนํา FRCPมาใชหรือไมกได ็ ตามRule 23 (a) เงื่อนไขเบื้องตนของการดําเนินคดีกลุม บุคคลหนึ่งหรือมากกวา อาจฟองหรือ ถูกฟองเหมือนเชนคูความผูแทนคดีในนามของสมาชิกในกลุมทั้งหมดได ถา  (1) สมาชิกของกลุมมีจํานวนมากและการที่สมาชิกของกลุมจะเขามารวมกันในคดีนนเปนสิ่งที่ ั้ ยาก 13 14 15 16 Gwaltney, อางแลว 33 U.S.C. s 1365(b)(1)(b) 33 U.S.C. s 1365(d) 40 C.F.R. Part 135.5
  • 13. (2) มีปญหาขอกฎหมายและขอเท็จจริงอยางเดียวกันในกลุม (3) ขอเรียกรองหรือขอตอสูของคูความผูแทนคดี เปนขอเรียกรองหรือขอตอสูประเภทเดียวกัน (4) คูความผูแทนคดีสามารถปองกันผลประโยชนของกลุมอยางเปนธรรมและเพียงพอ ในการขอใหมการดําเนินคดีแบบกลุมนี้ จะตองปรากฏแกศาลวา กรณีเขาเงื่อนไขครบทั้ง 4 ี ประการขางตน โดยผูรองขอใหดําเนินคดีแบบกลุมจะมีภาระในการแสดงขอเท็จจริงใหศาลเห็นวา   จํานวนสมาชิกที่ไดรับความเสียหายจากการกระทําของจําเลยนี้มีเปนจํานวนมาก โดยขึ้นอยูกับ ขอเท็จจริงในแตละคดีวา ผูเสียหายจํานวนอยางนอยเทาใดจึงจะถือวาเปนจํานวนมาก ทั้งนี้ ไมจาตอง ํ กําหนดจํานวนสมาชิกไว แตกําหนดลักษณะของสมาชิกในกลุมไดอยางชัดเจนก็เพียงพอแลว โดย สมาชิกในกลุมจะตองเปนผูเสียหายที่มีความเสียหายเกิดขึ้นแลวจริง ความเสียหายนั้นปรากฏอยางชัด  แจงในขณะรองขอใหดําเนินคดีแบบกลุม แตหากเพียงเปนการคาดคะเนวา อาจจะมีผูที่ไดรับความ เสียหายเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่ง ยังไมอาจถือไดวาบุคคลเหลานั้นไดรับความเสียหายแลว17 และไม อาจจะนับรวมเอาบุคคลเหลานั้นมาเปนสมาชิกกลุมได สําหรับคดีสิ่งแวดลอม โดยสวนมาก ผูที่ไดรับสารพิษอันเกิดจากการรั่วไหลจากแหลงกําเนิด มลพิษ มักจะใชเวลานานกวาจะมีการแสดงอาการ เมื่อปรากฏวา มีการรั่วไหลของสารพิษจากแหลงของ จําเลย แตยังไมสามารถตรวจสอบพบความเสียหาย จะเกิดปญหาวา บุคคลเหลานี้เปนผูเสียหายที่จะ ขอใหดําเนินคดีกลุมไดหรือไม นอกจากนี้ เนื่องจาก Rule 23 กําหนดเงื่อนไขไวอีกวา การที่สมาชิกของ กลุมจะเขามารวมกันในคดีนนเปนไปไดยากดวย ดังนั้น แมสมาชิกในกลุมจะมีจํานวนมาก แตก็มาก ั้ เกินไป จะทําใหคดียุงยากเกินสมควร ศาลก็อาจไมอนุญาตใหดําเนินคดีแบบกลุม และเนื่องจาก การ ดําเนินคดีในรูปแบบนี้มวัตถุประสงคเพื่อใหศาลมีคําพิพากษาเปนอยางเดียวกันในระหวางสมาชิกใน ี กลุม ขอเรียกรองหรือขอตอสูของโจทกซึ่งเปนผูแทนคดีจงตองเปนอยางเดียวกับขอเรียกรอง หรือขอ ึ ตอสูของสมาชิกในกลุม ทําใหการฟองคดีของโจทกซึ่งเปนผูแทนกลุมเปนการฟองเพื่อประโยชนของ สมาชิกทุกคนในกลุม และในประการสุดทาย คูความที่เปนผูแทนกลุม ตลอดจนทนายความ ตองเปนผูที่ มีคุณสมบัติที่จะทําหนาที่เพือคุมครองประโยชนใหสมาชิกในกลุมไดอยางเพียงพอและเปนธรรม ใน ่ กรณีที่ผูเปนตัวแทนกลุมมีผลประโยชนขดกับสมาชิกในกลุม ไมถือวา บุคคลเหลานี้เปนสมาชิกในกลุม ั  18 เดียวกัน เมื่อคํารองขอดําเนินคดีแบบกลุม ครบเงื่อนไขเบื้องตนตาม Rule 23 (a) (1) แลว ผูแทนกลุม หรือผูแทนคดีตองแสดงใหศาลเห็นดวยวาการดําเนินคดีแบบกลุมเปนวิธีการที่เหมาะสมที่จะนํามาใช ในการดําเนินคดีตาม Rule 23 (b) สําหรับคดีละเมิดที่มีผูเสียหายจํานวนมาก (Mass Tort Litigation) อาทิ คดีการแพรกระจายของ แรใยหิน (Asbestos)19 ในชวงกลางทศวรรษ1980 มีหลายคดีที่ใชวิธีการการฟองคดีแบบกลุม และศาล 17 18 19 Makuc V. American Honda Motor Co Inc., 835 F.2d 389 (1st Cir. 1987) Hansberry V. Lee, 311 U.S. 32, 61 S. Ct. 115, 85 L. Ed. 22 (1940) แรใยหิน Asbestos เปนสารที่ทนความรอนไดสูง มีประโยชนในทางอุตสาหกรรม แตเปนสารกอมะเร็งซึ่งอันตรายตอสุขภาพ
  • 14. มักจะอนุญาตใหดําเนินคดีแบบกลุมได20 เชนในคดี School Asbestos ศาลอุทธรณภาค 3 มีคําสั่งยืน ตามคําสั่งอนุญาตของศาลชั้นตนในคดีที่โรงเรียนหลายแหงฟองขอใหมีการนําแรใยหินออกไปจาก บริเวณโรงเรียนและเรียกใหจําเลยชดใชคาใชจายในการตรวจสอบ ประเด็นขอหนึ่งที่สําคัญคือ เมื่อยัง ไมปรากฏวามีอาการเจ็บปวย ก็ยังไมอาจเรียกคาเสียหายได อยางไรก็ดี สําหรับกรณีแรใยหินนัน ศาล ้ สวนใหญก็อนุญาตใหดําเนินคดีตอไปได เพราะเห็นวา แมจะยังไมปรากฏอาการของโรค แตอยางนอย ผูเสียหายก็ไดรับอันตรายในระดับเซลลแลว อยางไรก็ดี มีหลายศาลที่ปฏิเสธที่จะใหดําเนินคดีแบบกลุม หากปรากฏเพียงวา มีการแพรกระจายของสารพิษ แตยังไมปรากฏอาการเจ็บปวยตามรางกาย โดยให เหตุผลวากรณียังไมเขาเงื่อนไขตาม Rule 23 บางศาลก็ชี้ไปที่ประเด็นวา เปนเรื่องยากในการสงหมาย แจงไปยังโจทกในคดีที่มเี พียงการแพรกระจายของสารพิษซึ่งพวกเขาอาจไมทราบวา ตนอยูในเขตที่มี  การแพรกระจายและไมมีขอมูลเพียงพอเพือประกอบการตัดสินใจใชสิทธิเลือกออก (opt-out) จากกลุม ่ นอกจากนี้ยังมีปญหาเรื่องการพิสูจนในนามกลุม (Class-wide Proof) ซึ่งเปนปญหาใหญอกประการ ี หนึ่งวา เมื่อมีสมาชิกเปนจํานวนมาก โจทกจะสามารถพิสูจนโดยใชพยานผูเชียวชาญและเหตุผลทาง ่ 21 สถิติหรือการประเมินโดยอาศัยการคํานวนแทนไดหรือไม นอกจากนี้ยังมีคดีที่ ศาลอุทธรณภาค 5 ปฏิเสธแผนของโจทกที่จะใชวิธีการคํานวนเพื่อประเมินคาเสียหายจากกลุมตัวอยางทีเ่ ปนตัวแทนทีมี ่ ลักษณะความเสียหายในทํานองเดียวกันนันวา ไมเพียงพอแกคณะลูกขุนในการกําหนดคาเสียหาย แต ้ จะตองแสดงใหเห็นถึงความเสียหายทีแทจริง โดยอางหลัก Due Process และ Seventh Amendment ่ ในสวนของการเยียวยาความเสียหายสําหรับคดีกลุมนั้น ศาลใชหลายวิธีการเพื่อเยียวยาสําหรับ สมาชิกในกลุม ซึ่งในบางกรณี สมาชิกบางคนอาจตองพิสูจนความเสียหายของตนแยกตางหาก ศาล  หลายแหงไดนําหลักการ Fluid Recovery หรือ cypress หมายถึง ใหใกลเคียงความเปนไปไดมากที่สุด มาใช และในคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ศาลอาจใชวิธีการใหจําเลยจายเงินใหแก องคกรรักษาประโยชนสาธารณะหรือโครงการที่เปนประโยชนแกกลุมโดยรวม เชน มอบเงินให หนวยงานของรัฐเพื่อการศึกษาวิจยเกี่ยวกับสุขภาพหรือเพื่อการกําจัดมลพิษไปจากแหลงน้ํา เปนตน ั คาเสียหาย (Damages) คาเสียหายตามกฎหมายสหรัฐสามารถแบงออกเปน คาเสียหายทีเ่ ปนการเยียวยาความเสียหาย (Compensatory Damages) กับคาเสียหายในเชิงลงโทษ (Punitive Damages) 20 Robert H. Klonoff. Class Actions and Other Multi-Party Litigation In a Nutshell 218-219, West Group, 1999). 21 In re Fibreboard Corporation, 893 F. 2d. 706 (5th Cir. 1990)
  • 15. สําหรับคาเสียหายที่เปนการเยียวยาความเสียหายนั้นเปนคาเสียหายทีตามปกติศาลจะสั่งให ่ จําเลยจายแกผูเสียหายเพื่อชดเชยเยียวยาความเสียหายทีไดรับ22 ซึ่งแบงได 3 ประการ ไดแก ประการแรก ่ คาเสียหายในความเสียหายที่เปนตัวเงิน {Pecuniary damages) โดยเปนคาเสียหายที่จายใหแกผูเสียหาย แทนตัวเงินทีสูญเสียไป เชน คารักษาพยาบาล หรือคาขาดรายไดอันเนื่องจากอาการบาดเจ็บหรือ ่ เจ็บปวย ประการที่สองคือ คาเสียหายในความเสียหายที่มิใชตัวเงิน (Non-pecuniary damages) โดยเปน การจายเพื่อชดเชยความเสียหายที่มิใชตวเงิน เชน ความเจ็บปวดทางกายและจิตใจ ประการสุดทายคือ ั คาเสียหายสําหรับการสูญเสียความสุข (Hedonic losses) เปนการชดเชยความสงบสุขในชีวิตทีสูญเสีย ่ ไป สวนคาเสียหายในเชิงลงโทษนั้น เปนคาเสียหายที่ศาลสั่งใหจําเลยจายใหแกโจทกเพื่อเปนการ ลงโทษ โดยจะสั่งใหจําเลยจายคาเสียหายประเภทนี้ เมื่อการกระทําละเมิดนั้นเปนการกระทําโดยมี เจตนาชัวรายหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง (Malicious and reckless) เชนจําเลยมีเจตนาปลอย ่ มลพิษลงสูแหลงน้ํา โดยรูอยูแลววา วัตถุที่ปลอยออกมานั้นเปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชนทําให โจทกซึ่งอยูในบริเวณใกเคียงไดรับอันตรายจากมลพิษนัน ้ หรือเกิดการรั่วไหลของมลพิษโดยความ ประมาทเลินเลออยางรายแรงของจําเลยหรือลูกจาง สําหรับคดีสิ่งแวดลอมที่ฟองโดยอาศัยมูลละเมิดนัน ปกติจะพิจารณาโดยมีลูกขุน และลูกขุนจะ ้ เปนผูกําหนดจํานวนคาเสียหาย ทั้งนี้ ในแตละรัฐอาจจะกําหนดจํานวนคาเสียหายในเชิงลงโทษไว แตกตางกัน เชนบางรัฐกําหนดไววาตองไมเกินสองเทา สามเทาหรือสี่เทาของคาเสียหายตามปกติ (Compensatory damages) หรือบางรัฐก็ไมมีขอจํากัดไวก็อาจกําหนดสูงถึงรอยเทาของคาเสียหายปกติ ได สวนคดีทไมไดพจารณาโดยมีลูกขุนนัน ผูพิพากษาจะเปนผูกําหนดคาเสียหาย เชน คดีที่ฟองให ี่ ิ ้  เจาของที่ดินทีมีการทิ้งของเสียรับผิดชอบในการฟนฟูสภาพที่ดนตาม CERCLA เปนการพิจารณาโดยผู ่  ิ พิพากษาไมใชลูกขุน เปนตน บรรณานุกรม เอกสารภาษาไทย น้ําแท มีบุญสลาง, การดําเนินคดีแบบกลุมในคดีสิ่งแวดลอม,วิทยานิพนธ นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร คณะนิตศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2547 ิ เอกสารภาษาตางประเทศ Dan B. Dobbs, Law of Remedies: Damages-Equity-Restitution (2nd ed., West Publishing, 1993) (1973). 22 John L.Diamond, Lawrence C.Levine and M.Stuart Madden, Understanding Tort, (2nd ed, Lexis Publishing, 2000) (1996), p.242.
  • 16. Daniel A. Farber, Jody Freeman, Ann E. Carlson and Rodger W. Findley, Cases and materials on Environmental Law (7th ed. Thomson/West 2006) (1981). Gerald W. Boston & M. Stuart Madden, Law of Environmental and Toxic Torts: Cases, Materials and Problems (2nd ed., West Group, 2001) (1994). John L. Diamond, Lawrence C. Levine and M. Stuart Madden, Understanding Tort (2nd ed., Lexis Publishing, 2000) (1996). Mallor & Robert, Punitive Damages: Toward a Principled Approach, 31 Hastings L.J. (1980). Nancy K. Kubasek and Gary S. Silverman, Environmental Law (4th Ed., Prentice Hall, 2002). Philip Weinberg and Kevin A. Reilly, Understanding Environmental Law ( Matthew Bendar& Co., Inc., 1998). Roger W. Findley and Daniel A. Farber, Environmental Law in a nutshell (6th Ed. Thomson West, 2004)(1983). Robert H. Klonoff, Class Actions and Other Multi-Party Litigation in a Nutshell, ( West Group, 1999).