SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 53
Descargar para leer sin conexión
มอก./ISO 26000
      แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม
(Guidance on social responsibility)

                                 1/53
ความเป็นมาและความสําคัญ
• เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
• กฎหมาย กฎ และระเบียบต่างๆ
• โลกาภิวัฒน์ (Globalization)
• ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)
• ชื่อเสียง และ ภาพลักษณ์
• การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable development)
                                              2/53
“วันนี้ ฉันมีความฝัน”
“Today, I have a dream”

                           3/53
แนวปฏิบัติและมาตรฐานด้าน SR
• แนวปฏิบติขององค์กรต่างๆ
         ั
• แนวปฏิบติจากองค์กรสากล เช่น
         ั




• หน่วยงานมาตรฐานของประเทศต่างๆ
                                         4/53
SR and SD


             ส่งเสริม   สนับสนุน




  พัฒนา
ไปพร้อมกัน
อย่างสมดุล


                                   5/53
บทบาทของการมาตรฐาน
• ได้รับการยอมรับ
• สามารถใช้ร่วมกันได้




                                        6/53
การกําหนดมาตรฐาน มอก./ISO 26000
                         อุตสาหกรรม      ISO/TMB/WGSR
                         (Industry)
ผู้บริโภค (Consumer)                     กว.1004

                                      หน่วยงานทีไม่ใช่ภาครัฐ
                                                ่
 แรงงาน                                     (NGOs)
 (Labor)
                           ที่เหลือ ได้แก่ การบริการ หน่วยงาน
                           สนับสนุน งานวิจย และ อื่นๆ
                                          ั
        รัฐ หรือราชการ     SSRO: Service, support, research
       (Governments)
                           and others)
                                                                7/53
การประกาศมาตรฐาน มอก./ISO 26000




ISO/TMB/WGSR            กว.1004 พิจารณา และเห็นชอบร่าง
ประกาศวันที่ 1 พ.ย.53   กมอ. เห็นชอบ
                        รวอ. ลงนามวันที่ 30 ก.ย.53
                        รอประกาศราชกิจจา
                                                         8/53
มอก./ISO 26000
• จุดมุ่งหมายและเจตนารมณ์
  • แนวทางและข้อแนะนําให้เกิดพฤติกรรม SR
  • ใช้ได้กบทุกประเภท/ขนาด
            ั
  • ไม่ใช่มาตรฐานระบบการบริหารงาน
  • ไม่มีส่วนไหนที่เป็นข้อกําหนด
  • ไม่สามารถใช้เพื่อการรับรองได้
• ไม่เหมาะสมในการนําไปรับรอง หรือประกาศบังคับ
 หรือทําข้อตกลง
                                                9/53
โครงสร้างของ มอก./ISO 26000
     บทนํา
1.   ขอบข่าย
2.   คําศัพท์ และคํานิยาม
3.   ความเข้าใจต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (SR)
4.   หลักการของ SR (Principles)
5.   การยอมรับถึงความสําคัญของ SR และ การสานสัมพันธ์กับ
     ผู้มีส่วนได้เสีย
6.   แนวทางเกี่ยวกับหัวข้อหลักต่างๆ ด้าน SR (Core subjects)
7.   แนวทางการบูรณาการ SR ทัวทั้งองค์กร
                               ่
                                                              10/53
ภาพรวมของ มอก./ISO 26000




                      11/53
ความรับผิดชอบต่อสังคม (SR)
ความรับผิดชอบขององค์กรต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจและ
การดําเนินการต่างๆ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ทําอย่างโปร่งใสและ
การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม เพื่อ
     – ส่งเสริมต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งรวมถึงสุขภาพและความอยู่ดีมีสุข
       ของสังคม
     – ให้ความสําคัญต่อความคาดหวังของผู้มสวนได้เสีย
                                             ี่
     – ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับการปฏิบัติตาม
       แนวทางของสากล
     – ให้เกิดการบูรณาการทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งนําไปใช้กับองค์กรอื่นๆ ที่มี
       ความสัมพันธ์
หมายเหตุ 1 การดําเนินการต่างๆ จะรวมถึงผลิตภัณฑ์ การบริการ และกระบวนการต่างๆ
หมายเหตุ 2 ความสัมพันธ์ ให้หมายรวมถึงการดําเนินการต่างๆ ขององค์กรภายใต้ขอบเขตอิทธิพล
                                                                                       12/53
ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)
                            ลูกคา
                 อื่นๆ
              อีกมากมาย
                                         ผูบริโภค

     สื่อ                                            คนงาน



ราชการ                      องคกร                     สหภาพ



  ผูสงมอบ                                          ชุมชน

              ผูบริจาค                   NGO
                          ผูรวมลงทุน



                                                               13/53
ห่วงโซ่อุปทาน และ ห่วงโซ่แห่งคุณค่า
สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
                                  ผู้มีส่วนได้ส่วน   ผู้มีส่วนได้เสีย     ผู้มีส่วนได้เสีย
สังคม และเศรษฐกิจ

ห่วงโซ่แห่งคุณค่า    ผู้มีส่วนได้เสีย


   ห่วงโซ่อุทาน                                                         ลูกค้า

   ผู้ส่งมอบย่อย    ผู้ส่งมอบ                  องค์กร                   ขายส่ง               ผูบริโภค
                                                                                               ้


     ผู้ส่งมอบ                                                                               รับจัดการ
     วัตถุดิบ                                                                                ของเลิกใช้



                                                                                                          14/53
ขอบเขตอิทธิพล (Sphere of influence)
ขอบเขต หรื อ บริ เ วณของความสั ม พั น ธ์ ท างด้ า นการเมื อ ง
การผู ก พั น ด้ ว ยสั ญ ญา เศรษฐกิ จ หรื อ ความสั ม พั น ธ์ อื่ น ๆ ซึ่ ง
อ ง ค์ ก ร มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ
หรือการดําเนินการต่างๆ ของบุคคล หรือองค์กรอื่นๆ
หมายเหตุ 1       ความสามารถในการมีอิทธิพล ไม่ได้หมายรวมถึงความรับผิดชอบ
ต่อการใช้อิทธิพล
หมายเหตุ 2       เมื่อปรากฏคํานี้ในมาตรฐานที่ใด ขอให้มีความเข้าใจจุดมุ่งหมาย
ของความหมายของคํานี้ตามบริบทของแนวทางในหัวข้อที่ 5.2.3 และ 7.3.2


                                                                            15/53
หลักการ 7 ประการ (7 Principles)
1. ความรับผิดชอบ (Accountability)
2. ความโปร่งใส (Transparency)
3. การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม (Ethical behaviour)
4. การเคารพต่อผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย
   (Respect for stakeholder interests)
5. การเคารพต่อหลักนิติธรรม
   (Respect for rule of law)
6. การเคารพต่อการปฎิบติตามแนวทางของสากล
                       ั
   (Respect for international norms of behaviour)
7. การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights)
                                                        16/53
1 ความรับผิดชอบ
    มีความรับผิดชอบสําหรับผลกระทบจากองค์กร
        ที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
• ภาระหน้าที่ในการถูกตรวจสอบและยอมรับผลการตัดสิน
• ตอบคําถามในสิ่งที่ทําหรือที่ตัดสินใจ
• แก้ไขข้อผิดพลาดและไม่เกิดซ้ํา



                                                   17/53
2 ความโปร่งใส
   มีความโปร่งใสในการตัดสินใจและการดําเนินการ
       ที่มีผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
• เปิดเผยเกี่ยวกับนโยบาย การตัดสินใจ ผลกระทบต่างๆ
  อย่างชัดเจน ถูกต้อง และครบถ้วน
• สารสนเทศที่สามารถเข้าถึงและเข้าใจได้ง่าย
• สารสนเทศมีความทันสมัย ถูกต้อง และนําเสนอได้ชัดเจน
• เปิดเผยตามขอบเขตของกฎหมายที่กําหนด
                                                      18/53
3 การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม
                 ปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม
• ค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ ความเท่าเทียม และ
  ความยุติธรรม รวมถึงข้อกังวลสําหรับคน สัตว์ และ
  สิ่งแวดล้อม และผูมส่วนได้เสีย
                   ้ ี
• มาตรฐานการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม
• ผลประโยชน์ทับซ้อน


                                                    19/53
4 เคารพต่อผลประโยชน์ของผูมีสวนได้เสีย
                              ้ ่
     เคารพ พิจารณา และตอบสนองต่อผลประโยชน์
             ของผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร
• กลไกการชี้บงผูมีส่วนได้เสียและผลประโยชน์
             ่ ้
• ตอบสนองต่อผลประโยชน์ทั้งหมด
• การสร้างความสัมพันธ์ การสานสัมพันธ์ และการมีอทธิพล
                                               ิ



                                                   20/53
5 เคารพต่อหลักนิติธรรม
          ยอมรับว่าการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม
                เป็นสิ่งที่บังคับให้ต้องทํา
• ปฏิบติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
      ั
• ติดตาม และตรวจสอบว่ามีการดําเนินการตามทีกาหนดไว้
                                          ่ํ




                                                 21/53
6 การเคารพต่อการปฏิบัตตามแนวทางของสากล
                      ิ
    เคารพต่อการปฏิบัติตามแนวทางของสากลในขณะที่
   ยังคง ยึดมั่นกับหลักการของการเคารพต่อหลักนิติธรรม
  • กรณีไม่มกฎหมายกําหนดไว้
            ี
  • ผูมีความเกี่ยวข้องปฏิบติตามกฎหมายด้วย
      ้                   ั
  • หลีกเลี่ยงการมีส่วนร่วมในการกระทําผิด (complicity)



                                                         22/53
7 เคารพต่อสิทธิมนุษยชน
     เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และให้การยอมรับถึง
   ความสําคัญและความเป็นสากลของสิทธิมนุษยชน
• นโยบายการดําเนินงานสอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่า
  ด้วยสิทธิมนุษยชน
• แนวทางปฏิบติของสากล
               ั



                                                23/53
การยอมรับถึงความสําคัญของ SR
และ การสานสัมพันธ์กับผู้มส่วนได้เสีย
                         ี


                                       24/53
การพิจารณาความสัมพันธ์




                   25/53
แนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับ SR
• ยอมรับถึงความสําคัญของ SR
   – ผลกระทบ ผลประโยชน์ และความคาดหวังต่างๆ
       องค์กร กับ สังคม
       องค์กร กับ ผูมีส่วนได้เสีย
                       ้
       ผู้มีส่วนได้เสีย กับ สังคม
   – ให้ความสําคัญกับหัวข้อหลักและประเด็นต่างๆ
   – SR กับขอบเขตอิทธิพล
• การชี้บ่ง และการสานสัมพันธ์กบผู้มีส่วนได้เสีย
                              ั
                                                    26/53
การสานสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
• การสานเสวนา
• รูปแบบของการสานสัมพันธ์
   – การประชุม (เป็นและไม่เป็นทางการ) เช่น การพบปะเป็นรายบุคคล
     การสัมมนา การทํากิจกรรมกลุ่ม การรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ
     การแลกเปลี่ยนความเห็นแบบโต๊ะกลม คณะกรรมการที่ปรึกษา
     สารสนเทศที่มีการจัดทําไว้ในรูปแบบที่ชัดเจน ขั้นตอนการดําเนินงานเพื่อ
     การขอคําปรึกษา การเจรจาที่มีผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย การพูดคุยผ่านกลุ่ม
     สมาชิกในเว็บ
   – การสื่อสารแบบสองทาง (2-ways communication)
• รู้ถึงความคาดหวัง และนําไปสู่การดําเนินการต่อประเด็นต่างๆ
  ที่มีนยสําคัญ
        ั
                                                                      27/53
ประเด็นต่างๆ ของ SR



      สิทธิมนุษยชน             การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
                                                         การบริจาค สังคมและชุมชน
สภาพแวดล้อมในการทํางาน    ความหลากหลายทางชีวภาพ                                    ห่วงโซ่อุปทาน
                                                    การเปลี่ยนแปลงสภาพ
                          การออกแบบสินค้า                  ภูมิอากาศ
  ความปลอดภัยของสินค้า                                                         ความหลากหลาย
                                                      จริยธรรมทางธุรกิจ
                            ธรรมาภิบาล                                          การสรรหา
    การตลาดและผู้บริโภค                       การปล่อยของเสีย
                                                                   ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
                              โกง แหกตา
       การจัดการของเสีย
                                                        สิทธิด้านแรงงาน        อื่นๆ
                                                                            อีกมากมาย...
                                                                                      28/53
แนวทางเกี่ยวกับ
หัวข้อหลักต่างๆ ของ SR


                         29/53
7 หัวข้อหลัก (7 Core subjects)
1.   ธรรมาภิบาล (Organizational governance)
2.   สิทธิมนุษยชน (Human right)
3.   การปฏิบัติด้านแรงงาน (Labour practices)
4.   สิ่งแวดล้อม (The environment)
5.   การปฏิบัติที่เป็นธรรม (Fair operating practices)
6.   ประเด็นด้านผู้บริโภค (Consumer issues)
7.   การมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน
     (Community involvement and development)
                                                        30/53
31/53
แนวทางเกี่ยวกับหัวข้อหลักต่างๆ ของ SR

• หัวข้อหลักและประเด็นต่างๆ
• ในแต่ละหัวข้อหลัก
  – ขอบข่าย
  – ความสัมพันธ์กับ SR
  – หลักการและข้อพิจารณาต่างๆ
  – การดําเนินการและความคาดหวังต่างๆ
                                       32/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ
1. ธรรมาภิบาล                   กระบวนการและโครงสร้าง
2. สิทธิมนุษยชน                 ในการตัดสินใจ
3. การปฏิบติด้านแรงงาน
          ั                      –   ความรับผิดชอบ
4. สิ่งแวดล้อม                   –   ความโปร่งใส
5. การปฏิบติที่เป็นธรรม
          ั
                                 –   จริยธรรม
6. ประเด็นด้านผู้บริโภค
7. การมีส่วนร่วมของชุมชน         –   ความสําคัญของผู้มีส่วนได้เสีย
   และการพัฒนาชุมชน              –   เคารพต่อหลักนิติธรรม


                                                               33/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ
1. ธรรมาภิบาล                 1. การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ
                              2. สถานการณ์ความเสี่ยงของสิทธิมนุษยชน
2. สิทธิมนุษยชน               3. การหลีกเลี่ยงการร่วมกระทําความผิด
3. การปฏิบติด้านแรงงาน
          ั                   4. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
4. สิ่งแวดล้อม                5. การเลือกปฏิบัติและกลุมผู้ด้อยโอกาส
                                                      ่
5. การปฏิบติที่เป็นธรรม
          ั                   6. สิทธิการเป็นพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
6. ประเด็นด้านผู้บริโภค       7. สิทธิทางด้านเศรษฐกิจ
7. การมีส่วนร่วมของชุมชน         สังคม และวัฒนธรรม
   และการพัฒนาชุมชน           8. หลักการพื้นฐานและ
                                 สิทธิในการทํางาน

                                                                  34/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ
1. ธรรมาภิบาล                 1. การจ้างงานและความสัมพันธ์การ
2. สิทธิมนุษยชน                  จ้างงาน
3. การปฏิบัติด้านแรงงาน       2. สภาพการทํางานและ
4. สิ่งแวดล้อม
                                 การคุ้มครองทางสังคม
5. การปฏิบติที่เป็นธรรม
          ั                   3. สังคมเสวนา
6. ประเด็นด้านผู้บริโภค       4. สุขภาพและความปลอดภัยในการ
7. การมีส่วนร่วมของชุมชน         ทํางาน
   และการพัฒนาชุมชน
                              5. การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรม
                                 ในสถานที่ปฏิบัติงาน
                                                          35/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ
1. ธรรมาภิบาล                       1. การป้องกันมลพิษ
2. สิทธิมนุษยชน                     2. การใช้ทรัพยากรอย่างยังยืน
                                                            ่
3. การปฏิบติด้านแรงงาน
          ั                         3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศ
                                                               ิ
                                       การลดผลกระทบ และการปรับตัว
4. สิ่งแวดล้อม
                                    4. การปกป้องสิงแวดล้อม ความ
                                                   ่
5. การปฏิบติที่เป็นธรรม
          ั
                                       หลากหลายทางชีวภาพ และ
6. ประเด็นด้านผู้บริโภค                การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการ
   พัฒนาชุมชน



                                                                   36/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (5)
1.   ธรรมาภิบาล                   1. การต่อต้านการทุจริต
2.   สิทธิมนุษยชน                 2. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่าง
3.   การปฏิบติด้านแรงงาน
              ั
                                     รับผิดชอบ
4.   สิ่งแวดล้อม
                                  3. การแข่งขันอย่างเป็นธรรม
5. การปฏิบัติที่เป็นธรรม          4. การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
6. ประเด็นด้านผู้บริโภค              ในห่วงโซ่แห่งคุณค่า
7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการ
                                  5. การเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สิน
   พัฒนาชุมชน




                                                                     37/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ
1.   ธรรมาภิบาล                            1. การตลาดที่เป็นธรรม สารสนเทศที่เป็นจริง
2.   สิทธิมนุษยชน                             และไม่เบียงเบน และการปฏิบัตตามข้อตกลง
                                                        ่                     ิ
3.   การปฏิบติด้านแรงงาน
              ั                               ที่เป็นธรรม
4.   สิ่งแวดล้อม                           2. การคุ้มครองสุขภาพ และความปลอดภัยของ
5.   การปฏิบติที่เป็นธรรม
                ั                             ผูบริโภค
                                                ้
6.ประเด็นด้านผู้บริโภค                     3. การบริโภคอย่างยั่งยืน
7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน   4. การบริการ การสนับสนุน และการยุติ
                                              ข้อร้องเรียนและข้อโต้แย้งแก่ผบริโภค
                                                                           ู้
                                           5. การปกป้องข้อมูล และความเป็นส่วนตัว
                                              ของผู้บริโภค
                                           6. การเข้าถึงบริการที่จําเป็น
                                           7. การให้ความรู้ และการสร้างความตระหนัก
                                                                                  38/53
หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ
1.   ธรรมาภิบาล                 1. การมีสวนร่วมของชุมชน
                                         ่
2.   สิทธิมนุษยชน               2. การศึกษาและวัฒนธรรม
3.   การปฏิบัติด้านแรงงาน       3. การสร้างการจ้างงานและ
4.   สิ่งแวดล้อม                   การพัฒนาทักษะ
5.   การปฏิบัติที่เป็นธรรม      4. การพัฒนาและเข้าถึงเทคโนโลยี
6.   ประเด็นด้านผู้บริโภค       5. การสร้างความมังคังและรายได้
                                                  ่ ่
                                6. สุขภาพ
7. การมีส่วนร่วมของชุมชน        7. การลงทุนด้านสังคม
   และการพัฒนาชุมชน


                                                                 39/53
ข้อควรตระหนัก
• 7 หัวข้อหลัก ครอบคลุมผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
  สิ่งแวดล้อม และสังคม
• ในแต่ละหัวข้อหลักจะมีประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนํามา
  ประกอบการพิจารณา
• องค์กรทุกแห่งต้องเกี่ยวข้องกับ 7 หัวข้อหลักทั้งหมด
  โดยอาจไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆ ทีมทกประเด็น
                                        ่ ี ุ
• ให้แนวทางในการดําเนินการ และ/หรือ ความคาดหวัง
  สําหรับแต่ละประเด็น
                                                         40/53
การบูรณาการ SR ทั่วทั้งองค์กร


                                41/53
แนวทางการบูรณาการ SR
• ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรกับ SR
• การทําความเข้าใจ SR ขององค์กร
• แนวปฏิบัติในการบูรณาการ SR ทั่วทั้งองค์กร
• การสื่อสารเกี่ยวกับ SR
• การเพิ่มความน่าเชื่อถือด้าน SR
• การทบทวนและการปรับปรุงกิจกรรมด้าน SR
• ข้อเสนอสําหรับ SR โดยความสมัครใจ
                                                  42/53
การบูรณาการ SR ตลอดทั่วทั้งองค์กร




                              43/53
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรกับ SR
• วิเคราะห์คุณลักษณะสําคัญขององค์กรต่อ SR เพื่อระบุ
   – หัวข้อหลักและประเด็นต่าง ๆ
   – ผู้มีส่วนได้เสีย
• พิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น
   –   สถานที่ตั้ง
   –   ประเภท วัตถุประสงค์ ลักษณะของธุรกิจ และขนาด
   –   การดําเนินการทางด้านแรงงานและลูกจ้าง
   –   กลุ่มของธุรกิจที่สังกัด
   –   ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอก
   –   กระบวนการตัดสินใจ
   –   Supply chain และ Sphere of influence
• ผูบริหารระดับสูงมีความสําคัญอย่างมาก
    ้
                                                             44/53
การทําความเข้าใจ SR ขององค์กร
• การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ (Due diligence)
• พิจารณาความสัมพันธ์และนัยสําคัญของหัวข้อหลักและประเด็น
  ต่างๆ ที่มีต่อองค์กร
   – การพิจารณาความสัมพันธ์
   – การพิจารณานัยสําคัญ
• ขอบเขตอิทธิพลขององค์กร (Sphere of influence)
   – การประเมินขอบเขตอิทธิพล
   – การใช้อิทธิพล
• การกําหนดลําดับความสําคัญของหัวข้อหลัก และประเด็นต่างๆ
                                                           45/53
แนวปฏิบัตในการบูรณาการ SR ทั่วทั้งองค์กร
                ิ
• การเพิ่มความตระหนักและการสร้างความสามารถด้าน SR
• การกําหนดทิศทางขององค์กรต่อ SR
• การสร้าง SR ไปสู่ธรรมภิบาล ระบบ และขั้นตอนการ
  ดําเนินงาน (System and Procedures)




                                                  46/53
การสื่อสารเกี่ยวกับ SR
• บทบาทของการสื่อสาร
• คุณลักษณะของสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
• ประเภทของการสื่อสารเกี่ยวกับ SR
• การสานเสวนากับผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับการสื่อสาร
  ด้าน SR

                                                      47/53
การเพิ่มความน่าเชื่อถือโดยการใช้ SR
• วิธีการเพิ่มความน่าเชื่อถือ
• การเพิ่มความน่าเชื่อของรายงานและการกล่าวอ้าง
• การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง หรือข้อพิพาท
  ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้เสีย



                                                 48/53
การทบทวนและปรับปรุงกิจกรรมด้าน SR
• การเฝ้าติดตามกิจกรรมขององค์กรด้าน SR
• การทบทวนความคืบหน้าและผลการดําเนินงาน
  ด้าน SR ขององค์กร
• การเพิ่มความน่าเชื่อถือของการรวบรวม และ
  การบริหารข้อมูลและสารสนเทศ
• การปรับปรุงผลการดําเนินงาน

                                            49/53
ข้อเสนอสําหรับ SR โดยความสมัครใจ
• หลายๆ หน่วยงานจัดทําข้อเสนอโดยสมัครใจต่างๆ
  เกี่ยวกับ SR
• ลักษณะของการเข้าร่วมโดยสมัครใจ
• ข้อพิจารณา
• หมายเหตุ เกี่ยวกับข้อเสนอและเครื่องมือต่างๆ



                                                50/53
ประโยชน์ของ SR
• ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความรอบคอบ โดยมีความเข้าใจเพิ่มขึนต่อ
                                                               ้
   – ความคาดหวังของสังคม
   – โอกาสต่าง ๆ ที่เกียวข้องกับ SR
                       ่
   – ความเสี่ยงต่าง ๆ หากไม่มี SR
• ปรับปรุง
   – แนวปฏิบัตในการบริหารความเสียง
                ิ                   ่
   – การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้มส่วนได้ส่วนเสีย
                                              ี
• ช่วยสร้างเสริม
   – ชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรต่อสาธารณะชน
   – ความจงรักภักดี ขวัญ และ กําลังใจของลูกจ้าง
• ก่อให้เกิดนวัตกรรม
                                                                      51/53
ประโยชน์ของ SR (ต่อ)
• ป้องกันและลดความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึนกับผู้บริโภคเกี่ยวกับสินค้าและ
                                       ้
  การบริการ
• การประหยัด อันเป็นผลมาจาก
    –   การเพิ่มผลผลิต และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
    –   ลดการใช้พลังงาน และการใช้น้ํา
    –   การลดลงของของเสีย (waste)
    –   การใช้ประโยชน์จากสินค้าพลอยได้ (by-products)
    –   การมีวัตถุดิบที่เพียงพอต่อการใช้งาน
• ช่วยสนับสนุน
   – การคงอยู่ขององค์กรในระยะยาวโดยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและรักษา
      สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน
   – การมีสนค้าสาธารณะ และทําให้สังคมและส่วนประกอบอื่น ๆ มีความเข้มแข็ง
             ิ
                                                                          52/53
ถาม – ตอบ


            53/53

Más contenido relacionado

Similar a A3970d01

Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environmentKan Yuenyong
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Sarinee Achavanuntakul
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียPaphadaPaknaka
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 

Similar a A3970d01 (20)

Social Return on Investment
Social Return on InvestmentSocial Return on Investment
Social Return on Investment
 
โคร
โครโคร
โคร
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
CSR and Labor
CSR and LaborCSR and Labor
CSR and Labor
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 

A3970d01

  • 1. มอก./ISO 26000 แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม (Guidance on social responsibility) 1/53
  • 2. ความเป็นมาและความสําคัญ • เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม • กฎหมาย กฎ และระเบียบต่างๆ • โลกาภิวัฒน์ (Globalization) • ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) • ชื่อเสียง และ ภาพลักษณ์ • การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable development) 2/53
  • 4. แนวปฏิบัติและมาตรฐานด้าน SR • แนวปฏิบติขององค์กรต่างๆ ั • แนวปฏิบติจากองค์กรสากล เช่น ั • หน่วยงานมาตรฐานของประเทศต่างๆ 4/53
  • 5. SR and SD ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ไปพร้อมกัน อย่างสมดุล 5/53
  • 7. การกําหนดมาตรฐาน มอก./ISO 26000 อุตสาหกรรม ISO/TMB/WGSR (Industry) ผู้บริโภค (Consumer) กว.1004 หน่วยงานทีไม่ใช่ภาครัฐ ่ แรงงาน (NGOs) (Labor) ที่เหลือ ได้แก่ การบริการ หน่วยงาน สนับสนุน งานวิจย และ อื่นๆ ั รัฐ หรือราชการ SSRO: Service, support, research (Governments) and others) 7/53
  • 8. การประกาศมาตรฐาน มอก./ISO 26000 ISO/TMB/WGSR กว.1004 พิจารณา และเห็นชอบร่าง ประกาศวันที่ 1 พ.ย.53 กมอ. เห็นชอบ รวอ. ลงนามวันที่ 30 ก.ย.53 รอประกาศราชกิจจา 8/53
  • 9. มอก./ISO 26000 • จุดมุ่งหมายและเจตนารมณ์ • แนวทางและข้อแนะนําให้เกิดพฤติกรรม SR • ใช้ได้กบทุกประเภท/ขนาด ั • ไม่ใช่มาตรฐานระบบการบริหารงาน • ไม่มีส่วนไหนที่เป็นข้อกําหนด • ไม่สามารถใช้เพื่อการรับรองได้ • ไม่เหมาะสมในการนําไปรับรอง หรือประกาศบังคับ หรือทําข้อตกลง 9/53
  • 10. โครงสร้างของ มอก./ISO 26000 บทนํา 1. ขอบข่าย 2. คําศัพท์ และคํานิยาม 3. ความเข้าใจต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) 4. หลักการของ SR (Principles) 5. การยอมรับถึงความสําคัญของ SR และ การสานสัมพันธ์กับ ผู้มีส่วนได้เสีย 6. แนวทางเกี่ยวกับหัวข้อหลักต่างๆ ด้าน SR (Core subjects) 7. แนวทางการบูรณาการ SR ทัวทั้งองค์กร ่ 10/53
  • 12. ความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) ความรับผิดชอบขององค์กรต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจและ การดําเนินการต่างๆ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ทําอย่างโปร่งใสและ การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม เพื่อ – ส่งเสริมต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งรวมถึงสุขภาพและความอยู่ดีมีสุข ของสังคม – ให้ความสําคัญต่อความคาดหวังของผู้มสวนได้เสีย ี่ – ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับการปฏิบัติตาม แนวทางของสากล – ให้เกิดการบูรณาการทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งนําไปใช้กับองค์กรอื่นๆ ที่มี ความสัมพันธ์ หมายเหตุ 1 การดําเนินการต่างๆ จะรวมถึงผลิตภัณฑ์ การบริการ และกระบวนการต่างๆ หมายเหตุ 2 ความสัมพันธ์ ให้หมายรวมถึงการดําเนินการต่างๆ ขององค์กรภายใต้ขอบเขตอิทธิพล 12/53
  • 13. ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ลูกคา อื่นๆ อีกมากมาย ผูบริโภค สื่อ คนงาน ราชการ องคกร สหภาพ ผูสงมอบ ชุมชน ผูบริจาค NGO ผูรวมลงทุน 13/53
  • 14. ห่วงโซ่อุปทาน และ ห่วงโซ่แห่งคุณค่า สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ ผู้มีส่วนได้ส่วน ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย สังคม และเศรษฐกิจ ห่วงโซ่แห่งคุณค่า ผู้มีส่วนได้เสีย ห่วงโซ่อุทาน ลูกค้า ผู้ส่งมอบย่อย ผู้ส่งมอบ องค์กร ขายส่ง ผูบริโภค ้ ผู้ส่งมอบ รับจัดการ วัตถุดิบ ของเลิกใช้ 14/53
  • 15. ขอบเขตอิทธิพล (Sphere of influence) ขอบเขต หรื อ บริ เ วณของความสั ม พั น ธ์ ท างด้ า นการเมื อ ง การผู ก พั น ด้ ว ยสั ญ ญา เศรษฐกิ จ หรื อ ความสั ม พั น ธ์ อื่ น ๆ ซึ่ ง อ ง ค์ ก ร มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ หรือการดําเนินการต่างๆ ของบุคคล หรือองค์กรอื่นๆ หมายเหตุ 1 ความสามารถในการมีอิทธิพล ไม่ได้หมายรวมถึงความรับผิดชอบ ต่อการใช้อิทธิพล หมายเหตุ 2 เมื่อปรากฏคํานี้ในมาตรฐานที่ใด ขอให้มีความเข้าใจจุดมุ่งหมาย ของความหมายของคํานี้ตามบริบทของแนวทางในหัวข้อที่ 5.2.3 และ 7.3.2 15/53
  • 16. หลักการ 7 ประการ (7 Principles) 1. ความรับผิดชอบ (Accountability) 2. ความโปร่งใส (Transparency) 3. การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม (Ethical behaviour) 4. การเคารพต่อผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย (Respect for stakeholder interests) 5. การเคารพต่อหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) 6. การเคารพต่อการปฎิบติตามแนวทางของสากล ั (Respect for international norms of behaviour) 7. การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights) 16/53
  • 17. 1 ความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบสําหรับผลกระทบจากองค์กร ที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม • ภาระหน้าที่ในการถูกตรวจสอบและยอมรับผลการตัดสิน • ตอบคําถามในสิ่งที่ทําหรือที่ตัดสินใจ • แก้ไขข้อผิดพลาดและไม่เกิดซ้ํา 17/53
  • 18. 2 ความโปร่งใส มีความโปร่งใสในการตัดสินใจและการดําเนินการ ที่มีผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม • เปิดเผยเกี่ยวกับนโยบาย การตัดสินใจ ผลกระทบต่างๆ อย่างชัดเจน ถูกต้อง และครบถ้วน • สารสนเทศที่สามารถเข้าถึงและเข้าใจได้ง่าย • สารสนเทศมีความทันสมัย ถูกต้อง และนําเสนอได้ชัดเจน • เปิดเผยตามขอบเขตของกฎหมายที่กําหนด 18/53
  • 19. 3 การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม ปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม • ค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ ความเท่าเทียม และ ความยุติธรรม รวมถึงข้อกังวลสําหรับคน สัตว์ และ สิ่งแวดล้อม และผูมส่วนได้เสีย ้ ี • มาตรฐานการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม • ผลประโยชน์ทับซ้อน 19/53
  • 20. 4 เคารพต่อผลประโยชน์ของผูมีสวนได้เสีย ้ ่ เคารพ พิจารณา และตอบสนองต่อผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร • กลไกการชี้บงผูมีส่วนได้เสียและผลประโยชน์ ่ ้ • ตอบสนองต่อผลประโยชน์ทั้งหมด • การสร้างความสัมพันธ์ การสานสัมพันธ์ และการมีอทธิพล ิ 20/53
  • 21. 5 เคารพต่อหลักนิติธรรม ยอมรับว่าการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม เป็นสิ่งที่บังคับให้ต้องทํา • ปฏิบติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ั • ติดตาม และตรวจสอบว่ามีการดําเนินการตามทีกาหนดไว้ ่ํ 21/53
  • 22. 6 การเคารพต่อการปฏิบัตตามแนวทางของสากล ิ เคารพต่อการปฏิบัติตามแนวทางของสากลในขณะที่ ยังคง ยึดมั่นกับหลักการของการเคารพต่อหลักนิติธรรม • กรณีไม่มกฎหมายกําหนดไว้ ี • ผูมีความเกี่ยวข้องปฏิบติตามกฎหมายด้วย ้ ั • หลีกเลี่ยงการมีส่วนร่วมในการกระทําผิด (complicity) 22/53
  • 23. 7 เคารพต่อสิทธิมนุษยชน เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และให้การยอมรับถึง ความสําคัญและความเป็นสากลของสิทธิมนุษยชน • นโยบายการดําเนินงานสอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่า ด้วยสิทธิมนุษยชน • แนวทางปฏิบติของสากล ั 23/53
  • 26. แนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับ SR • ยอมรับถึงความสําคัญของ SR – ผลกระทบ ผลประโยชน์ และความคาดหวังต่างๆ องค์กร กับ สังคม องค์กร กับ ผูมีส่วนได้เสีย ้ ผู้มีส่วนได้เสีย กับ สังคม – ให้ความสําคัญกับหัวข้อหลักและประเด็นต่างๆ – SR กับขอบเขตอิทธิพล • การชี้บ่ง และการสานสัมพันธ์กบผู้มีส่วนได้เสีย ั 26/53
  • 27. การสานสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย • การสานเสวนา • รูปแบบของการสานสัมพันธ์ – การประชุม (เป็นและไม่เป็นทางการ) เช่น การพบปะเป็นรายบุคคล การสัมมนา การทํากิจกรรมกลุ่ม การรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ การแลกเปลี่ยนความเห็นแบบโต๊ะกลม คณะกรรมการที่ปรึกษา สารสนเทศที่มีการจัดทําไว้ในรูปแบบที่ชัดเจน ขั้นตอนการดําเนินงานเพื่อ การขอคําปรึกษา การเจรจาที่มีผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย การพูดคุยผ่านกลุ่ม สมาชิกในเว็บ – การสื่อสารแบบสองทาง (2-ways communication) • รู้ถึงความคาดหวัง และนําไปสู่การดําเนินการต่อประเด็นต่างๆ ที่มีนยสําคัญ ั 27/53
  • 28. ประเด็นต่างๆ ของ SR สิทธิมนุษยชน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การบริจาค สังคมและชุมชน สภาพแวดล้อมในการทํางาน ความหลากหลายทางชีวภาพ ห่วงโซ่อุปทาน การเปลี่ยนแปลงสภาพ การออกแบบสินค้า ภูมิอากาศ ความปลอดภัยของสินค้า ความหลากหลาย จริยธรรมทางธุรกิจ ธรรมาภิบาล การสรรหา การตลาดและผู้บริโภค การปล่อยของเสีย ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย โกง แหกตา การจัดการของเสีย สิทธิด้านแรงงาน อื่นๆ อีกมากมาย... 28/53
  • 30. 7 หัวข้อหลัก (7 Core subjects) 1. ธรรมาภิบาล (Organizational governance) 2. สิทธิมนุษยชน (Human right) 3. การปฏิบัติด้านแรงงาน (Labour practices) 4. สิ่งแวดล้อม (The environment) 5. การปฏิบัติที่เป็นธรรม (Fair operating practices) 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค (Consumer issues) 7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน (Community involvement and development) 30/53
  • 31. 31/53
  • 32. แนวทางเกี่ยวกับหัวข้อหลักต่างๆ ของ SR • หัวข้อหลักและประเด็นต่างๆ • ในแต่ละหัวข้อหลัก – ขอบข่าย – ความสัมพันธ์กับ SR – หลักการและข้อพิจารณาต่างๆ – การดําเนินการและความคาดหวังต่างๆ 32/53
  • 33. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ 1. ธรรมาภิบาล กระบวนการและโครงสร้าง 2. สิทธิมนุษยชน ในการตัดสินใจ 3. การปฏิบติด้านแรงงาน ั – ความรับผิดชอบ 4. สิ่งแวดล้อม – ความโปร่งใส 5. การปฏิบติที่เป็นธรรม ั – จริยธรรม 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค 7. การมีส่วนร่วมของชุมชน – ความสําคัญของผู้มีส่วนได้เสีย และการพัฒนาชุมชน – เคารพต่อหลักนิติธรรม 33/53
  • 34. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ 1. ธรรมาภิบาล 1. การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ 2. สถานการณ์ความเสี่ยงของสิทธิมนุษยชน 2. สิทธิมนุษยชน 3. การหลีกเลี่ยงการร่วมกระทําความผิด 3. การปฏิบติด้านแรงงาน ั 4. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 4. สิ่งแวดล้อม 5. การเลือกปฏิบัติและกลุมผู้ด้อยโอกาส ่ 5. การปฏิบติที่เป็นธรรม ั 6. สิทธิการเป็นพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค 7. สิทธิทางด้านเศรษฐกิจ 7. การมีส่วนร่วมของชุมชน สังคม และวัฒนธรรม และการพัฒนาชุมชน 8. หลักการพื้นฐานและ สิทธิในการทํางาน 34/53
  • 35. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ 1. ธรรมาภิบาล 1. การจ้างงานและความสัมพันธ์การ 2. สิทธิมนุษยชน จ้างงาน 3. การปฏิบัติด้านแรงงาน 2. สภาพการทํางานและ 4. สิ่งแวดล้อม การคุ้มครองทางสังคม 5. การปฏิบติที่เป็นธรรม ั 3. สังคมเสวนา 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค 4. สุขภาพและความปลอดภัยในการ 7. การมีส่วนร่วมของชุมชน ทํางาน และการพัฒนาชุมชน 5. การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรม ในสถานที่ปฏิบัติงาน 35/53
  • 36. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ 1. ธรรมาภิบาล 1. การป้องกันมลพิษ 2. สิทธิมนุษยชน 2. การใช้ทรัพยากรอย่างยังยืน ่ 3. การปฏิบติด้านแรงงาน ั 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศ ิ การลดผลกระทบ และการปรับตัว 4. สิ่งแวดล้อม 4. การปกป้องสิงแวดล้อม ความ ่ 5. การปฏิบติที่เป็นธรรม ั หลากหลายทางชีวภาพ และ 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการ พัฒนาชุมชน 36/53
  • 37. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (5) 1. ธรรมาภิบาล 1. การต่อต้านการทุจริต 2. สิทธิมนุษยชน 2. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่าง 3. การปฏิบติด้านแรงงาน ั รับผิดชอบ 4. สิ่งแวดล้อม 3. การแข่งขันอย่างเป็นธรรม 5. การปฏิบัติที่เป็นธรรม 4. การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค ในห่วงโซ่แห่งคุณค่า 7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการ 5. การเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สิน พัฒนาชุมชน 37/53
  • 38. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ 1. ธรรมาภิบาล 1. การตลาดที่เป็นธรรม สารสนเทศที่เป็นจริง 2. สิทธิมนุษยชน และไม่เบียงเบน และการปฏิบัตตามข้อตกลง ่ ิ 3. การปฏิบติด้านแรงงาน ั ที่เป็นธรรม 4. สิ่งแวดล้อม 2. การคุ้มครองสุขภาพ และความปลอดภัยของ 5. การปฏิบติที่เป็นธรรม ั ผูบริโภค ้ 6.ประเด็นด้านผู้บริโภค 3. การบริโภคอย่างยั่งยืน 7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน 4. การบริการ การสนับสนุน และการยุติ ข้อร้องเรียนและข้อโต้แย้งแก่ผบริโภค ู้ 5. การปกป้องข้อมูล และความเป็นส่วนตัว ของผู้บริโภค 6. การเข้าถึงบริการที่จําเป็น 7. การให้ความรู้ และการสร้างความตระหนัก 38/53
  • 39. หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ 1. ธรรมาภิบาล 1. การมีสวนร่วมของชุมชน ่ 2. สิทธิมนุษยชน 2. การศึกษาและวัฒนธรรม 3. การปฏิบัติด้านแรงงาน 3. การสร้างการจ้างงานและ 4. สิ่งแวดล้อม การพัฒนาทักษะ 5. การปฏิบัติที่เป็นธรรม 4. การพัฒนาและเข้าถึงเทคโนโลยี 6. ประเด็นด้านผู้บริโภค 5. การสร้างความมังคังและรายได้ ่ ่ 6. สุขภาพ 7. การมีส่วนร่วมของชุมชน 7. การลงทุนด้านสังคม และการพัฒนาชุมชน 39/53
  • 40. ข้อควรตระหนัก • 7 หัวข้อหลัก ครอบคลุมผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม • ในแต่ละหัวข้อหลักจะมีประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนํามา ประกอบการพิจารณา • องค์กรทุกแห่งต้องเกี่ยวข้องกับ 7 หัวข้อหลักทั้งหมด โดยอาจไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆ ทีมทกประเด็น ่ ี ุ • ให้แนวทางในการดําเนินการ และ/หรือ ความคาดหวัง สําหรับแต่ละประเด็น 40/53
  • 42. แนวทางการบูรณาการ SR • ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรกับ SR • การทําความเข้าใจ SR ขององค์กร • แนวปฏิบัติในการบูรณาการ SR ทั่วทั้งองค์กร • การสื่อสารเกี่ยวกับ SR • การเพิ่มความน่าเชื่อถือด้าน SR • การทบทวนและการปรับปรุงกิจกรรมด้าน SR • ข้อเสนอสําหรับ SR โดยความสมัครใจ 42/53
  • 44. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรกับ SR • วิเคราะห์คุณลักษณะสําคัญขององค์กรต่อ SR เพื่อระบุ – หัวข้อหลักและประเด็นต่าง ๆ – ผู้มีส่วนได้เสีย • พิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น – สถานที่ตั้ง – ประเภท วัตถุประสงค์ ลักษณะของธุรกิจ และขนาด – การดําเนินการทางด้านแรงงานและลูกจ้าง – กลุ่มของธุรกิจที่สังกัด – ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอก – กระบวนการตัดสินใจ – Supply chain และ Sphere of influence • ผูบริหารระดับสูงมีความสําคัญอย่างมาก ้ 44/53
  • 45. การทําความเข้าใจ SR ขององค์กร • การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ (Due diligence) • พิจารณาความสัมพันธ์และนัยสําคัญของหัวข้อหลักและประเด็น ต่างๆ ที่มีต่อองค์กร – การพิจารณาความสัมพันธ์ – การพิจารณานัยสําคัญ • ขอบเขตอิทธิพลขององค์กร (Sphere of influence) – การประเมินขอบเขตอิทธิพล – การใช้อิทธิพล • การกําหนดลําดับความสําคัญของหัวข้อหลัก และประเด็นต่างๆ 45/53
  • 46. แนวปฏิบัตในการบูรณาการ SR ทั่วทั้งองค์กร ิ • การเพิ่มความตระหนักและการสร้างความสามารถด้าน SR • การกําหนดทิศทางขององค์กรต่อ SR • การสร้าง SR ไปสู่ธรรมภิบาล ระบบ และขั้นตอนการ ดําเนินงาน (System and Procedures) 46/53
  • 47. การสื่อสารเกี่ยวกับ SR • บทบาทของการสื่อสาร • คุณลักษณะของสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง • ประเภทของการสื่อสารเกี่ยวกับ SR • การสานเสวนากับผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับการสื่อสาร ด้าน SR 47/53
  • 48. การเพิ่มความน่าเชื่อถือโดยการใช้ SR • วิธีการเพิ่มความน่าเชื่อถือ • การเพิ่มความน่าเชื่อของรายงานและการกล่าวอ้าง • การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง หรือข้อพิพาท ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้เสีย 48/53
  • 49. การทบทวนและปรับปรุงกิจกรรมด้าน SR • การเฝ้าติดตามกิจกรรมขององค์กรด้าน SR • การทบทวนความคืบหน้าและผลการดําเนินงาน ด้าน SR ขององค์กร • การเพิ่มความน่าเชื่อถือของการรวบรวม และ การบริหารข้อมูลและสารสนเทศ • การปรับปรุงผลการดําเนินงาน 49/53
  • 50. ข้อเสนอสําหรับ SR โดยความสมัครใจ • หลายๆ หน่วยงานจัดทําข้อเสนอโดยสมัครใจต่างๆ เกี่ยวกับ SR • ลักษณะของการเข้าร่วมโดยสมัครใจ • ข้อพิจารณา • หมายเหตุ เกี่ยวกับข้อเสนอและเครื่องมือต่างๆ 50/53
  • 51. ประโยชน์ของ SR • ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความรอบคอบ โดยมีความเข้าใจเพิ่มขึนต่อ ้ – ความคาดหวังของสังคม – โอกาสต่าง ๆ ที่เกียวข้องกับ SR ่ – ความเสี่ยงต่าง ๆ หากไม่มี SR • ปรับปรุง – แนวปฏิบัตในการบริหารความเสียง ิ ่ – การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้มส่วนได้ส่วนเสีย ี • ช่วยสร้างเสริม – ชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรต่อสาธารณะชน – ความจงรักภักดี ขวัญ และ กําลังใจของลูกจ้าง • ก่อให้เกิดนวัตกรรม 51/53
  • 52. ประโยชน์ของ SR (ต่อ) • ป้องกันและลดความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึนกับผู้บริโภคเกี่ยวกับสินค้าและ ้ การบริการ • การประหยัด อันเป็นผลมาจาก – การเพิ่มผลผลิต และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ – ลดการใช้พลังงาน และการใช้น้ํา – การลดลงของของเสีย (waste) – การใช้ประโยชน์จากสินค้าพลอยได้ (by-products) – การมีวัตถุดิบที่เพียงพอต่อการใช้งาน • ช่วยสนับสนุน – การคงอยู่ขององค์กรในระยะยาวโดยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและรักษา สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน – การมีสนค้าสาธารณะ และทําให้สังคมและส่วนประกอบอื่น ๆ มีความเข้มแข็ง ิ 52/53