SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 60
ชี้แจงการขับเคลื่อนนโยบาย
ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ
ประชุมขับเคลื่อนนโยบาย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ
(Single Command)
โดย เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พลเอก ประสาท สุขเกษตร
คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
เลขานุการกรรมการประธาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
(ชัยนาท ลพบุรี นครสวรรค์ พิจิตร)
เกษตรจังหวัด
(สิงห์บุรี อ่างทอง)
ปศุสัตว์จังหวัด
สหกรณ์จังหวัด
(อุทัยธานี กาแพงเพชร)
ประมงจังหวัด
หัวหน้าส่วนราชการ
ในสังกัด กษ.
ทั้งราชการส่วนภูมิภาค
และส่วนกลางที่มี
สานักงานตั้งอยู่ในจังหวัด
เจ้าหน้าที่สานักงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
ที่ได้รับมอบหมาย
องค์ประกอบ
www.themegallery.com
คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)อานาจหน้าที่
1. กากับดูแล &ประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการ กษ. และหน่วยงานอื่น
รวมทั้งภาคเอกชน /ภาคประชาชน ให้ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบายของ กษ.
ให้เป็นเอกภาพ
2. บูรณาการการบริหารจัดการแผนงาน โครงการ งบประมาณและทรัพยากร
ของส่วนราชการ กษ.ให้มีประสิทธิภาพ & ประสิทธิผลสูงสุด
3. ให้ประธานกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของ กษ. แบบเบ็ดเสร็จ มีหน้าที่ดังนี้
3.1 เป็นผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด
3.2 เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาความดีความชอบให้แก่
หัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กษ.
4. ให้หัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กษ. ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติราชการ
กับคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของ กษ.แบบเบ็ดเสร็จ
5. รายงานผลการปฏิบัติให้ปลัด กษ.ทราบ
6. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
www.themegallery.com
เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
หัวหน้าศูนย์รับเรื่อง
ร้องทุกข์ด้าน
เกษตร/
แก้ไขปัญหา
ประสานงานการ
ผลิตสินค้าเกษตร
โฆษก กษ/
หัวหน้าศูนย์ข้อมูล
การเกษตรและ
สหกรณ์
ผู้ช่วย ผตร
ดาเนินการ/
ประสานงาน
กับคณะ Single
Command
คาสั่ง กษ 18/59
มอบอานาจหน้าที่
ภัยพิบัติ ราคาสินค้า
หนี้ สินเกษตรกร
มีมาตรฐาน
ผู้บริโภคปลอดภัย
เชื่อมโยงข้อมูล
ภาพรวมจังหวัดกับกระทรวง
ผลสัมฤทธิ์งานตรวจราชการ/
งานที่ ผตร.มอบหมาย
ขับเคลื่อนนโยบาย
ให้มีประสิทธิภาพ
ภาพรวมของนโยบาย รมว. กษ. 6 เรื่อง
เป้ าหมายสุดท้าย
แนวคิดในการขับเคลื่อน
การขับเคลื่อน
ปี 2560
ขยายแปลง
เกิดแปลงใหม่
อยู่รอด (พ้นจากความอดอยาก ไม่ต้องกู้มีอาหารกินตลอดปี พ้นความเจ็บไข้
แต่ยังมีหนี้สินเดิมอยู่)
พอเพียง (ใช้หนี้หมด รายได้สม่าเสมอ มีสาธารณูปโภค มีการศึกษา
ชีวิตพอสบายขึ้น)
ยั่งยืน (มีเงินออม พัฒนาตนเองได้ ยืนบนลาแข้ง มีภูมิคุ้มกัน เป็นเจ้าของกิจการได้)
พื้นที่ S1, S2 อากาศ, น้า, คน ฯลฯ เหมาะสม พื้นที่ S3, N อากาศอากาศ, น้า, คน ฯลฯ ไม่เหมาะสม
ลดต้นทุน
เกษตรอินทรีย์
Zoning
ธนาคารสินค้าเกษตร
ศูนย์เรียนรู้
แปลงใหญ่
เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้น
อยู่รอด ปี 59– 60
พอเพียง ปี 61 – 62
ยั่งยืน ปี 63 เป็นไป
รายได้เพิ่มขึ้น
ลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขัน
มาตรการ
ศูนย์เรียนรู้หลัก ศูนย์เรียนรู้เครือข่าย แปลงสาธิต
ปี 2560
เกิดการรวมกลุ่ม
เป็นแปลงใหญ่
1. ลดปัจจัยการผลิต 2. เพิ่มผลผลิตต่อไร่
- ปุ๋ ย, สารเคมี, การใช้ชีวภัณฑ์, ศัตรูธรรมชาติ - ใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
- พันธุ์พืช / พันธุ์สัตว์ / อาหารสัตว์ - ปรับปรุงบารุงดิน
- ค่าเช่าที่ดิน / - ค่าไฟฟ้า/พลังงานทางเลือก - ใช้ปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ
- ค่าแรง/ค่าบริการเครื่องจักรกล - พันธุ์พืช/สัตว์ที่เหมาะสม
- แหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่า - เกษตรผสมผสาน
3. การบริหารจัดการ (ใช้ปรัชญา ศก.พอเพียง) 4. การตลาด (ตามที่ต้องการ/มีคุณภาพ)
วางแผน อานวยการ การดาเนินการ และการกากับดูแล - มีแผนการตลาด
- การตลาด (Demand/Supply)
- การใช้ที่ดิน/ น้า (เกษตรทฤษฏีใหม่) - เกษตรปลอดสารพิษ
-การเพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์ - เกษตร GAP
-การใช้เครื่องจักรกล การเก็บเกี่ยว การแปรรูป - เกษตรอินทรีย์
- จัดทาบัญชีแปลง/ครัวเรือน /ธนาคารสินค้าเกษตร
แปลงใหญ่ต้นแบบ (ปี 2559)
เกษตรหลัก: เกษตรเสริม
ศูนย์เรียนรู้ตัวอย่าง
(เปลี่ยนสินค้าเกษตร)(ปี 2559)
เกษตรหลัก: เกษตรเสริม:
1. ลดปัจจัยการผลิต
2. เพิ่มผลผลิตต่อไร่
3. การบริหารจัดการ
4. การตลาด
ความสัมพันธ์ระหว่างงานนโยบาย 6 เรื่อง
ศูนย์เรียนรู้
(เกษตรกรต้นแบบ)
1. การบริการ
- ข้อมูลข่าวสาร
- ตรวจวิเคราะห์ดิน
- ฝึกอบรม
- ปรึกษา/แนะนา
- แปลงสาธิต
2. ขยายเครือข่าย
3. จัดตั้งศูนย์เพิ่มเติม
แปลงใหญ่
(ต้นแบบ, อื่นๆ)
1. เจ้าหน้าที่
- ผู้จัดการทีม
- ทีมลดต้นทุน
- ทีมบริหารจัดการ
- ทีมการตลาด
- ทีมเพิ่มผลผลิต
- ที่มแปรรูป
- ทีม Zoning
2. พัฒนาเกษตรกร
3. ดาเนินการใน
แปลง
Zoning
1. วิเคราะห์
ดิน, น้า อากาศ,
ตลาด ได้พื้นที่
S1, S2,S3, N
2. พื้นที่ S1,S2
ดาเนินการ
- ลดต้นทุน
- เกษตรอินทรีย์
- เกษตรGAP
- เกษตรปลอดภัย
3. พื้นที่S3, N
- จัดตั้งศูนย์เรียนรู้
ตัวอย่าง
- จัดตั้งแปลง
ตัวอย่าง
เกษตรอินทรีย์
1. เตรียมความพร้อม (เกษตรกร, ข้อมูล, ฐานข้อมูล
เกษตรอินทรีย์)
2. พัฒนาการผลิตสู่การรับรองมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์
3. จัดทามาตรฐานสินค้า, ตรวจรับรอง
4. พัฒนาต่อยอดการผลิต การแปรรูปสู่การตลาด
ลดต้นทุนและ
เพิ่มโอกาสในการแข่งขัน
1. ลดปัจจัยการผลิต
2. เพิ่มผลผลิตต่อไร่
3. การบริหารจัดการ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เกษตรทฤษฎีใหม่)
4. การตลาด
ธนาคารสินค้าเกษตร
(เมื่อมีความพร้อม/มีความต้องการของสมาชิก)
1. ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์
2. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน
3. ธนาคารโคกระบือ
4. ธนาคารโคนมทดแทน
5. ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร
ปลูกอะไร/
เลี้ยงอะไร
สินค้าเกษตรหลัก
สินค้าเกษตรเสริม
ความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์เรียนรู้ – แปลงใหญ่ - Zoning
ศูนย์ฯหลัก
แปลงต้นแบบ
ศูนย์ฯ เครือข่าย
แปลงขยาย
แปลงใหม่
พื้นที่ S1,S2 พื้นที่ S3,N
แปลงต้นแบบ (พื้นที่ S1, S2)
- พัฒนาทีมผู้จัดการ
- พัฒนาเกษตรกร
- พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในแปลง
- ดาเนินการตามมาตรการต่างๆ ในแปลง
ศูนย์เรียนรู้หลัก (พื้นที่ S1, S2)
- บูรณาการทางานของ กษ.
- การบริการ (ข้อมูล/วิชาการ/
วิเคราะห์ดิน/ฯลฯ)
- หลักสูตรฝึกอบรม/วิทยากร
ศูนย์เรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน
(พื้นที่ S3,N)
- บูรณาการทางานของ กษ.
- บริการ (ข้อมูล/วิชาการ/วิเคราะห์ดินฯลฯ)
- หลักสูตรฝึกอบรม/วิทยากร
- ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้
- แปลงสาธิตเพื่อการปรับเปลี่ยน
ศูนย์ฯเพื่อการ
ปรับเปลี่ยน
แปลงสาธิตเพื่อการ
ปรับเปลี่ยน
เกิดแปลงใหม่
* ลดต้นทุน
* เพิ่มผลผลิต
* สร้างโอกาสการแข่งขัน
* จัดการเรื่องตลาด
ศพก.
ศูนย์เครือข่าย
(องค์ความรู้) * Zoning * การวางแผนการผลิต
* เทคโนโลยีการผลิต * เทคนิคลดต้นทุน/เพิ่มผลผลิต
* การตลาดและแนวโน้มของตลาด * การทาบัญชี
* GAP * เกษตรอินทรีย์* แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
* เกษตรผสมผสาน * เกษตรทฤษฏีใหม่
ศูนย์เรียนรู้
แปลงใหญ่ (พืชหลัก)
ศูนย์เครือข่าย
ศูนย์เครือข่าย
ชุมชน
ปลูกพืชหลักที่เหมาะกับดิน ตลาด
ต้นทุนการผลิตต่า ผลผลิตสูง
ทาเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐาน
ทาการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ทาเกษตรผสมผสาน (เพิ่มเติม/ทดแทนพืชหลัก)
การขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มาตรการพัฒนา
ศพก.
(S3, N)
มีตลาด/
ราคาดี
ไม่มีตลาด/ราคาต่า
ปรับเปลี่ยน
พืชที่เหมาะสม
กับพื้นที่/ตลาด
ศูนย์
เครือข่าย
มาตรการ
Zoning
มาตรการ
ลดต้นทุนฯ
ผลิต
ต่อเนื่อง มาตรการ
ธนาคารสินค้าเกษตร
มาตรการ
แปลงใหญ่
มาตรการ
Zoning
มาตรการลดต้นทุน
มาตรการเกษตร
อินทรีย์
มาตรการ
เกษตรอินทรีย์
ผลลัพธ์
ผลลัพธ์
(S1, S2) ทากิจกรรม
ร่วมกันรวมกลุ่ม
การส่งเสริมการผลิต
ไม้ผลรูปแบบแปลงใหญ่
(มะม่วง)
จังหวัดพิษณุโลก
ตัวอย่างการส่งเสริมแปลงใหญ่ จ.พิษณุโลก (มะม่วง)
ข้อมูลศักยภาพการเกษตร
จังหวัดพิษณุโลก
ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง มะม่วง
ความเหมาะสม S1 = 2,209,887 ไร่
S2 = 13,199 ไร่
N = 4,346,014 ไร่
S1 = 1,052,799 ไร่
S2 = 439,540 ไร่
N = 5,076.761 ไร่
S1 = 1,204,719ไร่
S2 = 336,549ไร่
N = 5,027,831ไร่
S1 = 1,344,286 ไร่
S2 = 350,664 ไร่
N = 4,874,150 ไร่
ผลผลิตรวม (ตัน/ปี) 798,392 182,192 529,120 8,918
ตลาด โรงสี 46 โรง
กาลังการผลิต
568,912 ตัน/ปี
จุดรับซื้อผลผลิต ใน
พื้นที่ 52 จุด รองรับ
ผลผลิต 50,000ถึง
80,000 ตัน/ปี
โรงแป้ ง 5 โรง
โรงทาเส้นอาหาร 2 โรง
ลานมัน 20 แห่ง
กาลังการผลผลิต
1 ล้านตัน/ปี
โรงคัดแยก18 โรง
กาลังการผลิต
5,000 ตัน/ปี
ข้าว 1,371,808 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 273,458 ไร่
มันสาปะหลัง 170,491 ไร่
มะม่วง 81,178 ไร่
พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ
ที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดพิษณุโลก
ต.ท่าช้าง
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางเสน่ห์ เรืองดี
ต.จอมทอง อ.เมือง
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นายเกษม โตมา
ต.นิคมพัฒนา
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางพชรกมล เหลืองทอง
ต.บางกระทุ่ม
การปลูกกล้วยน้าว้าพันธุ์มะลิอ่อง
น.ส.ศิลาพร สิงหลักษณ์
ต.ไทรย้อย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว
นายจันที ชมภูมี
ต.ท่างาม
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางจรูญ ราชบรรจง
ต.ชัยนาม
การพัฒนาคุณภาพมะม่วงเพื่อการส่งออก
นายเสาร์ ปรีชาวนา
ต.หนองกระท้าว
การผลิตสับปะรดคุณภาพตรงตามความต้องการของโรงงาน
นายสมชาติ พิมพ์หอม
ต.สวนเมี่ยง
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง
นางวิลาวัลย์ จันทะวงษ์ จานวน 9 ศูนย์ฯ
พื้นที่ทาการเกษตรอาเภอวังทอง
พื้นที่ปลูกมะม่วง 26,484 ไร่
พื้นที่ปลูกข้าว 219,520 ไร่
พื้นที่ปลูกมันสาปะหลัง 55,165 ไร่
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
พื้นที่
สินค้าคน
- อุณหภูมิ เฉลี่ย สูงสุด 38.1 c ต่าสุด 16.7 c
- ปริมาณน้าฝน เฉลี่ย ปี 2557 = 1282.2 มม./ปี
จานวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยต่อปี 157 วัน
-ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การปลูกมะม่วง (ชุดดินที่38)
- มะม่วงน้าดอกไม้สี
ทองมีการปลูกมากใน
พื้นที่และเริ่มนิยมทา
นอกฤดู
- มีตลาดรองรับใน
พื้นที่และมีโอกาสทาง
การค้าสูงเพราะ
ต่างประเทศยังต้องการ
ในปริมาณมาก
- ชุมชน/ผู้นาชุมชน มีความ
เข้มแข็งและสามัคคี มีการ
รวมกลุ่มกันทาการเกษตร
- เกษตรกรมีประสบการณ์
ในด้านการผลิตมะม่วง
- เกษตรกรพร้อมรับการ
ส่งเสริมและพัฒนาใน
แนวทางที่เป็นไปได้
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตสินค้าเกษตร
มะม่วงแปลงใหญ่
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
รายการ บาท/ต้น บาท/ไร่ หมายเหตุ
- ค่าแรงงานตัดแต่งกิ่ง
- ค่าปุ๋ ยทางดิน
- ค่าปุ๋ ยทางใบ
- ค่าสารเคมี
- ค่าสารแพคโคลบิวทราโซล
- ค่าถุงห่อผล 100 ผล/ต้น
- ค่าแรงงานอื่นๆ
15
70
10
120
10
120
20
750
3,500
500
6,000
500
6,000
1,000
รวมต้นทุน 365 18,250
- ผลผลิต
- ราคาจาหน่าย 700 กิโลกรัมๆ ละ 50 บาท
400 กิโลกรัมๆ ละ 30 บาท
400 กิโลกรัมๆ ละ 20 บาท
รวมรายได้
กาไร (55,000-18,250)
30 กก./ต้น 1,500 กก./ไร่
35,000
12,000
8,000
55,000 บาท/ไร่
31,750 บาท/ไร่
ถ้าเกษตรกร ปลูกมะม่วง
20 ไร่ จะมี
- รายได้ 1,100,000 บาท
- ต้นทุน 365,000 บาท
- กาไร 735,000 บาท
ต้นทุนการผลิต (50 ต้น/1 ไร่)
ศักยภาพการผลิตมะม่วง ในเขตพื้นที่เป้ าหมายส่งเสริม
มะม่วงแปลงใหญ่ ตาบลชัยนาม อาเภอวังทอง
ที่ หมู่
เกษตรกร
(ราย)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิตเฉลี่ย
(ตัน/ไร่)
ผลผลิตรวม
(ตัน/ปี)
โรงคัดแยก
(แห่ง)
1 หมู่ที่ 4 36 700 1.4 980 1
2 หมู่ที่ 6 36 300 1.4 420 1
3 หมู่ที่ 9 68 1,350 1.5 2,025 2
รวม 140 2,350 - 3,425 4
เป้ าหมาย
แปลงใหญ่
900 ไร่
การส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง)
ตาบล ชัยนาม อาเภอวังทอง
ระดับความเหมาะสม
S1
+ S2 = 4,403 ไร่
N = 17,236 ไร่
รวม = 21,639 ไร่
เป้ าหมายการส่งเสริม
เกษตรกร 79 ราย
พื้นที่ 900 ไร่
พิกัดแปลงมะม่วงรายเกษตรกร
หมู่ 4
26 ราย
160 ไร่
หมู่ 9
47 ราย
645 ไร่
หมู่ 6
6 ราย
117 ไร่
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนากระบวนการผลิต
ให้สอดคล้องกับตลาด
2. บริหารจัดการใช้ปัจจัย
การผลิตร่วมกัน
3. พัฒนาคุณภาพผลผลิต
ให้ได้มาตรฐาน GAP
4. เชื่อมโยงตลาดและ
สร้างเครือข่าย
เป้ าหมาย
1. มีพื้นที่ผลิตมะม่วงส่งออก
ได้มาตรฐาน GAP
จานวน 900 ไร่
เกษตร จานวน 79 ราย
2. มีผลผลิตมะม่วงส่งออก
ตามมาตรฐาน
1,300 ตัน / ปี
3. ต้นทุนการผลิตลดลง
ร้อยละ 10
4. ได้รับการยอมรับจาก
คู่ค้าต่างประเทศ
(ด้านคุณภาพ)
5. เพิ่มปริมาณส่งออก
ผลผลิตจาก 700ตัน/ปี
เป็น 800ตัน/ปี
เทคโนโลยี
1. ปรับปรุงบารุงดิน
2. ใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
3. เทคนิคการเตรียมต้น
4. เทคนิคราดสารและดึงดอก
5. จัดการศัตรูพืชถูกต้อง
6. ใช้สารเคมีเหมาะสม
7. จัดการหลังการเก็บเกี่ยว
เหมาะสม
8. สุ่มตรวจสารพิษตกค้าง
ในผลผลิตก่อนเก็บเกี่ยว
9. เชื่อมโยงตลาดซื้ อขาย
ผลผลิตมะม่วงนอกฤดู
แบบมีพันธะสัญญา
10.สร้างเครือข่าย ซื้ อ-ขาย
ผลผลิตมะม่วง
แนวทางการดาเนินงาน
ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
(พื้นที่เป้ าหมาย 900 ไร่)
- ปรับปรุงบารุงดิน -เทคนิคการเตรียมต้น
- เทคนิคการดึงดอก-เทคนิคการให้ปุ๋ ยทางใบ
- การจัดการศัตรูพืช-การเก็บเกี่ยวถูกต้อง
- การคัดแยกผลผลิต-จัดซื้ อปัจจัยร่วมกัน
การแปรรูปและคัดแยก
เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต
เชื่อมโยงเครือข่าย
การผลิตและการตลาด
- เพิ่มผลผลิตมะม่วงเกรด A
จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่
- เพิ่มพื้นที่ปลูกมะม่วงนอกฤดู
ตามมาตรฐาน GAP
จาก 35 เป็น 79 ราย
พัฒนาคัดแยกเกรดผลผลิต
มะม่วง จานวน 3 เกรด
- เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิต
- เพื่อลดการสูญเสียและปนเปื้ อน
ของโรคก่อนการส่งออก
- เกิดเครือข่ายผู้ผลิต
มะม่วงนอกฤดูส่งออก
- เชื่อมโยงการตลาด
บริษัทสวิฟท์ จากัด
บริษัทซีพี ไดธ์มอน จากัด
มะม่วงเกรด A จานวน 200 ตัน
มะม่วงเกรด B จานวน 500 ตัน
รวมมูลค่า 25 ล้านบาท
ผลการดาเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง)
อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558
กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา
รับสมัคร /
จัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน /
จับพิกัดแปลง
เกษตรกร 79 ราย
พื้นที่ 900 ไร่
ม.ค. 2558
ถึง
มี.ค. 2558
พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม
คุณภาพและลดต้นทุน
-เกรด A จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่
ผลผลิตส่งออก จาก 700 เป็น 800 ตัน/ปี
-รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล
จานวน 10,000 ใบ
มี.ค. 2558
ถึง
ธ.ค. 2558
เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดย
รับรองมาตรฐาน GAP
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ทั้งหมด
ม.ค. 2558
ถึง
ก.พ. 2559
เชื่อมโยงการการตลาด
ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ
บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 58/59
จานวน 200 ตัน
ธ.ค. 2558
ถึง
ก.พ. 2559
แผนปฏิบัติงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง)
อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2559
กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา
พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม
คุณภาพและลดต้นทุน
-เกรด A จาก 800 เป็น 900 กก./ไร่
ผลผลิตส่งออก จาก 800 เป็น 850 ตัน/ปี
-รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล
จานวน 20,000 ใบ
มี.ค. 2559
ถึง
ธ.ค. 2559
เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดยการ
รับรองมาตรฐาน
Gap แบบกลุ่ม
Gap อาเซียน
ม.ค. 2559
ถึง
ก.พ. 2560
เชื่อมโยงการการตลาด
ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ
บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 59/60
จานวน 250 ตัน
ธ.ค. 2558
ถึง
ก.พ. 2559
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
วิเคราะห์แผนที่ความเหมาะสมการใช้พื้นที่ดินรายอาเภอ
วิเคราะห์ตลาดของสินค้า ตามข้อ 1 และชนิดสินค้าในพื้นที่จริง
วิเคราะห์ ศพก. และศูนย์เรียนรู้ของ กษ. ในอาเภอ
วิเคราะห์ดินในแปลงต้นแบบของ ศพก. (ศูนย์เรียนรู้หลัก)
Single Command บูรณาการหน่วยงานและจัดทา Action Plan
และปฏิบัติการในพื้นที่ ศพก.
ขยายผลองค์ความรู้สู่เกษตรกรผ่านหลักสูตร (ถอดบทเรียนจาก ข้อ 5)
รวมกลุ่มการผลิต
1
2
3
4
5
6
7
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

วิเคราะห์แผนที่
ความเหมาะสมการใช้
พื้นที่ดินรายอาเภอ/
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
1.มีข้อมูลสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ/ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับ
การผลิตระดับอาเภอ
2.รู้ชนิดสินค้าที่เหมาะสมต่อสภาพ
พื้ นที่การผลิต/สภาพปัจจัยต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับการผลิตในพื้ นที่ระดับ
อาเภอ
หน่วยงานที่รับผิดชอบวิเคราะห์ข้อมูล
เกษตรจังหวัด /ประมงจังหวัด ปศุสัตว์
จังหวัด/พัฒนาที่ดินจังหวัด
หน่วยงานสนับสนุน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งใน/นอกกระทรวง
เกษตรกรที่ประสบความสาเร็จ/Smart Farmer
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
พัฒนาที่ดินจังหวัด
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
1. ใช้แผนที่ของ พด. เป็นรายอาเภอมาวิเคราะห์ศักยภาพดินและความเหมาะสมของดินในการทาการเกษตร
(พืช ประมง ปศุสัตว์) เพื่อให้ได้ชนิดสินค้าที่เหมาะสมด้านการผลิตของอาเภอ พัฒนาที่ดินจังหวัดดาเนินการ บริหาร
จัดการพื้นที่การผลิตให้เหมาะสม
2. นาข้อมูลที่ได้จากข้อ 1. มาวิเคราะห์ปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น น้า อากาศ สภาพแวดล้อม สถานการณ์ตลาด
เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลศักยภาพการผลิตสินค้าของอาเภอ ชนิดสินค้าที่มีศักยภาพการผลิตของอาเภอ หน่วยงานวิชาการ
ด้านพืช ประมง และปศุสัตว์ ชลประทาน และพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานดาเนินการ
3. ภาครัฐประชุมร่วมกับเกษตรกร เพื่อร่วมกันคิดร่วมกันทาเพื่อให้ได้สินค้าชนิดหลักของอาเภอ โดยมีเกษตรอาเภอเป็น
เจ้าภาพหลัก
แนวทางการขับเคลื่อน
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

วิเคราะห์ตลาดของสินค้า
ตามข้อ 1
และชนิดสินค้าในพื้นที่จริง
2.1 สินค้าหลักมีตลาดรองรับ
Demand = Supply Marketing
2.2 ได้ชนิดสินค้าหลักที่จะส่งเสริม
องค์ความรู้ ใน ศพก. เพื่อสร้าง
ศักยภาพในการแข่งขัน
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก : กสส.
หน่วยงานสนับสนุน
- สศก. พาณิชย์จังหวัด
- Smart Farmer/เกษตรกรที่ประสบ
ความสาเร็จในการทาการตลาด
- หอการค้า/สภาอุตสาหกรรมจังหวัด
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
• สหกรณ์จังหวัดร่วมกับพาณิชย์จังหวัด สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต หอการค้า และภาคอุตสาหกรรมจังหวัดและแกน
นาเกษตรกรต้องนาสินค้าของแต่ละอาเภอมาวางแผนการตลาด เพื่อวิเคราะห์Demand และSupply ของสินค้าในแต่ละ
อาเภอ (จัดทาข้อมูลสมดุลสินค้า) เพื่อจะได้บริหารจัดการสินค้าเกษตรทั้งด้านปริมาณและราคาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่า ** ผลิตได้ตรงกับความต้องการของตลาด
• พาณิชย์จังหวัดเจรจาการต่อรองการขายสินค้าให้กับเกษตรกร (รู้ข้อมูลความต้องการของตลาด)เพื่อให้เกษตรกรมีความ
มั่นใจ และเกิดแรงจูงใจในการผลิตสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
• ได้ชนิดสินค้าหลัก (1,2,3,4) ที่จะให้หน่วยงานวิชาการวางแผนการส่งเสริมองค์ความรู้ที่เหมาะสมใน ศพก. เพื่อสร้าง
ศักยภาพและโอกาสในการแข่งขันให้แก่เกษตรกร
(รู้ว่าจะผลิตอะไร อะไรสร้างรายได้ดี) (มีตลาดรองรับ)
แนวทางการขับเคลื่อน
รู้สินค้า รู้การตลาด
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

วิเคราะห์ ศพก.
และ
ศูนย์เรียนรู้ของกษ.ใน
อาเภอ
-ได้ศูนย์เรียนรู้หลัก (ศพก.)
-ได้ศูนย์เรียนรู้สาขาที่สอดคล้องกับ
การรองรับข้อมูลในข้อ 2
(กรณีที่ ศพก. วางรูปแบบในการ
ส่งเสริมได้ครบถ้วนตามชนิดสินค้าแล้ว
ให้พัฒนาต่อยอด ศพก.ให้เข้มแข็ง
กรณีที่มีสินค้าไม่ครบต้องตั้งเพิ่มเติม
ศูนย์อื่นในพื้นที่เพื่อรองรับการผลิต
สินค้าตาม 2.1)
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
เกษตรจังหวัด /ประมงจังหวัด / ปศุสัตว์
จังหวัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- Smart Farmer
- ผู้นาเกษตรกร/ผู้นาชุมชน
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
เมื่อแต่ละอาเภอได้สินค้าหลักและรองแล้ว ให้พิจารณาว่าอาเภอนั้นมีศูนย์เรียนรู้ที่ไหน อะไรบ้าง แล้วนาข้อมูลจากมา
วางแผนว่าควรจะมีศูนย์เรียนรู้หลักอยู่ใน area ใด และจะจัดตั้งศูนย์เรียนรู้สาขาเพิ่มเติมแหล่งไหนที่จะเป็นที่เรียนรู้ของ
เกษตรกรตามหลักวิชาการแบบ Learning by doing ที่ครบถ้วนตามชนิดสินค้า/หลักวิชาการ
**** กรณีที่ 1หาก ศพก.เดิมได้วางรูปแบบในการส่งเสริมได้ครบถ้วนตามชนิดสินค้าแล้ว ให้พัฒนา ศพก.นั้น ให้
เข้มแข็ง โดย กษ เข้าไปสนับสนุน เช่น ชป.ดูแลเรื่องน้า พด.ขุดบ่อน้า และอาจจะจัดทา MODEL การผลิตสินค้าให้
เกษตรกรได้ศึกษา เพื่อให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ
*** กรณีที่ 2 หาก ศพก.ไม่มีองค์ความรู้ครบถ้วนใน ศพก.หลัก ให้จัดตั้งศพก.เครือข่าย เพื่อให้มีองค์ความรู้รองกับการผลิต
สินค้าเกษตรตามชนิดสินค้าที่ได้กาหนดไว้
แนวทางการขับเคลื่อน
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่
ในแปลงต้นแบบของ ศพก.
(ศูนย์เรียนรู้หลัก)
เพื่อวางแผนการผลิตสินค้า
4.1 พื้นที่ S1 และ S2 ใช้มาตรการลดต้นทุน
การผลิต,เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
4.2 วางแผนการผลิต(ตัดสินใจแบบมีส่วน
ร่วม ให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลางของการร่วม
คิดร่วมพัฒนา
- เชิงเดี่ยว เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์
4.3 พื้นที่ S3 และ N ปรับเปลี่ยนเป็นผลิต
สินค้าอื่นๆ โดยการสร้างความร่วมมือกับ
เกษตรกร
- หาแปลง/สร้างแปลง ต้นแบบให้เกษตรกร
ดูเป็นตัวอย่าง
หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก
เกษตรจังหวัด /ประมงจังหวัด /
ปศุสัตว์จังหวัด
หน่วยงานสนับสนุน
- Smart Farmer
- ผู้นาเกษตรกร/ผู้นาชุมชน
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
ในพื้นที่ S1 S2 ของแต่ละอาเภอ การผลิตสินค้าเกษตรเพื่อเพิ่มศักยภาพและโอกาสในการแข่งขันให้ใช้มาตรการลดต้นทุน
การผลิต (หน่วยงานทางวิชาการต้องร่วมกันวิเคราะห์กับเกษตรกรเพื่อวางแผนหารูปแบบ/แนวทางการลดต้นทุนการผลิตที่
เหมาะสมกับชนิดสินค้า) การบริหารจัดการพื้นที่เพื่อประโยชน์สูงสุด และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
วางรูปแบบ/แผนการผลิต จะให้เป็นการผลิตแบบเชิงเดี่ยวหรือเกษตรผสมผสาน หน่วยงานวิชาการ /เกษตรอาเภอจะต้อง
ร่วมคิดร่วมพัฒนากับเกษตรกร เพื่อให้ได้รูปแบบการผลิตที่เหมาะสมตั้งแต่กระบวนการผลิต (ห่วงโซ่อุปทาน) การเก็บเกี่ยวการ
ผลิต การบริหารจัดการผลผลิต จนถึงการจัดจาหน่าย
ส่วนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม S3 และ N ที่จะต้องปรับเปลี่ยนเป็นสินค้าอื่นๆ หน่วยงานในพื้นที่ต้องสร้างการรับรู้ว่า ปลูกพืชใด
ดี มีตลาดรองรับ สร้างแรงจูงใจการปรับเปลี่ยน เช่น สนับสนุนพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ สร้างแบบการปรับเปลี่ยนการผลิตให้
เกษตรกรได้ศึกษาเป็นตัวอย่าง (แปลงตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนอาชีพเดิม)
แนวทางการขับเคลื่อน
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

Single Command
บูรณาหน่วยงาน
และจัดทา Action Plan
เพื่อปฏิบัติการในพื้นที่
ศพก.
(ตามที่ กษ. ชี้ แจง)
5.1 รูปแบบการผลิตสินค้าเกษตร
-รูปแบบการผลิตสินค้าเชิงเดี่ยว/เกษตรผสมผสาน/
เกษตรอินทรีย์/เกษตรทฤษฎีใหม่ ผลิตตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ได้รูปแบบการผลิตที่
เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการของเกษตรกรโดย
ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 สินค้ามีคุณภาพ ต้นทุนการผลิตต่า ทาให้รายได้
เกษตรกรเพิ่มขึ้น คุณภาพชีวิตดีขึ้น
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
สานักงานเกษตรอาเภอ /
ประมงจังหวัด / ปศุสัตว์
จังหวัด
หน่วยงานสนับสนุน
- หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/
เกษตรกร
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
•เมื่อรู้รูปแบบการผลิต (การทาเกษตรเชิงเดี่ยว/เกษตรผสมผสาน/เกษตรอินทรีย์/เกษตรทฤษฎีใหม่) เกษตรจังหวัด/ประมง
จังหวัด/ปศุสัตว์จังหวัด จะต้องจัดทา ACTION PLAN ในการขับเคลื่อนงาน เพื่อวางแผนการผลิตให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต โดย
การนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้
•ประชุมคณะทางานฯระดับจังหวัด เพื่อบูรณาการทั้งในและนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้ ACTION PLAN สามารถ
ขับเคลื่อนงานได้ตามที่กาหนด เช่น พาณิชย์จังหวัดเรื่องการลดค่าปุ๋ ย/สารเคมี มหาดไทย เรื่องค่าเช่าที่นา, ธ.ก.ส. เรื่องการ
ลดดอกเบี้ย ฯลฯ
•กากับติดตามการทางาน อาจจะนาระบบการบริหารงานแบบ PLAN – DO – CHECK - ACT มาใช้ พร้อมทั้งมีการแก้ไขปัญหา
ที่เกิดขึ้นจากการทางาน
แนวทางการขับเคลื่อน
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

ขยายผลองค์ความรู้
สู่เกษตรกรผ่านหลักสูตร
(ถอดบทเรียนจากข้อ 5)
เกษตรกรในอาเภอได้รับความรู้และ
ผลิตสินค้าที่เหมาะสม สอดคล้องกับ
สภาพพื้นที่
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
เกษตรอาเภอ /ประมงจังหวัด /
ปศุสัตว์จังหวัด
หน่วยงานสนับสนุน
- หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/เกษตรกร
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
บูรณาการประชุมร่วมกัน เพื่อระดมความคิดเห็นวางหลักสูตรให้เหมาะสมในการอบรมเกษตรกรตามชนิดสินค้าหลักและ
รองในอาเภอ สังเคราะห์/วิเคราะห์องค์ความรู้อื่นที่เกษตรกรจาเป็นต้องรู้ เช่น บัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพ
ทา Action plan ร่วมกันในอบรมเชิงบูรณาการอย่างครบวงจร
ก่อนการทาเกษตร เพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์ ขณะทาการเกษตร ดูแล บริหารจัดการหลังเก็บเกี่ยว การตลาด
เป้ าหมายให้เกษตรกร รู้ และเข้าใจ
แนวทางการขับเคลื่อน
หลักสูตร
ที่ทาขึ้น
เกษตรกร
มีองค์ความรู้
- เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการผลิต
- คิดอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ

รวมกลุ่มการผลิต
7.1 แปลงเดิม
(ใช้มาตรการแปลงใหญ่)
7.2 แปลงใหม่
(ตามคู่มือแปลงใหญ่ของ กษ.
เกษตรกรรวมกลุ่มกันผลิต
โดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน
เกิด Economy of scale
ผลผลิตที่มีคุณภาพ/ได้มาตรฐาน
หน่วยงานในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการทางานของ Single Command
แปลงเดิม สหกรณ์จังหวัดวางรูปแบบในการรวมกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
ใช้ขั้นตอนแผนปฏิบัติการแปลงใหญ่
แปลงใหม่ขับเคลื่อนตามแนวทางในคู่มือ กษ
แนวทางการขับเคลื่อน
- ลดต้นทุน
- เพิ่มผลผลิต
- การตลาด
- การบริหารจัดการ
ตามแผนปฏิบัติการ
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
Smart Farmer
รู้
ชนิดสินค้า
รู้
ต้นทุน
รู้
สภาพพื้นที่



รู้
มีศพก.หลัก/
สาขา

รู้
รูปแบบผลิต
ที่เหมาะสม

รู้
ตลาด

รู้
รายได้

7 รู้
4 คิด
เกษตรกร
คิดวิเคราะห์
คิดวางแผน คิดปรับเปลี่ยน
คิดขยายผล
ส่วนกลาง
คิดวิเคราะห์รายได้ให้แก่เกษตรกร เปรียบเทียบกับรายได้จริง
สถานการณ์จาลอง
ตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด +
สศก.เขต
คาดการณ์ วิเคราะห์ต้นทุน/ไร่
จากมาตรการของรัฐ
- ค่าเช่าที่ดิน 400 บาท
- ค่าน้ามัน 800 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์ ข้าวปทุม 750 บาท
- ค่าไถ 300 บาท
- ค่าปุ๋ ยเคมี 700 บาท
- ค่าเก็บเกี่ยว 500
- ค่าแรง 800 บาท
รวม 4,250 บาท
คาดการณ์วิเคราะห์การขาย
(ผลผลิต x ราคา)
439 กก./ไร่ x 15 บาท/กก.
รวม 6,585 บาท/ไร่
คาดการณ์วิเคราะห์
รายได้ที่คาดว่าเกษตรกร
จะได้รับ
รวม 2,335 บาท/ไร่
สถานการณ์จริง
สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์
จังหวัด+ สศก.เขต
เก็บข้อมูลจริงการขาย
(ผลผลิต x ราคา)
รายได้ที่เกษตรกร
ได้รับจริง
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์+ สศก. >> ดาเนินการในพื้นที่ แปลงใหญ่
เก็บข้อมูลต้นทุนแท้จริง
ที่เกิดขึ้น
กระบวนการดาเนินงานการลดต้นทุนและการเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตรปี 2559
มาตรการที่ 1 ลดค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิต
1.1) ค่าปุ๋ ยเคมี 1.2) ค่าสารเคมี 1.3 ) ค่าพันธุ์ 1.4)ค่าอาหารสัตว์น้า/ อาหารสัตว์
1.5) ค่าแรงงาน/เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Motor pool) 1.6) ค่าเช่าที่ดิน
1.7) ค่าไฟฟ้ า 1.8) ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก 1.9 แหล่งทุนดอกเบี้ยต่า
มาตรการที่ 2 เพิ่มผลผลิตต่อไร่
2.1) พัฒนาดินและปรับปรุงบารุงดิน พัฒนาแหล่งน้า/บ่อน้า/ระบบ
บริหารจัดการน้า
2.2) ใช้ปุ๋ ยอินทร์ชีวภาพ
2.3) จัดหาพันธุ์ดีที่เหมาะสม
2.4) ส่งเสริมการปลูก/เลี้ยงสัตว์/บารุงรักษา/เก็บเกี่ยวที่เหมาะสม
เพื่อเข้าสู่มาตรฐานสินค้าเกษตร
มาตรการที่ 3 เพิ่มช่องทางการตลาด
นค้าเกษตร
3.3) ชี้แจง/สร้างความเข้าใจข้อมูลด้าน3.1) ให้ความรู้ด้าน
การตลาด/จัดทา story สินค้าโดดเด่นของจังหวัด
3.2) การวิเคราะห์อุปสงค์/อุปทาน สิการตลาด/จัดหาตลาดรองรับ
3.4) ส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์/Brand สินค้าโดด
เด่น
มาตรการที่ 4 เพิ่มการบริหารจัดการ
4.1) ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่ม ถ่ายทอดความรู้/เทคโนโลยี มุ่งสู่เกษตรแบบแปลงใหญ่
4.2) วางแผนการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
4.3) ส่งเสริมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ
4.4) ประชุมคณะกรรมการลดต้นทุน ฯ เพื่อติดตามความก้าวหน้า /รายงานผลต่อเนื่อง
เป้ าประสงค์
เกษตรกรทั่วไปมีต้นทุนการ
ผลิตลดลง ≥12%
ผลผลิตและมูลค่าต่อหน่วย
เพิ่มขึ้น ≥ 6%
ผลผลิตได้มาตรฐานมีตลาด
รองรับสินค้าเกษตรที่แน่นอน
มีรายได้เพิ่มขึ้นภายใน
2559
ราคาปัจจัยการผลิตลดลง
ตามมาตรการ
 ราคาปุ๋ ยลดลง 0.80-1.40 บาท/กก.
 ราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวลดลง 1 บาท/กก.
 ลดค่าบริการเก็บเกี่ยวนวดข้าว 50-
100 บาท/ไร่
 ลดค่าสารเคมีการเกษตร
5-10%
 ลดค่าเช่าที่นา 200 บาท/ไร่
1 ลด 3 เพิ่ม
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ที่มีศักยภาพ (S1 และ S2)
ปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 และ N)
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรตามความเหมาะสมของพื้นที่
ให้เกิดความสมดุลระหว่าง อุปสงค์และอุปทาน
ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
Zoning
การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม
เป้ าประสงค์
แนวการปฏิบัติ
มาตรการ
มาตรการเตรียมความพร้อมและประขาสัมพันธ์สร้างการรับรู้
มาตรการกาหนดแนวโน้มความต้องการสินค้าเกษตร
มาตรการกาหนดพื้นที่เหมาะสมกับการผลิตสินค้าเกษตร
มาตรการขับเคลื่อนและส่งเสริมในระดับพื้นที่
มาตรการติดตามประเมินผล
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
(ศพก.)
เป้ าประสงค์
เป้ าหมาย
 เพื่อพัฒนา ศพก. ให้มีความเข้มแข็ง
 เพื่อขยายการให้บริการของ ศพก.
 ดาเนินการในพื้นที่ อาเภอละ 1 ศูนย์
รวม 882 ศูนย์ 77 จังหวัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานในสังกัด กษ 15 หน่วยงาน
กสก / กวก /กข /พด /ชป /สศก /ปม /สปก
กสส / ปศ /กตส /สป กษ / กยท /กมม /สวก
กิจกรรมหลักในภาพรวม
 การพัฒนาศักยภาพ ศพก.
 การให้บริการของ ศพก.
 การติดตามประเมินผล
ปรับเปลี่ยนได้
ศูนย์ต้องทาคาแนะนาว่า
พื้นที่แถวนั้นจะปลูกอะไรได้บ้าง
3 – 4 ชนิด
ข้อสังเกต
อาจมีศูนย์สาขามาเติม
ใช้การตลาดมาพิจารณา
นาปราชญ์ชาวบ้านมา MiX
76 จังหวัด 268 จุด
แปลงต้นแบบ 76 แปลง
แปลงทั่วไป 192 แปลง
พื้นที่ดาเนินการ
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อย
มีความเข้มแข็ง สามารถบริหาร
จัดการการผลิตและการตลาด
ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เช่นเดียวกับฟาร์มขนาดใหญ่ และ
พัฒนาให้เป็น Smart Farmer
เพื่อพัฒนากระบวนการทางาน
ส่งเสริมการเกษตรแบบบูรณาการ
ของทุกภาคส่วนในพื้นที่ให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ ศักยภาพ
พื้นที่ และตอบสนองความต้องการ
ของเกษตรกร
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
www.themegallery.com
กิจกรรมดาเนินการ
ระยะเวลาดาเนินการ
ระยะสั้น
(พย.58 – กย.59)
พัฒนาแปลงต้นแบบ
76 แปลง
ระยะยาว
(ปี 2560 –
1 ตค.59 เป็นต้นไป)
พัฒนาแปลงทั่วไป
สร้างความเข้าใจร่วม - ประชุมชี้ แจง
พัฒนาทีมผู้จัดการแปลงใหญ่/สร้างผู้จัดการในอนาคต(เกษตรกร)
วางแผนการดาเนินงานแปลงใหญ่ วิเคราะห์/วางเป้ าหมายและ
แนวทางโดยเกษตรกรสมาชิกมีส่วนร่วมในการจัดทา
พัฒนาองค์กรเกษตรกร สนับสนุนการรวมกลุ่ม/พัฒนาสมาชิก
ให้เป็น Smart Farmer/เกษตรกรผู้นา (เตรียมเป็น ผจก.ในอนาคต)
ดาเนินการในแปลงใหญ่ พัฒนาการผลิตตามแนวทางการลด
ต้นทุนการผลิต
ขยายผล พัฒนาแปลงทั่วไปการประกวด 76 แปลง(ตค-ธค59)
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ข้อสังเกต
แบ่งกลุ่ม
- มีอยู่แล้ว สมบูรณ์ ให้หาวิธีต่อยอดอย่างไรให้สมบูรณ์ที่สุด
ไม่สมบูรณ์ ทาอย่างไรให้เป็นแปลงใหญ่สมบูรณ์
- สร้างให้เกิดแปลงใหญ่ ให้ตั้งเป้ าหมายว่าจะรวมแปลงใหญ่
ได้เท่าไร จะทาอย่างไรบ้างให้แปลงใหญ่มีศักยภาพ
เมื่อมีแปลงใหญ่แล้ว รัฐต้องส่งเสริมโครงการอะไร เช่น
รวมการทางานด้วยเครื่องมือเครื่องจักร รวมซื้ อ รวมขาย
สหกรณ์เข้าไปช่วย
ต้องมีการขึ้นทะเบียนควบคุม เช่น มีเครื่องจักรอะไร
ผลิตอะไร จานวนคนเท่าไร
แปลงใหญ่ขาดอะไร – รัฐควรเอาอะไรไปเติม /สนับสนุน
**บริหารงาน
ตามแนวประชารัฐ
การดาเนินงานระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2559 (ระดับแปลง)
คน
เกษตรกรสมัครใจและพร้อมพัฒนาการผลิต
รวมกันไม่น้อยกว่า 50
พื้นที่
1. กาหนดพื่นที่
2. วิเคราะห์สภาพพื้นที่
(กายภาพ,ชีวภาพ)
3. จัดทาข้อมูลรายแปลง,ข้อมูลพื้นฐานก่อน
ร่วมโครงการ
4. วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผล
กาหนดเป้ าหมายและจัดทาแผน
1. ลดต้นทุนการผลิต : เช่น ส่งเสริมการใช้ปุ๋ ยตาม
วิเคราะห์ดิน การทาปุ๋ ยอินทรีย์/ชีวภาพ/สารชีว
ใช้เอง เป็นต้น
2. เพิ่มผลผลิต : เช่น ส่งเสริมการใช้พันธุ์ดี การเขต
กรรมที่ถูกต้อง การผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐาน เป็นต้น
3. การบริหารจัดการ : เช่น ร่วมกันหาปัจจัยการ
ร่วมกันจัดการผลผลิต พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
4 . การตลาด : เช่น เชื่อมโยงการผลิตการตลาด
สารวจความต้องการของตลาด เพิ่มช่องทางการ
จาหน่าย เพิ่มอานาจการต่อรอง การเกษตรพันธ
สัญญา และจับคู่ธุรกิจ เป็นต้น
ดาเนินการตามแผนการโดย
พัฒนาแบบมีส่วนร่วม และ
บูรณาการกิจกรรมและ
งบประมาณของหน่วยงานภาคี
1.ถ่ายทอดความรู้ เช่น การผลิต
การบริหารจัดการการผลิต
การเงิน การตลาด บัญชี
ครัวเรือน เป็นต้น
2.สนับสนุนการรวมกลุ่ม
เกษตรกร
3.ประสานจัดหาแหล่งทุน
4.เชื่อมโยงการผลิตการตลาด
output
1.ลดต้นทุนการผลิต
2.เพิ่มผลผลิตที่มีคุภภาพ
3.มีช่องทางจาหน่าย
ผลผลิตและราคามี
เสถียรภาพ
4.เกษตรกรมีการผลิต
สินค้าในรูปแบบของกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน/สหกรภ์
หน้าที่ : บูรภาการร่วมกับทีมผู้จัดการแปลง วิเคราะห์เป้ าหมาย จัดทาแผนปฏิบัติการของแปลงใหญ่ สนับสนุนการดาเนินงานตามแผนฯ
ทีมการลดต้นทุนการผลิด : สานักงานเกษตรจังหวัดเป็นเจ้าภาพหลัก ร่วมกับ สนง.ประมงจังหวัด สนง.ปศุสัตว์จังหวัดสนง.สหกรภ์จังหวัด สถานีพัฒนาเกษตรที่ดินจังหวัดสนง.ปฏิรูปที่ดินจังหวัด โครงการชลประทาน
หน่วยงานสังกัด กวก. กข. 1ม. ที่รับผิดชอบจังหวัด
ทีมการบริหารจัดการ : สานักงานเกษตรและสหกรภ์จังหวัดเป็นเจ้าภาพหลัก ร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด สนง.สหกรภ์จังหวัด สนง.ตรวจบัญชีสหกรภ์จังหวัด และหน่วยงานภาคีการพัฒนาอื่นๆ รวมถึงสานักงาน
การเกษตรในพื้นที่ (12 สตท.)
ทีมการตลาด : สานักงานสหกรภ์จังหวัดเป็นเจ้าภาพหลัก ร่วมกับทีมเศรษฐกิจจังหวัดของภาคเอกชน (สภาหอการค้าจังหวัสภาอุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมธนาคารจังหวัด) สนง.พาภิชย์จังหวัด สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด
ทีมสนับสนุน(3ทีม)
Single
Command
ทีมผู้จัดการแปลง
สินค้า
มีศักยภาพที่จะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจและ
เหมาะสมกับพื้นที่
ธนาคารสินค้าเกษตร
ธนาคารสินค้าเกษตร
ธนาคารโคนมทดแทน
(กรมส่งสริมสหกรณ์)
- เพื่อให้สมาชิกลดภาระการเลื้ยงลูกโคในฟาร์ม
- สมาชิกมีแม่โคคุณภาพ ทดแทนโคนมปลด
ระวาง
- สมาชิกลดต้นทุนการผลิต มีรายได้เพิ่ม
ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์
(กรมพัฒนาที่ดิน)
-กระตุ้นให้เห็นประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้
-ร่วมกันผลิตและใช้อย่างต่อเนื่อง
เพื่อลดต้นทุน
ธนาคารโค – กระบือ
(กรมปศุสัตว์)
-เพื่อให้เกษตรได้มีโค – กระบือไว้ใช้
แรงงานเพิ่มผลผลิต เพิ่มรายได้
ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว
ชุมชน (กรมการข้าว)
-ชาวนาในชุมชนมีเมล็ดพันธุ์ข้าวดีใช้
เพียงพอ
-ชาวนามีเมล็ดพันธุ์ข้าวสรองใช้ในชุมชน
ธนาคารข้าวสถาบัน
เกษตรกร
(กรมส่งเสริมสหกรณ์)
- ฝากข้าวเปลือก / ถอนข้าวสาร
- ยืมปัจจัยการผลิต/ชาระคืนด้วยข้าวเปลือก
มาตรการ 1
เพิ่มขีดความสามารถ
ธนาคารสินค้าเกษตร (กลุ่มเดิม)
มาตรการ 2
ขยายผลการจัดตั้ง
ธนาคารสินค้าเกษตร
เพื่อชุมชนตามความพร้อม
(รายใหม่)
มาตรการ 3
จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร
ในสถาบันเกษตรกร
- ฝากข้าวเปลือก / ถอนข้าวสาร
- ยืมปัจจัยการผลิต/ชาระคืนด้วย
ข้าวเปลือก
โครงการ วัตถุประสงค์
กิจกรรมที่ดาเนินการปี 2559
ธนาคารโคนมทด
แทน
ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์
1. คัดเลือกสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ
2. สหกรณ์รับฝากเลี้ยงลูกโคเพศ
เมียจากสมาชิก แล้วให้ถอนคืน
เป็ น โคสาวท้องและพร้อมรีดนม
ธนาคารโค – กระบือ
ธนาคารเมล็ดพันธุ์
ข้าวชุมชน
67.51 ล้าน
บาท
ธนาคารข้าวสถาบัน
เกษตรกร
โครงการ วัตถุประสงค์ งบประมาณ
6.867 ล้าน
บาท
5.792 ล้าน
บาท
13.566 ล้าน
บาท
100,000 บาท
1. ติดตามการเลี้ยงโค – กระบือที่
เกษตรกรได้รับแล้ว 109,000
ตัว
2. ส่งเสริมเกษตรกรรายใหม่ให้มีโค
– กระบือใช้เพื่อการเกษตร
เพิ่มเติม 9,000 ตัว
3. ส่งเสริมการจัดการแบบรวมกลุ่ม
1. ส่งเสริมการดาเนินงานและเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน
2. ส่งเสริมการจัดตั้งเมล็ดพันธุ์ข้าว
เฉพาะถิ่น/ข้าวสี
1. สนับสนุนให้เกษตรกรนาวัสดุ
เหลือใช้มาผลิตเป็ นปุ๋ ยอินทรีย์
2. คัดเลือกธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์
ต้นแบบ
สหกรณ์ 3 แห่ง
1. เกษตรกรที่มีโค – กระบือเดิม
เพื่อใช้แรงงาน 109,000 ตัว
2. เกษตรกรรายใหม่ ได้รับโค –
กระบือจากการบริจาค9,000 ตัว
3. มีกลุ่มเกษตรกรตัวอย่างที่ประสบ
ความสาเร็จ
1. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน
70 แห่ง
2. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน
(ข้าวเฉพาะถิ่น/ข้าวสี) 3 แห่ง
1. ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ 87 แห่ง
2. ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ต้นแบบ 12
แห่ง
1. จัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบัน
เกษตรกร
2. สนับสนุนการดาเนินงานตาม
รูปแบบธนาคาร
ธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร
10 แห่ง
หน่วยงาน
รับผิดชอบ กรม
พัฒนาที่ดิน
หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมปศุสัตว์
หน่วยงานบูรณาการ
สานักงาน
พระพุทธศาสนา
แห่งชาติ
หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมการข้าว
หน่วยงานบูรณาการ
กรมส่งเสริม
การเกษตร
หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมส่งเสริมสหกรณ์
หน่วยงานบูรณาการ
กรมปศุสัตว์
หน่วยงานรับผิดชอบ
กรมส่งเสริมสหกรณ์
หน่วยงานบูรณาการ
กรมตรวจบัญชี
สหกรณ์
** กรมส่งเสริมสหกรณ์จะสนับสนุนงบประมาณเป็ นค่าใช้จ่ายให้จังหวัดละ 5,000 บาท
ข้อมูลศักยภาพการเกษตร
จังหวัดพิษณุโลก
ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง มะม่วง
ความเหมาะสม S1 = 2,209,887ไร่
S2 = 13,199 ไร่
N = 4,346,014 ไร่
S1 = 1,052,799 ไร่
S2 = 439,540 ไร่
N = 5,076.761 ไร่
S1 = 1,204,719ไร่
S2 = 336,549ไร่
N = 5,027,831ไร่
S1 = 1,344,286 ไร่
S2 = 350,664 ไร่
N = 4,874,150 ไร่
ผลผลิตรวม (ตัน/ปี) 798,392 182,192 529,120 8,918
ตลาด โรงสี 46 โรง
กาลังการผลิต
568,912 ตัน/ปี
จุดรับซื้ อผลผลิต ใน
พื้นที่ 52 จุด รองรับ
ผลผลิต 50,000ถึง
80,000 ตัน/ปี
โรงแป้ ง 5 โรง
โรงทาเส้นอาหาร 2 โรง
ลานมัน 20 แห่ง
กาลังการผลผลิต
1 ล้านตัน/ปี
โรงคัดแยก18 โรง
กาลังการผลิต
5,000 ตัน/ปี
ข้าว 1,371,808 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 273,458 ไร่
มันสาปะหลัง 170,491 ไร่
มะม่วง 81,178 ไร่
พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ
ที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดพิษณุโลก
ต.ท่าช้าง
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางเสน่ห์ เรืองดี
ต.จอมทอง อ.เมือง
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นายเกษม โตมา
ต.นิคมพัฒนา
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางพชรกมล เหลืองทอง ต.บางกระทุ่ม
การปลูกกล้วยน้าว้าพันธุ์มะลิอ่อง
น.ส.ศิลาพร สิงหลักษณ์
ต.ไทรย้อย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว
นายจันที ชมภูมี
ต.ท่างาม
การลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางจรูญ ราชบรรจง
ต.ชัยนาม
การพัฒนาคุณภาพมะม่วงเพื่อการส่งออก
นายเสาร์ ปรีชาวนา
ต.หนองกระท้าว
การผลิตสับปะรดคุณภาพตรงตามความต้องการของ
โรงงาน
นายสมชาติ พิมพ์หอม
ต.สวนเมี่ยง
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง
นางวิลาวัลย์ จันทะวงษ์ จานวน 9 ศูนย์ฯ
พื้นที่ทาการเกษตรอาเภอวังทอง
พื้นที่ปลูกมะม่วง 26,484 ไร่
พื้นที่ปลูกข้าว 219,520 ไร่
พื้นที่ปลูกมันสาปะหลัง 55,165 ไร่
ศักยภาพการผลิตมะม่วง ในเขตพื้นที่เป้ าหมายส่งเสริม
มะม่วงแปลงใหญ่ ตาบลชัยนาม อาเภอวังทอง
ที่ หมู่
เกษตรกร
(ราย)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิตเฉลี่ย
(ตัน/ไร่)
ผลผลิตรวม
(ตัน/ปี)
โรงคัดแยก
(แห่ง)
1 หมู่ที่ 4 36 700 1.4 980 1
2 หมู่ที่ 6 36 300 1.4 420 1
3 หมู่ที่ 9 68 1,350 1.5 2,025 2
รวม 140 2,350 - 3,425 4
เป้ าหมาย
แปลงใหญ่
900 ไร่
การส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง)
ตาบล ชัยนาม อาเภอวังทอง
ระดับความเหมาะสม
S1
+ S2 = 4,403 ไร่
N = 17,236 ไร่
รวม = 21,639 ไร่
เป้ าหมายการส่งเสริม
เกษตรกร 79 ราย
พื้นที่ 900 ไร่
พิกัดแปลงมะม่วงรายเกษตรกร
หมู่ 4
26 ราย
160 ไร่
หมู่ 9
47 ราย
645 ไร่
หมู่ 6
6 ราย
117 ไร่
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
พื้นที่
สินค้าคน
- อุณหภูมิ เฉลี่ย สูงสุด 38.1 c ต่าสุด 16.7 c
- ปริมาณน้าฝน เฉลี่ย ปี 2557 = 1282.2 มม./ปี
จานวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยต่อปี 157 วัน
-ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การปลูกมะม่วง (ชุดดินที่38)
- มะม่วงน้าดอกไม้สี
ทองมีการปลูกมากใน
พื้นที่และเริ่มนิยมทา
นอกฤดู
- มีตลาดรองรับใน
พื้นที่และมีโอกาสทาง
การค้าสูงเพราะ
ต่างประเทศยัง
ต้องการในปริมาณมาก
- ชุมชน/ผู้นาชุมชน มีความ
เข้มแข็งและสามัคคี มีการ
รวมกลุ่มกันทาการเกษตร
- เกษตรกรมีประสบการณ์
ในด้านการผลิตมะม่วง
- เกษตรกรพร้อมรับการ
ส่งเสริมและพัฒนาใน
แนวทางที่เป็นไปได้
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตสินค้าเกษตร
มะม่วงแปลงใหญ่
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
รายการ บาท/ต้น บาท/ไร่ หมายเหตุ
- ค่าแรงงานตัดแต่งกิ่ง
- ค่าปุ๋ ยทางดิน
- ค่าปุ๋ ยทางใบ
- ค่าสารเคมี
- ค่าสารแพคโคลบิวทราโซล
- ค่าถุงห่อผล 100 ผล/ต้น
- ค่าแรงงานอื่นๆ
15
70
10
120
10
120
20
750
3,500
500
6,000
500
6,000
1,000
รวมต้นทุน 365 18,250
- ผลผลิต
- ราคาจาหน่าย 700 กิโลกรัมๆ ละ 50 บาท
400 กิโลกรัมๆ ละ 30 บาท
400 กิโลกรัมๆ ละ 20 บาท
รวมรายได้
กาไร (55,000-18,250)
30 กก./ต้น 1,500 กก./ไร่
35,000
12,000
8,000
55,000 บาท/ไร่
31,750 บาท/ไร่
ถ้าเกษตรกร ปลูกมะม่วง
20 ไร่ จะมี
- รายได้ 1,100,000 บาท
- ต้นทุน 365,000 บาท
- กาไร 735,000 บาท
ต้นทุนการผลิต (50 ต้น/1 ไร่)
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนากระบวนการผลิต
ให้สอดคล้องกับตลาด
2. บริหารจัดการใช้ปัจจัย
การผลิตร่วมกัน
3. พัฒนาคุณภาพผลผลิต
ให้ได้มาตรฐาน GAP
4. เชื่อมโยงตลาดและ
สร้างเครือข่าย
เป้ าหมาย
1. มีพื้นที่ผลิตมะม่วงส่งออก
ได้มาตรฐาน GAP
จานวน 900 ไร่
เกษตร จานวน 79 ราย
2. มีผลผลิตมะม่วงส่งออก
ตามมาตรฐาน
1,300 ตัน / ปี
3. ต้นทุนการผลิตลดลง
ร้อยละ 10
4. ได้รับการยอมรับจาก
คู่ค้าต่างประเทศ
(ด้านคุณภาพ)
5. เพิ่มปริมาณส่งออก
ผลผลิตจาก 700ตัน/ปี
เป็น 800ตัน/ปี
เทคโนโลยี
1. ปรับปรุงบารุงดิน
2. ใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
3. เทคนิคการเตรียมต้น
4. เทคนิคราดสารและดึงดอก
5. จัดการศัตรูพืชถูกต้อง
6. ใช้สารเคมีเหมาะสม
7. จัดการหลังการเก็บเกี่ยว
เหมาะสม
8. สุ่มตรวจสารพิษตกค้าง
ในผลผลิตก่อนเก็บเกี่ยว
9. เชื่อมโยงตลาดซื้ อขาย
ผลผลิตมะม่วงนอกฤดู
แบบมีพันธะสัญญา
10.สร้างเครือข่าย ซื้ อ-ขาย
ผลผลิตมะม่วง
แนวทางการดาเนินงาน
ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
(พื้นที่เป้ าหมาย 900 ไร่)
- ปรับปรุงบารุงดิน -เทคนิคการเตรียมต้น
- เทคนิคการดึงดอก-เทคนิคการให้ปุ๋ ยทางใบ
- การจัดการศัตรูพืช-การเก็บเกี่ยวถูกต้อง
- การคัดแยกผลผลิต-จัดซื้ อปัจจัยร่วมกัน
การแปรรูปและคัดแยก
เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต
เชื่อมโยงเครือข่าย
การผลิตและการตลาด
- เพิ่มผลผลิตมะม่วงเกรด A
จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่
- เพิ่มพื้นที่ปลูกมะม่วงนอกฤดู
ตามมาตรฐาน GAP
จาก 35 เป็น 79 ราย
พัฒนาคัดแยกเกรดผลผลิต
มะม่วง จานวน 3 เกรด
- เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิต
- เพื่อลดการสูญเสียและปนเปื้ อน
ของโรคก่อนการส่งออก
- เกิดเครือข่ายผู้ผลิต
มะม่วงนอกฤดูส่งออก
- เชื่อมโยงการตลาด
บริษัทสวิฟท์ จากัด
บริษัทซีพี ไดธ์มอน จากัด
มะม่วงเกรด A จานวน 200 ตัน
มะม่วงเกรด B จานวน 500 ตัน
รวมมูลค่า 25 ล้านบาท
ผลการดาเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง)
อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558
กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา
รับสมัคร /
จัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน /
จับพิกัดแปลง
เกษตรกร 79 ราย
พื้นที่ 900 ไร่
ม.ค. 2558
ถึง
มี.ค. 2558
พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม
คุณภาพและลดต้นทุน
-เกรด A จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่
ผลผลิตส่งออก จาก 700 เป็น 800 ตัน/ปี
-รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล
จานวน 10,000 ใบ
มี.ค. 2558
ถึง
ธ.ค. 2558
เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดย
รับรองมาตรฐาน GAP
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ทั้งหมด
ม.ค. 2558
ถึง
ก.พ. 2559
เชื่อมโยงการการตลาด
ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ
บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 58/59
จานวน 200 ตัน
ธ.ค. 2558
ถึง
ก.พ. 2559
แผนปฏิบัติงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง)
อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2559
กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา
พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม
คุณภาพและลดต้นทุน
-เกรด A จาก 800 เป็น 900 กก./ไร่
ผลผลิตส่งออก จาก 800 เป็น 850 ตัน/ปี
-รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล
จานวน 20,000 ใบ
มี.ค. 2559
ถึง
ธ.ค. 2559
เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดยการ
รับรองมาตรฐาน
Gap แบบกลุ่ม
Gap อาเซียน
ม.ค. 2559
ถึง
ก.พ. 2560
เชื่อมโยงการการตลาด
ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ
บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 59/60
จานวน 250 ตัน
ธ.ค. 2558
ถึง
ก.พ. 2559
ส่วนกลาง
ระบบการติดตามงาน
รองปลัดกระทรวง กากับดูแล
คทง. ปฏิบัติการ
ขับเคลื่อนงานตามนโยบาย
ลดต้นทุน สศก.
โซนนิ่ง พด.
แปลงใหญ่ กสก.
เกษตรอินทรีย์ มกอช.
ศูนย์เรียนรู้ กสก.
ธนาคารสินค้าเกษตร กสส.
ส่วนกลาง
ผู้ช่วยปลัด กษ.
นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์
ความ
คืบหน้า
ข้อเสนอแนะ
ผู้ช่วยปลัด กษ.
(นายรัตนะ สวามีชัย)
รองปลัดกระทรวง
ผู้ตรวจราชการ
กระทรวง
ปลัด กษ.
รองศักดิ์ชัย
ภาคเหนือ
รองบริสุทธิ์
ภาคตอ/น.
รองเลิศ
วิโรจน์
กลาง,ตอ.
รองโอภาส
ภาคใต้
เขตตรวจ
15,16,17
เขตตรวจ
10,
11,12,13,1
4
เขตตรวจ
1,2
3,4,5,9,18
เขตตรวจ
6,7,8
ผู้ตรวจราชการ กษ.
สนับสนุนการติดตามงาน/แก้ไขปัญหาพื้นที่
ส่วนภูมิภาค
คกก. ขับเคลื่อนนโยบายของกษ. แบบเบ็ดเสร็จ
กลุ่มที่ 1
(36 จังหวัด)
กษ.จว.
กลุ่มที่ 2
(16 จังหวัด)
เกษตร จว.
กลุ่มที่ 3
(10 จังหวัด)
ปศ.จว.
กลุ่มที่ 4
(8 จังหวัด)
สหกรณ์จว.
กลุ่มที่ 5
(7จังหวัด)
ปม.จว.
กาหนดเป้ าหมาย วางแผนปฏิบัติ
บูรณาการทางาน
ในพื้นที่
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...laoon
 
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น5614คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56krupornpana55
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bamm Thanwarat
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์bimteach
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2Khunnawang Khunnawang
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะรายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะมาณวิกา นาคนอก
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce
2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce
2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ceFrancisco Luz
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 

La actualidad más candente (20)

Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น5614คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Slides do dia dos pais
Slides do dia dos paisSlides do dia dos pais
Slides do dia dos pais
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
0756 l3 2
0756 l3 20756 l3 2
0756 l3 2
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะรายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
รายงานการไปราชการ อบรมวิทฐานะ
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce
2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce
2015 resultado preliminar do concurso público de paracuru-ce
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
 

Más de กิตติกร ยาสมุทร

สหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากร
สหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากรสหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากร
สหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากรกิตติกร ยาสมุทร
 
การกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
การกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนการกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
การกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนกิตติกร ยาสมุทร
 
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...กิตติกร ยาสมุทร
 
คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"
คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"
คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"กิตติกร ยาสมุทร
 
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้นภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้นกิตติกร ยาสมุทร
 

Más de กิตติกร ยาสมุทร (6)

สหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากร
สหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากรสหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากร
สหกรณ์กับการเสียภาษี ตามประมวลรัษฏากร
 
การกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
การกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนการกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
การกำหนด ท้องที่ดำเนินงาน คุณสมบัติสมาชิก สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
 
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
 
คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"
คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"
คำแนะนำ "การจัดตั้งสหกรณ์สำหรับประชาชนและผู้สนใจจะจัดตั้งสหกรณ์"
 
เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่
 
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้นภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
 

นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)

  • 3. คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command) เลขานุการกรรมการประธาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด (ชัยนาท ลพบุรี นครสวรรค์ พิจิตร) เกษตรจังหวัด (สิงห์บุรี อ่างทอง) ปศุสัตว์จังหวัด สหกรณ์จังหวัด (อุทัยธานี กาแพงเพชร) ประมงจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ ในสังกัด กษ. ทั้งราชการส่วนภูมิภาค และส่วนกลางที่มี สานักงานตั้งอยู่ในจังหวัด เจ้าหน้าที่สานักงาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ที่ได้รับมอบหมาย องค์ประกอบ
  • 4. www.themegallery.com คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)อานาจหน้าที่ 1. กากับดูแล &ประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการ กษ. และหน่วยงานอื่น รวมทั้งภาคเอกชน /ภาคประชาชน ให้ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบายของ กษ. ให้เป็นเอกภาพ 2. บูรณาการการบริหารจัดการแผนงาน โครงการ งบประมาณและทรัพยากร ของส่วนราชการ กษ.ให้มีประสิทธิภาพ & ประสิทธิผลสูงสุด 3. ให้ประธานกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของ กษ. แบบเบ็ดเสร็จ มีหน้าที่ดังนี้ 3.1 เป็นผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด 3.2 เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาความดีความชอบให้แก่ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กษ. 4. ให้หัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กษ. ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติราชการ กับคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของ กษ.แบบเบ็ดเสร็จ 5. รายงานผลการปฏิบัติให้ปลัด กษ.ทราบ 6. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
  • 5. www.themegallery.com เกษตรและสหกรณ์จังหวัด หัวหน้าศูนย์รับเรื่อง ร้องทุกข์ด้าน เกษตร/ แก้ไขปัญหา ประสานงานการ ผลิตสินค้าเกษตร โฆษก กษ/ หัวหน้าศูนย์ข้อมูล การเกษตรและ สหกรณ์ ผู้ช่วย ผตร ดาเนินการ/ ประสานงาน กับคณะ Single Command คาสั่ง กษ 18/59 มอบอานาจหน้าที่ ภัยพิบัติ ราคาสินค้า หนี้ สินเกษตรกร มีมาตรฐาน ผู้บริโภคปลอดภัย เชื่อมโยงข้อมูล ภาพรวมจังหวัดกับกระทรวง ผลสัมฤทธิ์งานตรวจราชการ/ งานที่ ผตร.มอบหมาย ขับเคลื่อนนโยบาย ให้มีประสิทธิภาพ
  • 6.
  • 7. ภาพรวมของนโยบาย รมว. กษ. 6 เรื่อง เป้ าหมายสุดท้าย แนวคิดในการขับเคลื่อน การขับเคลื่อน ปี 2560 ขยายแปลง เกิดแปลงใหม่ อยู่รอด (พ้นจากความอดอยาก ไม่ต้องกู้มีอาหารกินตลอดปี พ้นความเจ็บไข้ แต่ยังมีหนี้สินเดิมอยู่) พอเพียง (ใช้หนี้หมด รายได้สม่าเสมอ มีสาธารณูปโภค มีการศึกษา ชีวิตพอสบายขึ้น) ยั่งยืน (มีเงินออม พัฒนาตนเองได้ ยืนบนลาแข้ง มีภูมิคุ้มกัน เป็นเจ้าของกิจการได้) พื้นที่ S1, S2 อากาศ, น้า, คน ฯลฯ เหมาะสม พื้นที่ S3, N อากาศอากาศ, น้า, คน ฯลฯ ไม่เหมาะสม ลดต้นทุน เกษตรอินทรีย์ Zoning ธนาคารสินค้าเกษตร ศูนย์เรียนรู้ แปลงใหญ่ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้น อยู่รอด ปี 59– 60 พอเพียง ปี 61 – 62 ยั่งยืน ปี 63 เป็นไป รายได้เพิ่มขึ้น ลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขัน มาตรการ ศูนย์เรียนรู้หลัก ศูนย์เรียนรู้เครือข่าย แปลงสาธิต ปี 2560 เกิดการรวมกลุ่ม เป็นแปลงใหญ่ 1. ลดปัจจัยการผลิต 2. เพิ่มผลผลิตต่อไร่ - ปุ๋ ย, สารเคมี, การใช้ชีวภัณฑ์, ศัตรูธรรมชาติ - ใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - พันธุ์พืช / พันธุ์สัตว์ / อาหารสัตว์ - ปรับปรุงบารุงดิน - ค่าเช่าที่ดิน / - ค่าไฟฟ้า/พลังงานทางเลือก - ใช้ปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ - ค่าแรง/ค่าบริการเครื่องจักรกล - พันธุ์พืช/สัตว์ที่เหมาะสม - แหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่า - เกษตรผสมผสาน 3. การบริหารจัดการ (ใช้ปรัชญา ศก.พอเพียง) 4. การตลาด (ตามที่ต้องการ/มีคุณภาพ) วางแผน อานวยการ การดาเนินการ และการกากับดูแล - มีแผนการตลาด - การตลาด (Demand/Supply) - การใช้ที่ดิน/ น้า (เกษตรทฤษฏีใหม่) - เกษตรปลอดสารพิษ -การเพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์ - เกษตร GAP -การใช้เครื่องจักรกล การเก็บเกี่ยว การแปรรูป - เกษตรอินทรีย์ - จัดทาบัญชีแปลง/ครัวเรือน /ธนาคารสินค้าเกษตร แปลงใหญ่ต้นแบบ (ปี 2559) เกษตรหลัก: เกษตรเสริม ศูนย์เรียนรู้ตัวอย่าง (เปลี่ยนสินค้าเกษตร)(ปี 2559) เกษตรหลัก: เกษตรเสริม: 1. ลดปัจจัยการผลิต 2. เพิ่มผลผลิตต่อไร่ 3. การบริหารจัดการ 4. การตลาด
  • 8.
  • 9. ความสัมพันธ์ระหว่างงานนโยบาย 6 เรื่อง ศูนย์เรียนรู้ (เกษตรกรต้นแบบ) 1. การบริการ - ข้อมูลข่าวสาร - ตรวจวิเคราะห์ดิน - ฝึกอบรม - ปรึกษา/แนะนา - แปลงสาธิต 2. ขยายเครือข่าย 3. จัดตั้งศูนย์เพิ่มเติม แปลงใหญ่ (ต้นแบบ, อื่นๆ) 1. เจ้าหน้าที่ - ผู้จัดการทีม - ทีมลดต้นทุน - ทีมบริหารจัดการ - ทีมการตลาด - ทีมเพิ่มผลผลิต - ที่มแปรรูป - ทีม Zoning 2. พัฒนาเกษตรกร 3. ดาเนินการใน แปลง Zoning 1. วิเคราะห์ ดิน, น้า อากาศ, ตลาด ได้พื้นที่ S1, S2,S3, N 2. พื้นที่ S1,S2 ดาเนินการ - ลดต้นทุน - เกษตรอินทรีย์ - เกษตรGAP - เกษตรปลอดภัย 3. พื้นที่S3, N - จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ ตัวอย่าง - จัดตั้งแปลง ตัวอย่าง เกษตรอินทรีย์ 1. เตรียมความพร้อม (เกษตรกร, ข้อมูล, ฐานข้อมูล เกษตรอินทรีย์) 2. พัฒนาการผลิตสู่การรับรองมาตรฐานเกษตร อินทรีย์ 3. จัดทามาตรฐานสินค้า, ตรวจรับรอง 4. พัฒนาต่อยอดการผลิต การแปรรูปสู่การตลาด ลดต้นทุนและ เพิ่มโอกาสในการแข่งขัน 1. ลดปัจจัยการผลิต 2. เพิ่มผลผลิตต่อไร่ 3. การบริหารจัดการ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่) 4. การตลาด ธนาคารสินค้าเกษตร (เมื่อมีความพร้อม/มีความต้องการของสมาชิก) 1. ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ 2. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน 3. ธนาคารโคกระบือ 4. ธนาคารโคนมทดแทน 5. ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร ปลูกอะไร/ เลี้ยงอะไร สินค้าเกษตรหลัก สินค้าเกษตรเสริม
  • 10. ความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์เรียนรู้ – แปลงใหญ่ - Zoning ศูนย์ฯหลัก แปลงต้นแบบ ศูนย์ฯ เครือข่าย แปลงขยาย แปลงใหม่ พื้นที่ S1,S2 พื้นที่ S3,N แปลงต้นแบบ (พื้นที่ S1, S2) - พัฒนาทีมผู้จัดการ - พัฒนาเกษตรกร - พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในแปลง - ดาเนินการตามมาตรการต่างๆ ในแปลง ศูนย์เรียนรู้หลัก (พื้นที่ S1, S2) - บูรณาการทางานของ กษ. - การบริการ (ข้อมูล/วิชาการ/ วิเคราะห์ดิน/ฯลฯ) - หลักสูตรฝึกอบรม/วิทยากร ศูนย์เรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน (พื้นที่ S3,N) - บูรณาการทางานของ กษ. - บริการ (ข้อมูล/วิชาการ/วิเคราะห์ดินฯลฯ) - หลักสูตรฝึกอบรม/วิทยากร - ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ - แปลงสาธิตเพื่อการปรับเปลี่ยน ศูนย์ฯเพื่อการ ปรับเปลี่ยน แปลงสาธิตเพื่อการ ปรับเปลี่ยน เกิดแปลงใหม่
  • 11. * ลดต้นทุน * เพิ่มผลผลิต * สร้างโอกาสการแข่งขัน * จัดการเรื่องตลาด ศพก. ศูนย์เครือข่าย (องค์ความรู้) * Zoning * การวางแผนการผลิต * เทคโนโลยีการผลิต * เทคนิคลดต้นทุน/เพิ่มผลผลิต * การตลาดและแนวโน้มของตลาด * การทาบัญชี * GAP * เกษตรอินทรีย์* แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง * เกษตรผสมผสาน * เกษตรทฤษฏีใหม่ ศูนย์เรียนรู้ แปลงใหญ่ (พืชหลัก) ศูนย์เครือข่าย ศูนย์เครือข่าย ชุมชน ปลูกพืชหลักที่เหมาะกับดิน ตลาด ต้นทุนการผลิตต่า ผลผลิตสูง ทาเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐาน ทาการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ทาเกษตรผสมผสาน (เพิ่มเติม/ทดแทนพืชหลัก) การขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาตรการพัฒนา ศพก. (S3, N) มีตลาด/ ราคาดี ไม่มีตลาด/ราคาต่า ปรับเปลี่ยน พืชที่เหมาะสม กับพื้นที่/ตลาด ศูนย์ เครือข่าย มาตรการ Zoning มาตรการ ลดต้นทุนฯ ผลิต ต่อเนื่อง มาตรการ ธนาคารสินค้าเกษตร มาตรการ แปลงใหญ่ มาตรการ Zoning มาตรการลดต้นทุน มาตรการเกษตร อินทรีย์ มาตรการ เกษตรอินทรีย์ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ (S1, S2) ทากิจกรรม ร่วมกันรวมกลุ่ม
  • 14. ข้อมูลศักยภาพการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง มะม่วง ความเหมาะสม S1 = 2,209,887 ไร่ S2 = 13,199 ไร่ N = 4,346,014 ไร่ S1 = 1,052,799 ไร่ S2 = 439,540 ไร่ N = 5,076.761 ไร่ S1 = 1,204,719ไร่ S2 = 336,549ไร่ N = 5,027,831ไร่ S1 = 1,344,286 ไร่ S2 = 350,664 ไร่ N = 4,874,150 ไร่ ผลผลิตรวม (ตัน/ปี) 798,392 182,192 529,120 8,918 ตลาด โรงสี 46 โรง กาลังการผลิต 568,912 ตัน/ปี จุดรับซื้อผลผลิต ใน พื้นที่ 52 จุด รองรับ ผลผลิต 50,000ถึง 80,000 ตัน/ปี โรงแป้ ง 5 โรง โรงทาเส้นอาหาร 2 โรง ลานมัน 20 แห่ง กาลังการผลผลิต 1 ล้านตัน/ปี โรงคัดแยก18 โรง กาลังการผลิต 5,000 ตัน/ปี ข้าว 1,371,808 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 273,458 ไร่ มันสาปะหลัง 170,491 ไร่ มะม่วง 81,178 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ
  • 15. ที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดพิษณุโลก ต.ท่าช้าง การลดต้นทุนการผลิตข้าว นางเสน่ห์ เรืองดี ต.จอมทอง อ.เมือง การลดต้นทุนการผลิตข้าว นายเกษม โตมา ต.นิคมพัฒนา การลดต้นทุนการผลิตข้าว นางพชรกมล เหลืองทอง ต.บางกระทุ่ม การปลูกกล้วยน้าว้าพันธุ์มะลิอ่อง น.ส.ศิลาพร สิงหลักษณ์ ต.ไทรย้อย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว นายจันที ชมภูมี ต.ท่างาม การลดต้นทุนการผลิตข้าว นางจรูญ ราชบรรจง ต.ชัยนาม การพัฒนาคุณภาพมะม่วงเพื่อการส่งออก นายเสาร์ ปรีชาวนา ต.หนองกระท้าว การผลิตสับปะรดคุณภาพตรงตามความต้องการของโรงงาน นายสมชาติ พิมพ์หอม ต.สวนเมี่ยง การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง นางวิลาวัลย์ จันทะวงษ์ จานวน 9 ศูนย์ฯ
  • 17. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่ สินค้าคน - อุณหภูมิ เฉลี่ย สูงสุด 38.1 c ต่าสุด 16.7 c - ปริมาณน้าฝน เฉลี่ย ปี 2557 = 1282.2 มม./ปี จานวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยต่อปี 157 วัน -ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การปลูกมะม่วง (ชุดดินที่38) - มะม่วงน้าดอกไม้สี ทองมีการปลูกมากใน พื้นที่และเริ่มนิยมทา นอกฤดู - มีตลาดรองรับใน พื้นที่และมีโอกาสทาง การค้าสูงเพราะ ต่างประเทศยังต้องการ ในปริมาณมาก - ชุมชน/ผู้นาชุมชน มีความ เข้มแข็งและสามัคคี มีการ รวมกลุ่มกันทาการเกษตร - เกษตรกรมีประสบการณ์ ในด้านการผลิตมะม่วง - เกษตรกรพร้อมรับการ ส่งเสริมและพัฒนาใน แนวทางที่เป็นไปได้ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร มะม่วงแปลงใหญ่
  • 18. การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต รายการ บาท/ต้น บาท/ไร่ หมายเหตุ - ค่าแรงงานตัดแต่งกิ่ง - ค่าปุ๋ ยทางดิน - ค่าปุ๋ ยทางใบ - ค่าสารเคมี - ค่าสารแพคโคลบิวทราโซล - ค่าถุงห่อผล 100 ผล/ต้น - ค่าแรงงานอื่นๆ 15 70 10 120 10 120 20 750 3,500 500 6,000 500 6,000 1,000 รวมต้นทุน 365 18,250 - ผลผลิต - ราคาจาหน่าย 700 กิโลกรัมๆ ละ 50 บาท 400 กิโลกรัมๆ ละ 30 บาท 400 กิโลกรัมๆ ละ 20 บาท รวมรายได้ กาไร (55,000-18,250) 30 กก./ต้น 1,500 กก./ไร่ 35,000 12,000 8,000 55,000 บาท/ไร่ 31,750 บาท/ไร่ ถ้าเกษตรกร ปลูกมะม่วง 20 ไร่ จะมี - รายได้ 1,100,000 บาท - ต้นทุน 365,000 บาท - กาไร 735,000 บาท ต้นทุนการผลิต (50 ต้น/1 ไร่)
  • 19.
  • 20. ศักยภาพการผลิตมะม่วง ในเขตพื้นที่เป้ าหมายส่งเสริม มะม่วงแปลงใหญ่ ตาบลชัยนาม อาเภอวังทอง ที่ หมู่ เกษตรกร (ราย) พื้นที่ปลูก (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย (ตัน/ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน/ปี) โรงคัดแยก (แห่ง) 1 หมู่ที่ 4 36 700 1.4 980 1 2 หมู่ที่ 6 36 300 1.4 420 1 3 หมู่ที่ 9 68 1,350 1.5 2,025 2 รวม 140 2,350 - 3,425 4 เป้ าหมาย แปลงใหญ่ 900 ไร่
  • 21. การส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง) ตาบล ชัยนาม อาเภอวังทอง ระดับความเหมาะสม S1 + S2 = 4,403 ไร่ N = 17,236 ไร่ รวม = 21,639 ไร่ เป้ าหมายการส่งเสริม เกษตรกร 79 ราย พื้นที่ 900 ไร่ พิกัดแปลงมะม่วงรายเกษตรกร หมู่ 4 26 ราย 160 ไร่ หมู่ 9 47 ราย 645 ไร่ หมู่ 6 6 ราย 117 ไร่
  • 22. แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนากระบวนการผลิต ให้สอดคล้องกับตลาด 2. บริหารจัดการใช้ปัจจัย การผลิตร่วมกัน 3. พัฒนาคุณภาพผลผลิต ให้ได้มาตรฐาน GAP 4. เชื่อมโยงตลาดและ สร้างเครือข่าย เป้ าหมาย 1. มีพื้นที่ผลิตมะม่วงส่งออก ได้มาตรฐาน GAP จานวน 900 ไร่ เกษตร จานวน 79 ราย 2. มีผลผลิตมะม่วงส่งออก ตามมาตรฐาน 1,300 ตัน / ปี 3. ต้นทุนการผลิตลดลง ร้อยละ 10 4. ได้รับการยอมรับจาก คู่ค้าต่างประเทศ (ด้านคุณภาพ) 5. เพิ่มปริมาณส่งออก ผลผลิตจาก 700ตัน/ปี เป็น 800ตัน/ปี เทคโนโลยี 1. ปรับปรุงบารุงดิน 2. ใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 3. เทคนิคการเตรียมต้น 4. เทคนิคราดสารและดึงดอก 5. จัดการศัตรูพืชถูกต้อง 6. ใช้สารเคมีเหมาะสม 7. จัดการหลังการเก็บเกี่ยว เหมาะสม 8. สุ่มตรวจสารพิษตกค้าง ในผลผลิตก่อนเก็บเกี่ยว 9. เชื่อมโยงตลาดซื้ อขาย ผลผลิตมะม่วงนอกฤดู แบบมีพันธะสัญญา 10.สร้างเครือข่าย ซื้ อ-ขาย ผลผลิตมะม่วง
  • 23. แนวทางการดาเนินงาน ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (พื้นที่เป้ าหมาย 900 ไร่) - ปรับปรุงบารุงดิน -เทคนิคการเตรียมต้น - เทคนิคการดึงดอก-เทคนิคการให้ปุ๋ ยทางใบ - การจัดการศัตรูพืช-การเก็บเกี่ยวถูกต้อง - การคัดแยกผลผลิต-จัดซื้ อปัจจัยร่วมกัน การแปรรูปและคัดแยก เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต เชื่อมโยงเครือข่าย การผลิตและการตลาด - เพิ่มผลผลิตมะม่วงเกรด A จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่ - เพิ่มพื้นที่ปลูกมะม่วงนอกฤดู ตามมาตรฐาน GAP จาก 35 เป็น 79 ราย พัฒนาคัดแยกเกรดผลผลิต มะม่วง จานวน 3 เกรด - เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิต - เพื่อลดการสูญเสียและปนเปื้ อน ของโรคก่อนการส่งออก - เกิดเครือข่ายผู้ผลิต มะม่วงนอกฤดูส่งออก - เชื่อมโยงการตลาด บริษัทสวิฟท์ จากัด บริษัทซีพี ไดธ์มอน จากัด มะม่วงเกรด A จานวน 200 ตัน มะม่วงเกรด B จานวน 500 ตัน รวมมูลค่า 25 ล้านบาท
  • 24. ผลการดาเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง) อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558 กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา รับสมัคร / จัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน / จับพิกัดแปลง เกษตรกร 79 ราย พื้นที่ 900 ไร่ ม.ค. 2558 ถึง มี.ค. 2558 พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม คุณภาพและลดต้นทุน -เกรด A จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่ ผลผลิตส่งออก จาก 700 เป็น 800 ตัน/ปี -รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล จานวน 10,000 ใบ มี.ค. 2558 ถึง ธ.ค. 2558 เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดย รับรองมาตรฐาน GAP เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด ม.ค. 2558 ถึง ก.พ. 2559 เชื่อมโยงการการตลาด ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 58/59 จานวน 200 ตัน ธ.ค. 2558 ถึง ก.พ. 2559
  • 25. แผนปฏิบัติงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง) อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2559 กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม คุณภาพและลดต้นทุน -เกรด A จาก 800 เป็น 900 กก./ไร่ ผลผลิตส่งออก จาก 800 เป็น 850 ตัน/ปี -รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล จานวน 20,000 ใบ มี.ค. 2559 ถึง ธ.ค. 2559 เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดยการ รับรองมาตรฐาน Gap แบบกลุ่ม Gap อาเซียน ม.ค. 2559 ถึง ก.พ. 2560 เชื่อมโยงการการตลาด ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 59/60 จานวน 250 ตัน ธ.ค. 2558 ถึง ก.พ. 2559
  • 26. ขั้นตอนการทางานของ Single Command วิเคราะห์แผนที่ความเหมาะสมการใช้พื้นที่ดินรายอาเภอ วิเคราะห์ตลาดของสินค้า ตามข้อ 1 และชนิดสินค้าในพื้นที่จริง วิเคราะห์ ศพก. และศูนย์เรียนรู้ของ กษ. ในอาเภอ วิเคราะห์ดินในแปลงต้นแบบของ ศพก. (ศูนย์เรียนรู้หลัก) Single Command บูรณาการหน่วยงานและจัดทา Action Plan และปฏิบัติการในพื้นที่ ศพก. ขยายผลองค์ความรู้สู่เกษตรกรผ่านหลักสูตร (ถอดบทเรียนจาก ข้อ 5) รวมกลุ่มการผลิต 1 2 3 4 5 6 7
  • 27. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  วิเคราะห์แผนที่ ความเหมาะสมการใช้ พื้นที่ดินรายอาเภอ/ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ 1.มีข้อมูลสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ/ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตระดับอาเภอ 2.รู้ชนิดสินค้าที่เหมาะสมต่อสภาพ พื้ นที่การผลิต/สภาพปัจจัยต่างๆที่ เกี่ยวข้องกับการผลิตในพื้ นที่ระดับ อาเภอ หน่วยงานที่รับผิดชอบวิเคราะห์ข้อมูล เกษตรจังหวัด /ประมงจังหวัด ปศุสัตว์ จังหวัด/พัฒนาที่ดินจังหวัด หน่วยงานสนับสนุน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งใน/นอกกระทรวง เกษตรกรที่ประสบความสาเร็จ/Smart Farmer หน่วยงานรับผิดชอบหลัก พัฒนาที่ดินจังหวัด ขั้นตอนการทางานของ Single Command 1. ใช้แผนที่ของ พด. เป็นรายอาเภอมาวิเคราะห์ศักยภาพดินและความเหมาะสมของดินในการทาการเกษตร (พืช ประมง ปศุสัตว์) เพื่อให้ได้ชนิดสินค้าที่เหมาะสมด้านการผลิตของอาเภอ พัฒนาที่ดินจังหวัดดาเนินการ บริหาร จัดการพื้นที่การผลิตให้เหมาะสม 2. นาข้อมูลที่ได้จากข้อ 1. มาวิเคราะห์ปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น น้า อากาศ สภาพแวดล้อม สถานการณ์ตลาด เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลศักยภาพการผลิตสินค้าของอาเภอ ชนิดสินค้าที่มีศักยภาพการผลิตของอาเภอ หน่วยงานวิชาการ ด้านพืช ประมง และปศุสัตว์ ชลประทาน และพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานดาเนินการ 3. ภาครัฐประชุมร่วมกับเกษตรกร เพื่อร่วมกันคิดร่วมกันทาเพื่อให้ได้สินค้าชนิดหลักของอาเภอ โดยมีเกษตรอาเภอเป็น เจ้าภาพหลัก แนวทางการขับเคลื่อน
  • 28. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  วิเคราะห์ตลาดของสินค้า ตามข้อ 1 และชนิดสินค้าในพื้นที่จริง 2.1 สินค้าหลักมีตลาดรองรับ Demand = Supply Marketing 2.2 ได้ชนิดสินค้าหลักที่จะส่งเสริม องค์ความรู้ ใน ศพก. เพื่อสร้าง ศักยภาพในการแข่งขัน หน่วยงานรับผิดชอบหลัก : กสส. หน่วยงานสนับสนุน - สศก. พาณิชย์จังหวัด - Smart Farmer/เกษตรกรที่ประสบ ความสาเร็จในการทาการตลาด - หอการค้า/สภาอุตสาหกรรมจังหวัด ขั้นตอนการทางานของ Single Command • สหกรณ์จังหวัดร่วมกับพาณิชย์จังหวัด สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต หอการค้า และภาคอุตสาหกรรมจังหวัดและแกน นาเกษตรกรต้องนาสินค้าของแต่ละอาเภอมาวางแผนการตลาด เพื่อวิเคราะห์Demand และSupply ของสินค้าในแต่ละ อาเภอ (จัดทาข้อมูลสมดุลสินค้า) เพื่อจะได้บริหารจัดการสินค้าเกษตรทั้งด้านปริมาณและราคาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่า ** ผลิตได้ตรงกับความต้องการของตลาด • พาณิชย์จังหวัดเจรจาการต่อรองการขายสินค้าให้กับเกษตรกร (รู้ข้อมูลความต้องการของตลาด)เพื่อให้เกษตรกรมีความ มั่นใจ และเกิดแรงจูงใจในการผลิตสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น • ได้ชนิดสินค้าหลัก (1,2,3,4) ที่จะให้หน่วยงานวิชาการวางแผนการส่งเสริมองค์ความรู้ที่เหมาะสมใน ศพก. เพื่อสร้าง ศักยภาพและโอกาสในการแข่งขันให้แก่เกษตรกร (รู้ว่าจะผลิตอะไร อะไรสร้างรายได้ดี) (มีตลาดรองรับ) แนวทางการขับเคลื่อน รู้สินค้า รู้การตลาด
  • 29. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  วิเคราะห์ ศพก. และ ศูนย์เรียนรู้ของกษ.ใน อาเภอ -ได้ศูนย์เรียนรู้หลัก (ศพก.) -ได้ศูนย์เรียนรู้สาขาที่สอดคล้องกับ การรองรับข้อมูลในข้อ 2 (กรณีที่ ศพก. วางรูปแบบในการ ส่งเสริมได้ครบถ้วนตามชนิดสินค้าแล้ว ให้พัฒนาต่อยอด ศพก.ให้เข้มแข็ง กรณีที่มีสินค้าไม่ครบต้องตั้งเพิ่มเติม ศูนย์อื่นในพื้นที่เพื่อรองรับการผลิต สินค้าตาม 2.1) หน่วยงานรับผิดชอบหลัก เกษตรจังหวัด /ประมงจังหวัด / ปศุสัตว์ จังหวัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - Smart Farmer - ผู้นาเกษตรกร/ผู้นาชุมชน ขั้นตอนการทางานของ Single Command เมื่อแต่ละอาเภอได้สินค้าหลักและรองแล้ว ให้พิจารณาว่าอาเภอนั้นมีศูนย์เรียนรู้ที่ไหน อะไรบ้าง แล้วนาข้อมูลจากมา วางแผนว่าควรจะมีศูนย์เรียนรู้หลักอยู่ใน area ใด และจะจัดตั้งศูนย์เรียนรู้สาขาเพิ่มเติมแหล่งไหนที่จะเป็นที่เรียนรู้ของ เกษตรกรตามหลักวิชาการแบบ Learning by doing ที่ครบถ้วนตามชนิดสินค้า/หลักวิชาการ **** กรณีที่ 1หาก ศพก.เดิมได้วางรูปแบบในการส่งเสริมได้ครบถ้วนตามชนิดสินค้าแล้ว ให้พัฒนา ศพก.นั้น ให้ เข้มแข็ง โดย กษ เข้าไปสนับสนุน เช่น ชป.ดูแลเรื่องน้า พด.ขุดบ่อน้า และอาจจะจัดทา MODEL การผลิตสินค้าให้ เกษตรกรได้ศึกษา เพื่อให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ *** กรณีที่ 2 หาก ศพก.ไม่มีองค์ความรู้ครบถ้วนใน ศพก.หลัก ให้จัดตั้งศพก.เครือข่าย เพื่อให้มีองค์ความรู้รองกับการผลิต สินค้าเกษตรตามชนิดสินค้าที่ได้กาหนดไว้ แนวทางการขับเคลื่อน
  • 30. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ ในแปลงต้นแบบของ ศพก. (ศูนย์เรียนรู้หลัก) เพื่อวางแผนการผลิตสินค้า 4.1 พื้นที่ S1 และ S2 ใช้มาตรการลดต้นทุน การผลิต,เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 4.2 วางแผนการผลิต(ตัดสินใจแบบมีส่วน ร่วม ให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลางของการร่วม คิดร่วมพัฒนา - เชิงเดี่ยว เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ 4.3 พื้นที่ S3 และ N ปรับเปลี่ยนเป็นผลิต สินค้าอื่นๆ โดยการสร้างความร่วมมือกับ เกษตรกร - หาแปลง/สร้างแปลง ต้นแบบให้เกษตรกร ดูเป็นตัวอย่าง หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก เกษตรจังหวัด /ประมงจังหวัด / ปศุสัตว์จังหวัด หน่วยงานสนับสนุน - Smart Farmer - ผู้นาเกษตรกร/ผู้นาชุมชน ขั้นตอนการทางานของ Single Command ในพื้นที่ S1 S2 ของแต่ละอาเภอ การผลิตสินค้าเกษตรเพื่อเพิ่มศักยภาพและโอกาสในการแข่งขันให้ใช้มาตรการลดต้นทุน การผลิต (หน่วยงานทางวิชาการต้องร่วมกันวิเคราะห์กับเกษตรกรเพื่อวางแผนหารูปแบบ/แนวทางการลดต้นทุนการผลิตที่ เหมาะสมกับชนิดสินค้า) การบริหารจัดการพื้นที่เพื่อประโยชน์สูงสุด และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต วางรูปแบบ/แผนการผลิต จะให้เป็นการผลิตแบบเชิงเดี่ยวหรือเกษตรผสมผสาน หน่วยงานวิชาการ /เกษตรอาเภอจะต้อง ร่วมคิดร่วมพัฒนากับเกษตรกร เพื่อให้ได้รูปแบบการผลิตที่เหมาะสมตั้งแต่กระบวนการผลิต (ห่วงโซ่อุปทาน) การเก็บเกี่ยวการ ผลิต การบริหารจัดการผลผลิต จนถึงการจัดจาหน่าย ส่วนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม S3 และ N ที่จะต้องปรับเปลี่ยนเป็นสินค้าอื่นๆ หน่วยงานในพื้นที่ต้องสร้างการรับรู้ว่า ปลูกพืชใด ดี มีตลาดรองรับ สร้างแรงจูงใจการปรับเปลี่ยน เช่น สนับสนุนพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ สร้างแบบการปรับเปลี่ยนการผลิตให้ เกษตรกรได้ศึกษาเป็นตัวอย่าง (แปลงตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนอาชีพเดิม) แนวทางการขับเคลื่อน
  • 31. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  Single Command บูรณาหน่วยงาน และจัดทา Action Plan เพื่อปฏิบัติการในพื้นที่ ศพก. (ตามที่ กษ. ชี้ แจง) 5.1 รูปแบบการผลิตสินค้าเกษตร -รูปแบบการผลิตสินค้าเชิงเดี่ยว/เกษตรผสมผสาน/ เกษตรอินทรีย์/เกษตรทฤษฎีใหม่ ผลิตตามแนว เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ได้รูปแบบการผลิตที่ เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการของเกษตรกรโดย ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 สินค้ามีคุณภาพ ต้นทุนการผลิตต่า ทาให้รายได้ เกษตรกรเพิ่มขึ้น คุณภาพชีวิตดีขึ้น หน่วยงานรับผิดชอบหลัก สานักงานเกษตรอาเภอ / ประมงจังหวัด / ปศุสัตว์ จังหวัด หน่วยงานสนับสนุน - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ เกษตรกร ขั้นตอนการทางานของ Single Command •เมื่อรู้รูปแบบการผลิต (การทาเกษตรเชิงเดี่ยว/เกษตรผสมผสาน/เกษตรอินทรีย์/เกษตรทฤษฎีใหม่) เกษตรจังหวัด/ประมง จังหวัด/ปศุสัตว์จังหวัด จะต้องจัดทา ACTION PLAN ในการขับเคลื่อนงาน เพื่อวางแผนการผลิตให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต โดย การนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ •ประชุมคณะทางานฯระดับจังหวัด เพื่อบูรณาการทั้งในและนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้ ACTION PLAN สามารถ ขับเคลื่อนงานได้ตามที่กาหนด เช่น พาณิชย์จังหวัดเรื่องการลดค่าปุ๋ ย/สารเคมี มหาดไทย เรื่องค่าเช่าที่นา, ธ.ก.ส. เรื่องการ ลดดอกเบี้ย ฯลฯ •กากับติดตามการทางาน อาจจะนาระบบการบริหารงานแบบ PLAN – DO – CHECK - ACT มาใช้ พร้อมทั้งมีการแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นจากการทางาน แนวทางการขับเคลื่อน
  • 32. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  ขยายผลองค์ความรู้ สู่เกษตรกรผ่านหลักสูตร (ถอดบทเรียนจากข้อ 5) เกษตรกรในอาเภอได้รับความรู้และ ผลิตสินค้าที่เหมาะสม สอดคล้องกับ สภาพพื้นที่ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก เกษตรอาเภอ /ประมงจังหวัด / ปศุสัตว์จังหวัด หน่วยงานสนับสนุน - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/เกษตรกร ขั้นตอนการทางานของ Single Command บูรณาการประชุมร่วมกัน เพื่อระดมความคิดเห็นวางหลักสูตรให้เหมาะสมในการอบรมเกษตรกรตามชนิดสินค้าหลักและ รองในอาเภอ สังเคราะห์/วิเคราะห์องค์ความรู้อื่นที่เกษตรกรจาเป็นต้องรู้ เช่น บัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพ ทา Action plan ร่วมกันในอบรมเชิงบูรณาการอย่างครบวงจร ก่อนการทาเกษตร เพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์ ขณะทาการเกษตร ดูแล บริหารจัดการหลังเก็บเกี่ยว การตลาด เป้ าหมายให้เกษตรกร รู้ และเข้าใจ แนวทางการขับเคลื่อน หลักสูตร ที่ทาขึ้น เกษตรกร มีองค์ความรู้ - เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการผลิต - คิดอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 33. ขั้นตอน เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ  รวมกลุ่มการผลิต 7.1 แปลงเดิม (ใช้มาตรการแปลงใหญ่) 7.2 แปลงใหม่ (ตามคู่มือแปลงใหญ่ของ กษ. เกษตรกรรวมกลุ่มกันผลิต โดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน เกิด Economy of scale ผลผลิตที่มีคุณภาพ/ได้มาตรฐาน หน่วยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขั้นตอนการทางานของ Single Command แปลงเดิม สหกรณ์จังหวัดวางรูปแบบในการรวมกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง ใช้ขั้นตอนแผนปฏิบัติการแปลงใหญ่ แปลงใหม่ขับเคลื่อนตามแนวทางในคู่มือ กษ แนวทางการขับเคลื่อน - ลดต้นทุน - เพิ่มผลผลิต - การตลาด - การบริหารจัดการ ตามแผนปฏิบัติการ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
  • 35. ส่วนกลาง คิดวิเคราะห์รายได้ให้แก่เกษตรกร เปรียบเทียบกับรายได้จริง สถานการณ์จาลอง ตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด + สศก.เขต คาดการณ์ วิเคราะห์ต้นทุน/ไร่ จากมาตรการของรัฐ - ค่าเช่าที่ดิน 400 บาท - ค่าน้ามัน 800 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์ ข้าวปทุม 750 บาท - ค่าไถ 300 บาท - ค่าปุ๋ ยเคมี 700 บาท - ค่าเก็บเกี่ยว 500 - ค่าแรง 800 บาท รวม 4,250 บาท คาดการณ์วิเคราะห์การขาย (ผลผลิต x ราคา) 439 กก./ไร่ x 15 บาท/กก. รวม 6,585 บาท/ไร่ คาดการณ์วิเคราะห์ รายได้ที่คาดว่าเกษตรกร จะได้รับ รวม 2,335 บาท/ไร่ สถานการณ์จริง สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัด+ สศก.เขต เก็บข้อมูลจริงการขาย (ผลผลิต x ราคา) รายได้ที่เกษตรกร ได้รับจริง กรมตรวจบัญชีสหกรณ์+ สศก. >> ดาเนินการในพื้นที่ แปลงใหญ่ เก็บข้อมูลต้นทุนแท้จริง ที่เกิดขึ้น
  • 36. กระบวนการดาเนินงานการลดต้นทุนและการเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตรปี 2559 มาตรการที่ 1 ลดค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิต 1.1) ค่าปุ๋ ยเคมี 1.2) ค่าสารเคมี 1.3 ) ค่าพันธุ์ 1.4)ค่าอาหารสัตว์น้า/ อาหารสัตว์ 1.5) ค่าแรงงาน/เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Motor pool) 1.6) ค่าเช่าที่ดิน 1.7) ค่าไฟฟ้ า 1.8) ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก 1.9 แหล่งทุนดอกเบี้ยต่า มาตรการที่ 2 เพิ่มผลผลิตต่อไร่ 2.1) พัฒนาดินและปรับปรุงบารุงดิน พัฒนาแหล่งน้า/บ่อน้า/ระบบ บริหารจัดการน้า 2.2) ใช้ปุ๋ ยอินทร์ชีวภาพ 2.3) จัดหาพันธุ์ดีที่เหมาะสม 2.4) ส่งเสริมการปลูก/เลี้ยงสัตว์/บารุงรักษา/เก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เพื่อเข้าสู่มาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรการที่ 3 เพิ่มช่องทางการตลาด นค้าเกษตร 3.3) ชี้แจง/สร้างความเข้าใจข้อมูลด้าน3.1) ให้ความรู้ด้าน การตลาด/จัดทา story สินค้าโดดเด่นของจังหวัด 3.2) การวิเคราะห์อุปสงค์/อุปทาน สิการตลาด/จัดหาตลาดรองรับ 3.4) ส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์/Brand สินค้าโดด เด่น มาตรการที่ 4 เพิ่มการบริหารจัดการ 4.1) ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่ม ถ่ายทอดความรู้/เทคโนโลยี มุ่งสู่เกษตรแบบแปลงใหญ่ 4.2) วางแผนการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 4.3) ส่งเสริมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพ 4.4) ประชุมคณะกรรมการลดต้นทุน ฯ เพื่อติดตามความก้าวหน้า /รายงานผลต่อเนื่อง เป้ าประสงค์ เกษตรกรทั่วไปมีต้นทุนการ ผลิตลดลง ≥12% ผลผลิตและมูลค่าต่อหน่วย เพิ่มขึ้น ≥ 6% ผลผลิตได้มาตรฐานมีตลาด รองรับสินค้าเกษตรที่แน่นอน มีรายได้เพิ่มขึ้นภายใน 2559 ราคาปัจจัยการผลิตลดลง ตามมาตรการ  ราคาปุ๋ ยลดลง 0.80-1.40 บาท/กก.  ราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวลดลง 1 บาท/กก.  ลดค่าบริการเก็บเกี่ยวนวดข้าว 50- 100 บาท/ไร่  ลดค่าสารเคมีการเกษตร 5-10%  ลดค่าเช่าที่นา 200 บาท/ไร่ 1 ลด 3 เพิ่ม
  • 37. ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ที่มีศักยภาพ (S1 และ S2) ปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 และ N) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรตามความเหมาะสมของพื้นที่ ให้เกิดความสมดุลระหว่าง อุปสงค์และอุปทาน ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต Zoning การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เป้ าประสงค์ แนวการปฏิบัติ มาตรการ มาตรการเตรียมความพร้อมและประขาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ มาตรการกาหนดแนวโน้มความต้องการสินค้าเกษตร มาตรการกาหนดพื้นที่เหมาะสมกับการผลิตสินค้าเกษตร มาตรการขับเคลื่อนและส่งเสริมในระดับพื้นที่ มาตรการติดตามประเมินผล
  • 38.
  • 39. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เป้ าประสงค์ เป้ าหมาย  เพื่อพัฒนา ศพก. ให้มีความเข้มแข็ง  เพื่อขยายการให้บริการของ ศพก.  ดาเนินการในพื้นที่ อาเภอละ 1 ศูนย์ รวม 882 ศูนย์ 77 จังหวัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานในสังกัด กษ 15 หน่วยงาน กสก / กวก /กข /พด /ชป /สศก /ปม /สปก กสส / ปศ /กตส /สป กษ / กยท /กมม /สวก กิจกรรมหลักในภาพรวม  การพัฒนาศักยภาพ ศพก.  การให้บริการของ ศพก.  การติดตามประเมินผล ปรับเปลี่ยนได้ ศูนย์ต้องทาคาแนะนาว่า พื้นที่แถวนั้นจะปลูกอะไรได้บ้าง 3 – 4 ชนิด ข้อสังเกต อาจมีศูนย์สาขามาเติม ใช้การตลาดมาพิจารณา นาปราชญ์ชาวบ้านมา MiX
  • 40. 76 จังหวัด 268 จุด แปลงต้นแบบ 76 แปลง แปลงทั่วไป 192 แปลง พื้นที่ดาเนินการ วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อย มีความเข้มแข็ง สามารถบริหาร จัดการการผลิตและการตลาด ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับฟาร์มขนาดใหญ่ และ พัฒนาให้เป็น Smart Farmer เพื่อพัฒนากระบวนการทางาน ส่งเสริมการเกษตรแบบบูรณาการ ของทุกภาคส่วนในพื้นที่ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ ศักยภาพ พื้นที่ และตอบสนองความต้องการ ของเกษตรกร การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
  • 41. www.themegallery.com กิจกรรมดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ ระยะสั้น (พย.58 – กย.59) พัฒนาแปลงต้นแบบ 76 แปลง ระยะยาว (ปี 2560 – 1 ตค.59 เป็นต้นไป) พัฒนาแปลงทั่วไป สร้างความเข้าใจร่วม - ประชุมชี้ แจง พัฒนาทีมผู้จัดการแปลงใหญ่/สร้างผู้จัดการในอนาคต(เกษตรกร) วางแผนการดาเนินงานแปลงใหญ่ วิเคราะห์/วางเป้ าหมายและ แนวทางโดยเกษตรกรสมาชิกมีส่วนร่วมในการจัดทา พัฒนาองค์กรเกษตรกร สนับสนุนการรวมกลุ่ม/พัฒนาสมาชิก ให้เป็น Smart Farmer/เกษตรกรผู้นา (เตรียมเป็น ผจก.ในอนาคต) ดาเนินการในแปลงใหญ่ พัฒนาการผลิตตามแนวทางการลด ต้นทุนการผลิต ขยายผล พัฒนาแปลงทั่วไปการประกวด 76 แปลง(ตค-ธค59) การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ ข้อสังเกต แบ่งกลุ่ม - มีอยู่แล้ว สมบูรณ์ ให้หาวิธีต่อยอดอย่างไรให้สมบูรณ์ที่สุด ไม่สมบูรณ์ ทาอย่างไรให้เป็นแปลงใหญ่สมบูรณ์ - สร้างให้เกิดแปลงใหญ่ ให้ตั้งเป้ าหมายว่าจะรวมแปลงใหญ่ ได้เท่าไร จะทาอย่างไรบ้างให้แปลงใหญ่มีศักยภาพ เมื่อมีแปลงใหญ่แล้ว รัฐต้องส่งเสริมโครงการอะไร เช่น รวมการทางานด้วยเครื่องมือเครื่องจักร รวมซื้ อ รวมขาย สหกรณ์เข้าไปช่วย ต้องมีการขึ้นทะเบียนควบคุม เช่น มีเครื่องจักรอะไร ผลิตอะไร จานวนคนเท่าไร แปลงใหญ่ขาดอะไร – รัฐควรเอาอะไรไปเติม /สนับสนุน **บริหารงาน ตามแนวประชารัฐ
  • 42. การดาเนินงานระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2559 (ระดับแปลง) คน เกษตรกรสมัครใจและพร้อมพัฒนาการผลิต รวมกันไม่น้อยกว่า 50 พื้นที่ 1. กาหนดพื่นที่ 2. วิเคราะห์สภาพพื้นที่ (กายภาพ,ชีวภาพ) 3. จัดทาข้อมูลรายแปลง,ข้อมูลพื้นฐานก่อน ร่วมโครงการ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผล กาหนดเป้ าหมายและจัดทาแผน 1. ลดต้นทุนการผลิต : เช่น ส่งเสริมการใช้ปุ๋ ยตาม วิเคราะห์ดิน การทาปุ๋ ยอินทรีย์/ชีวภาพ/สารชีว ใช้เอง เป็นต้น 2. เพิ่มผลผลิต : เช่น ส่งเสริมการใช้พันธุ์ดี การเขต กรรมที่ถูกต้อง การผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐาน เป็นต้น 3. การบริหารจัดการ : เช่น ร่วมกันหาปัจจัยการ ร่วมกันจัดการผลผลิต พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 4 . การตลาด : เช่น เชื่อมโยงการผลิตการตลาด สารวจความต้องการของตลาด เพิ่มช่องทางการ จาหน่าย เพิ่มอานาจการต่อรอง การเกษตรพันธ สัญญา และจับคู่ธุรกิจ เป็นต้น ดาเนินการตามแผนการโดย พัฒนาแบบมีส่วนร่วม และ บูรณาการกิจกรรมและ งบประมาณของหน่วยงานภาคี 1.ถ่ายทอดความรู้ เช่น การผลิต การบริหารจัดการการผลิต การเงิน การตลาด บัญชี ครัวเรือน เป็นต้น 2.สนับสนุนการรวมกลุ่ม เกษตรกร 3.ประสานจัดหาแหล่งทุน 4.เชื่อมโยงการผลิตการตลาด output 1.ลดต้นทุนการผลิต 2.เพิ่มผลผลิตที่มีคุภภาพ 3.มีช่องทางจาหน่าย ผลผลิตและราคามี เสถียรภาพ 4.เกษตรกรมีการผลิต สินค้าในรูปแบบของกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน/สหกรภ์ หน้าที่ : บูรภาการร่วมกับทีมผู้จัดการแปลง วิเคราะห์เป้ าหมาย จัดทาแผนปฏิบัติการของแปลงใหญ่ สนับสนุนการดาเนินงานตามแผนฯ ทีมการลดต้นทุนการผลิด : สานักงานเกษตรจังหวัดเป็นเจ้าภาพหลัก ร่วมกับ สนง.ประมงจังหวัด สนง.ปศุสัตว์จังหวัดสนง.สหกรภ์จังหวัด สถานีพัฒนาเกษตรที่ดินจังหวัดสนง.ปฏิรูปที่ดินจังหวัด โครงการชลประทาน หน่วยงานสังกัด กวก. กข. 1ม. ที่รับผิดชอบจังหวัด ทีมการบริหารจัดการ : สานักงานเกษตรและสหกรภ์จังหวัดเป็นเจ้าภาพหลัก ร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด สนง.สหกรภ์จังหวัด สนง.ตรวจบัญชีสหกรภ์จังหวัด และหน่วยงานภาคีการพัฒนาอื่นๆ รวมถึงสานักงาน การเกษตรในพื้นที่ (12 สตท.) ทีมการตลาด : สานักงานสหกรภ์จังหวัดเป็นเจ้าภาพหลัก ร่วมกับทีมเศรษฐกิจจังหวัดของภาคเอกชน (สภาหอการค้าจังหวัสภาอุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมธนาคารจังหวัด) สนง.พาภิชย์จังหวัด สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด ทีมสนับสนุน(3ทีม) Single Command ทีมผู้จัดการแปลง สินค้า มีศักยภาพที่จะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจและ เหมาะสมกับพื้นที่
  • 44. ธนาคารสินค้าเกษตร ธนาคารโคนมทดแทน (กรมส่งสริมสหกรณ์) - เพื่อให้สมาชิกลดภาระการเลื้ยงลูกโคในฟาร์ม - สมาชิกมีแม่โคคุณภาพ ทดแทนโคนมปลด ระวาง - สมาชิกลดต้นทุนการผลิต มีรายได้เพิ่ม ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ (กรมพัฒนาที่ดิน) -กระตุ้นให้เห็นประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้ -ร่วมกันผลิตและใช้อย่างต่อเนื่อง เพื่อลดต้นทุน ธนาคารโค – กระบือ (กรมปศุสัตว์) -เพื่อให้เกษตรได้มีโค – กระบือไว้ใช้ แรงงานเพิ่มผลผลิต เพิ่มรายได้ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว ชุมชน (กรมการข้าว) -ชาวนาในชุมชนมีเมล็ดพันธุ์ข้าวดีใช้ เพียงพอ -ชาวนามีเมล็ดพันธุ์ข้าวสรองใช้ในชุมชน ธนาคารข้าวสถาบัน เกษตรกร (กรมส่งเสริมสหกรณ์) - ฝากข้าวเปลือก / ถอนข้าวสาร - ยืมปัจจัยการผลิต/ชาระคืนด้วยข้าวเปลือก มาตรการ 1 เพิ่มขีดความสามารถ ธนาคารสินค้าเกษตร (กลุ่มเดิม) มาตรการ 2 ขยายผลการจัดตั้ง ธนาคารสินค้าเกษตร เพื่อชุมชนตามความพร้อม (รายใหม่) มาตรการ 3 จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร ในสถาบันเกษตรกร - ฝากข้าวเปลือก / ถอนข้าวสาร - ยืมปัจจัยการผลิต/ชาระคืนด้วย ข้าวเปลือก โครงการ วัตถุประสงค์
  • 45. กิจกรรมที่ดาเนินการปี 2559 ธนาคารโคนมทด แทน ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ 1. คัดเลือกสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 2. สหกรณ์รับฝากเลี้ยงลูกโคเพศ เมียจากสมาชิก แล้วให้ถอนคืน เป็ น โคสาวท้องและพร้อมรีดนม ธนาคารโค – กระบือ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ ข้าวชุมชน 67.51 ล้าน บาท ธนาคารข้าวสถาบัน เกษตรกร โครงการ วัตถุประสงค์ งบประมาณ 6.867 ล้าน บาท 5.792 ล้าน บาท 13.566 ล้าน บาท 100,000 บาท 1. ติดตามการเลี้ยงโค – กระบือที่ เกษตรกรได้รับแล้ว 109,000 ตัว 2. ส่งเสริมเกษตรกรรายใหม่ให้มีโค – กระบือใช้เพื่อการเกษตร เพิ่มเติม 9,000 ตัว 3. ส่งเสริมการจัดการแบบรวมกลุ่ม 1. ส่งเสริมการดาเนินงานและเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน 2. ส่งเสริมการจัดตั้งเมล็ดพันธุ์ข้าว เฉพาะถิ่น/ข้าวสี 1. สนับสนุนให้เกษตรกรนาวัสดุ เหลือใช้มาผลิตเป็ นปุ๋ ยอินทรีย์ 2. คัดเลือกธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ ต้นแบบ สหกรณ์ 3 แห่ง 1. เกษตรกรที่มีโค – กระบือเดิม เพื่อใช้แรงงาน 109,000 ตัว 2. เกษตรกรรายใหม่ ได้รับโค – กระบือจากการบริจาค9,000 ตัว 3. มีกลุ่มเกษตรกรตัวอย่างที่ประสบ ความสาเร็จ 1. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน 70 แห่ง 2. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน (ข้าวเฉพาะถิ่น/ข้าวสี) 3 แห่ง 1. ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ 87 แห่ง 2. ธนาคารปุ๋ ยอินทรีย์ต้นแบบ 12 แห่ง 1. จัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบัน เกษตรกร 2. สนับสนุนการดาเนินงานตาม รูปแบบธนาคาร ธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร 10 แห่ง หน่วยงาน รับผิดชอบ กรม พัฒนาที่ดิน หน่วยงานรับผิดชอบ กรมปศุสัตว์ หน่วยงานบูรณาการ สานักงาน พระพุทธศาสนา แห่งชาติ หน่วยงานรับผิดชอบ กรมการข้าว หน่วยงานบูรณาการ กรมส่งเสริม การเกษตร หน่วยงานรับผิดชอบ กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานบูรณาการ กรมปศุสัตว์ หน่วยงานรับผิดชอบ กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานบูรณาการ กรมตรวจบัญชี สหกรณ์ ** กรมส่งเสริมสหกรณ์จะสนับสนุนงบประมาณเป็ นค่าใช้จ่ายให้จังหวัดละ 5,000 บาท
  • 46.
  • 47. ข้อมูลศักยภาพการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง มะม่วง ความเหมาะสม S1 = 2,209,887ไร่ S2 = 13,199 ไร่ N = 4,346,014 ไร่ S1 = 1,052,799 ไร่ S2 = 439,540 ไร่ N = 5,076.761 ไร่ S1 = 1,204,719ไร่ S2 = 336,549ไร่ N = 5,027,831ไร่ S1 = 1,344,286 ไร่ S2 = 350,664 ไร่ N = 4,874,150 ไร่ ผลผลิตรวม (ตัน/ปี) 798,392 182,192 529,120 8,918 ตลาด โรงสี 46 โรง กาลังการผลิต 568,912 ตัน/ปี จุดรับซื้ อผลผลิต ใน พื้นที่ 52 จุด รองรับ ผลผลิต 50,000ถึง 80,000 ตัน/ปี โรงแป้ ง 5 โรง โรงทาเส้นอาหาร 2 โรง ลานมัน 20 แห่ง กาลังการผลผลิต 1 ล้านตัน/ปี โรงคัดแยก18 โรง กาลังการผลิต 5,000 ตัน/ปี ข้าว 1,371,808 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 273,458 ไร่ มันสาปะหลัง 170,491 ไร่ มะม่วง 81,178 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ
  • 48. ที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดพิษณุโลก ต.ท่าช้าง การลดต้นทุนการผลิตข้าว นางเสน่ห์ เรืองดี ต.จอมทอง อ.เมือง การลดต้นทุนการผลิตข้าว นายเกษม โตมา ต.นิคมพัฒนา การลดต้นทุนการผลิตข้าว นางพชรกมล เหลืองทอง ต.บางกระทุ่ม การปลูกกล้วยน้าว้าพันธุ์มะลิอ่อง น.ส.ศิลาพร สิงหลักษณ์ ต.ไทรย้อย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว นายจันที ชมภูมี ต.ท่างาม การลดต้นทุนการผลิตข้าว นางจรูญ ราชบรรจง ต.ชัยนาม การพัฒนาคุณภาพมะม่วงเพื่อการส่งออก นายเสาร์ ปรีชาวนา ต.หนองกระท้าว การผลิตสับปะรดคุณภาพตรงตามความต้องการของ โรงงาน นายสมชาติ พิมพ์หอม ต.สวนเมี่ยง การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง นางวิลาวัลย์ จันทะวงษ์ จานวน 9 ศูนย์ฯ
  • 50. ศักยภาพการผลิตมะม่วง ในเขตพื้นที่เป้ าหมายส่งเสริม มะม่วงแปลงใหญ่ ตาบลชัยนาม อาเภอวังทอง ที่ หมู่ เกษตรกร (ราย) พื้นที่ปลูก (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย (ตัน/ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน/ปี) โรงคัดแยก (แห่ง) 1 หมู่ที่ 4 36 700 1.4 980 1 2 หมู่ที่ 6 36 300 1.4 420 1 3 หมู่ที่ 9 68 1,350 1.5 2,025 2 รวม 140 2,350 - 3,425 4 เป้ าหมาย แปลงใหญ่ 900 ไร่
  • 51. การส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง) ตาบล ชัยนาม อาเภอวังทอง ระดับความเหมาะสม S1 + S2 = 4,403 ไร่ N = 17,236 ไร่ รวม = 21,639 ไร่ เป้ าหมายการส่งเสริม เกษตรกร 79 ราย พื้นที่ 900 ไร่ พิกัดแปลงมะม่วงรายเกษตรกร หมู่ 4 26 ราย 160 ไร่ หมู่ 9 47 ราย 645 ไร่ หมู่ 6 6 ราย 117 ไร่
  • 52. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่ สินค้าคน - อุณหภูมิ เฉลี่ย สูงสุด 38.1 c ต่าสุด 16.7 c - ปริมาณน้าฝน เฉลี่ย ปี 2557 = 1282.2 มม./ปี จานวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยต่อปี 157 วัน -ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การปลูกมะม่วง (ชุดดินที่38) - มะม่วงน้าดอกไม้สี ทองมีการปลูกมากใน พื้นที่และเริ่มนิยมทา นอกฤดู - มีตลาดรองรับใน พื้นที่และมีโอกาสทาง การค้าสูงเพราะ ต่างประเทศยัง ต้องการในปริมาณมาก - ชุมชน/ผู้นาชุมชน มีความ เข้มแข็งและสามัคคี มีการ รวมกลุ่มกันทาการเกษตร - เกษตรกรมีประสบการณ์ ในด้านการผลิตมะม่วง - เกษตรกรพร้อมรับการ ส่งเสริมและพัฒนาใน แนวทางที่เป็นไปได้ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร มะม่วงแปลงใหญ่
  • 53. การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต รายการ บาท/ต้น บาท/ไร่ หมายเหตุ - ค่าแรงงานตัดแต่งกิ่ง - ค่าปุ๋ ยทางดิน - ค่าปุ๋ ยทางใบ - ค่าสารเคมี - ค่าสารแพคโคลบิวทราโซล - ค่าถุงห่อผล 100 ผล/ต้น - ค่าแรงงานอื่นๆ 15 70 10 120 10 120 20 750 3,500 500 6,000 500 6,000 1,000 รวมต้นทุน 365 18,250 - ผลผลิต - ราคาจาหน่าย 700 กิโลกรัมๆ ละ 50 บาท 400 กิโลกรัมๆ ละ 30 บาท 400 กิโลกรัมๆ ละ 20 บาท รวมรายได้ กาไร (55,000-18,250) 30 กก./ต้น 1,500 กก./ไร่ 35,000 12,000 8,000 55,000 บาท/ไร่ 31,750 บาท/ไร่ ถ้าเกษตรกร ปลูกมะม่วง 20 ไร่ จะมี - รายได้ 1,100,000 บาท - ต้นทุน 365,000 บาท - กาไร 735,000 บาท ต้นทุนการผลิต (50 ต้น/1 ไร่)
  • 54.
  • 55. แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนากระบวนการผลิต ให้สอดคล้องกับตลาด 2. บริหารจัดการใช้ปัจจัย การผลิตร่วมกัน 3. พัฒนาคุณภาพผลผลิต ให้ได้มาตรฐาน GAP 4. เชื่อมโยงตลาดและ สร้างเครือข่าย เป้ าหมาย 1. มีพื้นที่ผลิตมะม่วงส่งออก ได้มาตรฐาน GAP จานวน 900 ไร่ เกษตร จานวน 79 ราย 2. มีผลผลิตมะม่วงส่งออก ตามมาตรฐาน 1,300 ตัน / ปี 3. ต้นทุนการผลิตลดลง ร้อยละ 10 4. ได้รับการยอมรับจาก คู่ค้าต่างประเทศ (ด้านคุณภาพ) 5. เพิ่มปริมาณส่งออก ผลผลิตจาก 700ตัน/ปี เป็น 800ตัน/ปี เทคโนโลยี 1. ปรับปรุงบารุงดิน 2. ใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 3. เทคนิคการเตรียมต้น 4. เทคนิคราดสารและดึงดอก 5. จัดการศัตรูพืชถูกต้อง 6. ใช้สารเคมีเหมาะสม 7. จัดการหลังการเก็บเกี่ยว เหมาะสม 8. สุ่มตรวจสารพิษตกค้าง ในผลผลิตก่อนเก็บเกี่ยว 9. เชื่อมโยงตลาดซื้ อขาย ผลผลิตมะม่วงนอกฤดู แบบมีพันธะสัญญา 10.สร้างเครือข่าย ซื้ อ-ขาย ผลผลิตมะม่วง
  • 56. แนวทางการดาเนินงาน ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (พื้นที่เป้ าหมาย 900 ไร่) - ปรับปรุงบารุงดิน -เทคนิคการเตรียมต้น - เทคนิคการดึงดอก-เทคนิคการให้ปุ๋ ยทางใบ - การจัดการศัตรูพืช-การเก็บเกี่ยวถูกต้อง - การคัดแยกผลผลิต-จัดซื้ อปัจจัยร่วมกัน การแปรรูปและคัดแยก เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต เชื่อมโยงเครือข่าย การผลิตและการตลาด - เพิ่มผลผลิตมะม่วงเกรด A จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่ - เพิ่มพื้นที่ปลูกมะม่วงนอกฤดู ตามมาตรฐาน GAP จาก 35 เป็น 79 ราย พัฒนาคัดแยกเกรดผลผลิต มะม่วง จานวน 3 เกรด - เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิต - เพื่อลดการสูญเสียและปนเปื้ อน ของโรคก่อนการส่งออก - เกิดเครือข่ายผู้ผลิต มะม่วงนอกฤดูส่งออก - เชื่อมโยงการตลาด บริษัทสวิฟท์ จากัด บริษัทซีพี ไดธ์มอน จากัด มะม่วงเกรด A จานวน 200 ตัน มะม่วงเกรด B จานวน 500 ตัน รวมมูลค่า 25 ล้านบาท
  • 57. ผลการดาเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง) อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558 กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา รับสมัคร / จัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน / จับพิกัดแปลง เกษตรกร 79 ราย พื้นที่ 900 ไร่ ม.ค. 2558 ถึง มี.ค. 2558 พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม คุณภาพและลดต้นทุน -เกรด A จาก 700 เป็น 800 กก./ไร่ ผลผลิตส่งออก จาก 700 เป็น 800 ตัน/ปี -รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล จานวน 10,000 ใบ มี.ค. 2558 ถึง ธ.ค. 2558 เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดย รับรองมาตรฐาน GAP เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด ม.ค. 2558 ถึง ก.พ. 2559 เชื่อมโยงการการตลาด ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 58/59 จานวน 200 ตัน ธ.ค. 2558 ถึง ก.พ. 2559
  • 58. แผนปฏิบัติงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (มะม่วง) อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปี 2559 กิจกรรม เป้ าหมาย ระยะเวลา พัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่ม คุณภาพและลดต้นทุน -เกรด A จาก 800 เป็น 900 กก./ไร่ ผลผลิตส่งออก จาก 800 เป็น 850 ตัน/ปี -รวมกันจัดซื้อปัจจัยการผลิตถุงห่อผล จานวน 20,000 ใบ มี.ค. 2559 ถึง ธ.ค. 2559 เพิ่มมูลค่าผลผลิตโดยการ รับรองมาตรฐาน Gap แบบกลุ่ม Gap อาเซียน ม.ค. 2559 ถึง ก.พ. 2560 เชื่อมโยงการการตลาด ทาสัญญาซื้ อ-ขายกับ บริษัท สวิฟท์ จากัดในปี 59/60 จานวน 250 ตัน ธ.ค. 2558 ถึง ก.พ. 2559
  • 59. ส่วนกลาง ระบบการติดตามงาน รองปลัดกระทรวง กากับดูแล คทง. ปฏิบัติการ ขับเคลื่อนงานตามนโยบาย ลดต้นทุน สศก. โซนนิ่ง พด. แปลงใหญ่ กสก. เกษตรอินทรีย์ มกอช. ศูนย์เรียนรู้ กสก. ธนาคารสินค้าเกษตร กสส. ส่วนกลาง ผู้ช่วยปลัด กษ. นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ ความ คืบหน้า ข้อเสนอแนะ ผู้ช่วยปลัด กษ. (นายรัตนะ สวามีชัย) รองปลัดกระทรวง ผู้ตรวจราชการ กระทรวง ปลัด กษ. รองศักดิ์ชัย ภาคเหนือ รองบริสุทธิ์ ภาคตอ/น. รองเลิศ วิโรจน์ กลาง,ตอ. รองโอภาส ภาคใต้ เขตตรวจ 15,16,17 เขตตรวจ 10, 11,12,13,1 4 เขตตรวจ 1,2 3,4,5,9,18 เขตตรวจ 6,7,8 ผู้ตรวจราชการ กษ. สนับสนุนการติดตามงาน/แก้ไขปัญหาพื้นที่ ส่วนภูมิภาค คกก. ขับเคลื่อนนโยบายของกษ. แบบเบ็ดเสร็จ กลุ่มที่ 1 (36 จังหวัด) กษ.จว. กลุ่มที่ 2 (16 จังหวัด) เกษตร จว. กลุ่มที่ 3 (10 จังหวัด) ปศ.จว. กลุ่มที่ 4 (8 จังหวัด) สหกรณ์จว. กลุ่มที่ 5 (7จังหวัด) ปม.จว. กาหนดเป้ าหมาย วางแผนปฏิบัติ บูรณาการทางาน ในพื้นที่