SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
สถิติเบื้องต้นข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
หมายถึงข้อเท็จจริงของเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เราสนใจจะศึกษาซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ –
จานวนคนที่เป็นโรคหัวใจในแต่ละเดือน–ปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยในปีนี้เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว
การจาแนกข้อมูล
1.ข้อมูลที่จาแนกตามลักษณะของข้อมูลแบ่งเป็น2 ประเภท
1.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ
คือข้อมูลที่ใช้แทนขนาดหรือปริมาณวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขที่สามารถนามาใช้เปรียบเทียบขนาดได้โดยตรง
1.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพคือข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขโดยตรงได้ แต่วัดออกมาในเชิงคุณภาพได้ เช่น
เพศของสมาชิกในครอบครัวซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลประเภทนี้
ส่วนใหญ่ทาโดยการนับจานวนจาแนกตามลักษณะเชิงคุณภาพ
2. ข้อมูลจาแนกตามวิธีการเก็บรวบรวม
2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมจากผู้ที่ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาโดยตรง
2.1.1 การสามะโนคือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยของประชากรที่ต้องการศึกษา
2.1.2 การสารวจจากกลุ่มตัวอย่างคือ
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกลักษณะของประชากรที่ต้องการศึกษาในทางปฏิบัติ
ไม่ว่าจะทาการสามะโนหรือการสารวจนิยมปฏิบัติอยู่5 วิธีคือ
1. การสัมภาษณ์ นิยมใช้กันมากเพราะจะได้คาตอบทันทีนอกจากนี้หากผู้ตอบไม่เข้าใจก็สามารถอธิบายเพิ่มเติมได้
แต่ผู้สัมภาษณ์ต้องซื่อสัตย์และเข้าใจจุดมุ่งหมายของการเก็บข้อมูลอย่างแท้จริง
2. การแจกแบบสอบถามวิธีนี้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมาก สะดวกและสบายใจต่อการตอบแบบสอบถาม
แต่ก็มีข้อเสียหลายประการเช่นต้องใช้ในเฉพาะที่มีการศึกษามีไปรษณีย์ไปถึงคาถามต้องชัดเจน
อาจจะไม่ได้รับคืนตามเวลาหรือจานวนที่ต้องการจึงต้องส่งแบบสอบถามออกไปเป็นจานวนมากๆ
หรือไปแจกและเก็บด้วยตนเอง
3. การสอบถามทางโทรศัพท์เป็นวิธีที่ง่ายเสียค่าใช้จ่ายน้อยต้องเป็นการสัมภาษณ์อย่างสั้นๆ
ตอบได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาค้นหาหลักฐานใช้ได้เฉพาะส่วนที่มีโทรศัพท์เท่านั้น
4. การสังเกตเป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแล้วบันทึกสิ่งที่เราสนใจเอาไว้
ต้องใช้การสังเกตเป็นช่วงๆของเวลาอย่างต่อเนื่องกัน
ข้อมูลจะน่าเชื่อถือได้มากน้อยขึ้นอยู่กับความเข้าใจและความชานาญของผู้สังเกต เช่นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการต่างๆ
เช่น บริการรถโดยสารการบริการสหกรณ์ ความหนาแน่นของการใช้ถนนสายต่างๆเป็นต้น
วิธีนี้นิยมใช้ประกอบกับการเก็บข้อมูลวิธีอื่นๆ
5. การทดลองเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีการทดลองซึ่งมักจะใช้เวลาในการทดลองนานๆทาซ้าๆ
2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ที่ให้ข้อมูลหรคือแหล่งที่มาโดยตรง
แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว
3. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิแหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สาคัญมีอยู่2แหล่ง คือ
1. รายงานต่างๆของหน่วยราชการและองค์การของรัฐบาลเช่นทะเบียนประวัติบุคลากรประวัติคนไข้
ทะเบียนนักเรียนนักศึกษาเป็นต้น
2. รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน
ซึ่งจะมีการพิมพ์เผยแพร่เฉพาะในส่วนของข้อมูลที่เผยแพร่ได้ในรูปของรายงานต่างๆ การนาเสนอข้อมูลสถิติ(Statistical
Presentation) การนาเสนอข้อมูลสถิติแบ่งออกเป็น2แบบใหญ่ ๆ คือ1) การนาเสนอข้อมูลสถิติโดยปราศจากแบบแผน
(Informal Presentation)
1.1 การนาเสนอข้อมูลสถิติเป็นบทความ
1.2 การนาเสนอข้อมูลสถิติเป็นบทความกึ่งตาราง2) การนาเสนอข้อมูลสถิติโดยมีแบบแผน(Formal Presentation)
2.1 การเสนอข้อมูลสถิติด้วยตาราง
2.2 การเสนอข้อมูลสถิติด้วยกราฟและรูป
1.2.1 การนาเสนอข้อมูลสถิติด้วยตาราง(TabularPresentation)
1.2.2 การนาเสนอข้อมูลสถิติด้วยกราฟและรูป(Graphic Presentation) เทคนิคการนาเสนอข้อมูลสถิติด้วยกราฟและรูป
1. เมื่อต้องการเสนอข้อมูลสถิติโดยข้อมูลที่จะนาเสนอนั้นมีเพียงชุดเดียว
1.1 แผนภูมิแท่งเชิงเดียว(Simple BarChar สถิติ(Statistic)
1. สถิติ หมายถึง
1.) ตัวเลขแทนปริมาณจานวนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้
เช่นต้องการทราบปริมาณน้าฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น 2)
ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคานวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์
เช่นคานวณหาค่าเฉลี่ยค่าความแปรปรวนค่าที่คานวณได้เรียกว่าค่าสถิติ(A Statistic) ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า
ค่าสถิติหลายๆค่า(Statistics) 3) วิชาการแขนงหนึ่งที่จัดเป็นวิชาวิทยาศาสตร์
และเป็นทั้งวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์
และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธีการสถิติอันประกอบไปด้วยขั้นตอน4ขั้นตอนที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 1.
การเก็บรวบรวมข้อมูล(Collectionof Data)
2. การนาเสนอข้อมูล(Presentationof Data)
3. การวิเคราะห์ข้อมูล(Analysisof Data)
4. การตีความหมายของข้อมูล(Interpretationof Data)
2. ข้อมูล(Data) หมายถึงรายละเอียดข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆทั้งที่เป็นรูปธรรม
และนามธรรมซึ่งตรงกับสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา
3. ประเภทของวิชาสถิติแบ่งประเภทตามลักษณะของข้อมูลได้เป็นสองประเภทคือ
3.1 สถิติเชิงอนุมาน(InductiveStatistics) หมายถึง
สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเพียงบางส่วนของข้อมูลทั้งหมด
3.2 สถิติเชิงบรรยาย(Descriptive Statistics) หมายถึงสถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
4. การนาเสนอข้อมูลหมายถึงการจัดระบบข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่เป็นประเภทตามลักษณะของการวิจัย
เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปล ความหมายของข้อมูล
5. การแจกแจงความถี่ (Frequencydistributiontable) จาแนกออกเป็น2 ลักษณะคือ
5.1 แจกแจงข้อมูลเป็นตัวๆ ไปใช้กับข้อมูลดิบที่มีจานวนไม่มากนัก
5.2 แจกแจงข้อมูลเป็นช่วงคะแนน(อันตรภาคชั้น)เช่น คะแนน จานวนนักเรียน20-29 30-39 40-49 50-59 60-69
รวม8 12 17 10 8 55 หลักการสร้างตารางแจกแจงความถี่
1. พิจารณาจานวนข้อมูลดิบทั้งหมดว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด
2. หาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของข้อมูลดิบที่มีอยู่
3. หาค่าพิสัยของข้อมูลนั้นจากสูตรพิสัย=ค่าสูงสุด- ค่าต่าสุด
4. พิจารณาว่าจะแบ่งเป็นกี่ชั้น(นิยม5 - 15 ชั้น)
5. หาความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นจากสูตร ความกว้างของอันตรภาคชั้น=พิสัยจานวนชั้น นิยมปรับค่าให้เป็น 5
หรือ10
6. ฮิสโตแกรม(Histogram) หรือแท่งความถี่ คือการแจกแจงความถี่ข้อมูลโดยใช้กราฟแท่ง
เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมของข้อมูลมากยิ่งขึ้นและง่ายต่อการ วิเคราะห์หรือตีความหมายข้อมูล
7. ค่ากลางของข้อมูลมีทั้งหมด6 ชนิด
7.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmeticmean)
7.2 มัธยฐาน(median)
7.3 ฐานนิยม(mode)
7.4 ตัวกลางเรขาคณิต(geometricmean)
7.5 ตัวกลางฮาโมนิค(harmonicmean)
7.6 ตัวกึ่งกลางพิสัย(mid-range)
8. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmeticmean) หลักในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
1. นาข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน
2. นาผลรวมที่ได้จากข้อ1 มาหารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด3.ผลหารที่ได้ในข้อ2 คือ ค่าเฉลี่ย
9. มัธยฐาน(median) คือค่ากลางของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดหลัง
จากเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมากหรอจากมากไปน้อย ตัวอย่างจงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล3, 7 19, 25, 12, 18 ,
10 วิธีทาเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ 3, 7, 10, 12, 18, 19, 25 ข้อมูลมีทั้งหมด 7
ตัวเรียงข้อมูลแล้วตัวเลขที่อยู่ตรงกลางคือตัวเลขตาแหน่งที่4ตัวเลขตาแหน่งที่4 คือ 12 เป็นมัธยฐาน10.
ฐานนิยม(mode) คือค่ากลางของข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในชุดข้อมูลนั้นตัวอย่างจงหาฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้3,2, 5,
3, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 5 วิธีทาข้อมูลมี 2 จานวน1 ค่า มี 3 จานวน 8 ค่า มี 5 จานวน 2 ค่าฐานนิยมของข้อมูลคือ3
รายชื่อ
นางสาวกันตินันท์ รักสมวงษ์ เลขที่ 18
นางสาวณิชกานต์ บงกชโสภิช เลขที่ 19
นางสาวปิยกาญจน์ จุฑามณี เลขที่20
นางสาวหทัยชนก เกศราช เลขที่22
นางสาวณัฐวดี สังข์ศิลป์ ชัย เลขที่29
ชั้น ม.6/4

Más contenido relacionado

Más de Kittipong Joy

สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordสร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
Kittipong Joy
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
Kittipong Joy
 

Más de Kittipong Joy (9)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
#1
#1#1
#1
 
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์''กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
มายแมป
มายแมปมายแมป
มายแมป
 
ปราย (1)
ปราย (1)ปราย (1)
ปราย (1)
 
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordสร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
 

สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล

  • 1. สถิติเบื้องต้นข้อมูลสถิติหรือข้อมูล หมายถึงข้อเท็จจริงของเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เราสนใจจะศึกษาซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ – จานวนคนที่เป็นโรคหัวใจในแต่ละเดือน–ปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยในปีนี้เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว การจาแนกข้อมูล 1.ข้อมูลที่จาแนกตามลักษณะของข้อมูลแบ่งเป็น2 ประเภท 1.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ คือข้อมูลที่ใช้แทนขนาดหรือปริมาณวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขที่สามารถนามาใช้เปรียบเทียบขนาดได้โดยตรง 1.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพคือข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขโดยตรงได้ แต่วัดออกมาในเชิงคุณภาพได้ เช่น เพศของสมาชิกในครอบครัวซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลประเภทนี้ ส่วนใหญ่ทาโดยการนับจานวนจาแนกตามลักษณะเชิงคุณภาพ 2. ข้อมูลจาแนกตามวิธีการเก็บรวบรวม 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมจากผู้ที่ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาโดยตรง 2.1.1 การสามะโนคือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยของประชากรที่ต้องการศึกษา 2.1.2 การสารวจจากกลุ่มตัวอย่างคือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกลักษณะของประชากรที่ต้องการศึกษาในทางปฏิบัติ ไม่ว่าจะทาการสามะโนหรือการสารวจนิยมปฏิบัติอยู่5 วิธีคือ 1. การสัมภาษณ์ นิยมใช้กันมากเพราะจะได้คาตอบทันทีนอกจากนี้หากผู้ตอบไม่เข้าใจก็สามารถอธิบายเพิ่มเติมได้ แต่ผู้สัมภาษณ์ต้องซื่อสัตย์และเข้าใจจุดมุ่งหมายของการเก็บข้อมูลอย่างแท้จริง 2. การแจกแบบสอบถามวิธีนี้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมาก สะดวกและสบายใจต่อการตอบแบบสอบถาม แต่ก็มีข้อเสียหลายประการเช่นต้องใช้ในเฉพาะที่มีการศึกษามีไปรษณีย์ไปถึงคาถามต้องชัดเจน อาจจะไม่ได้รับคืนตามเวลาหรือจานวนที่ต้องการจึงต้องส่งแบบสอบถามออกไปเป็นจานวนมากๆ หรือไปแจกและเก็บด้วยตนเอง 3. การสอบถามทางโทรศัพท์เป็นวิธีที่ง่ายเสียค่าใช้จ่ายน้อยต้องเป็นการสัมภาษณ์อย่างสั้นๆ ตอบได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาค้นหาหลักฐานใช้ได้เฉพาะส่วนที่มีโทรศัพท์เท่านั้น 4. การสังเกตเป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแล้วบันทึกสิ่งที่เราสนใจเอาไว้ ต้องใช้การสังเกตเป็นช่วงๆของเวลาอย่างต่อเนื่องกัน
  • 2. ข้อมูลจะน่าเชื่อถือได้มากน้อยขึ้นอยู่กับความเข้าใจและความชานาญของผู้สังเกต เช่นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการต่างๆ เช่น บริการรถโดยสารการบริการสหกรณ์ ความหนาแน่นของการใช้ถนนสายต่างๆเป็นต้น วิธีนี้นิยมใช้ประกอบกับการเก็บข้อมูลวิธีอื่นๆ 5. การทดลองเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีการทดลองซึ่งมักจะใช้เวลาในการทดลองนานๆทาซ้าๆ 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ที่ให้ข้อมูลหรคือแหล่งที่มาโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว 3. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิแหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สาคัญมีอยู่2แหล่ง คือ 1. รายงานต่างๆของหน่วยราชการและองค์การของรัฐบาลเช่นทะเบียนประวัติบุคลากรประวัติคนไข้ ทะเบียนนักเรียนนักศึกษาเป็นต้น 2. รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน ซึ่งจะมีการพิมพ์เผยแพร่เฉพาะในส่วนของข้อมูลที่เผยแพร่ได้ในรูปของรายงานต่างๆ การนาเสนอข้อมูลสถิติ(Statistical Presentation) การนาเสนอข้อมูลสถิติแบ่งออกเป็น2แบบใหญ่ ๆ คือ1) การนาเสนอข้อมูลสถิติโดยปราศจากแบบแผน (Informal Presentation) 1.1 การนาเสนอข้อมูลสถิติเป็นบทความ 1.2 การนาเสนอข้อมูลสถิติเป็นบทความกึ่งตาราง2) การนาเสนอข้อมูลสถิติโดยมีแบบแผน(Formal Presentation) 2.1 การเสนอข้อมูลสถิติด้วยตาราง 2.2 การเสนอข้อมูลสถิติด้วยกราฟและรูป 1.2.1 การนาเสนอข้อมูลสถิติด้วยตาราง(TabularPresentation) 1.2.2 การนาเสนอข้อมูลสถิติด้วยกราฟและรูป(Graphic Presentation) เทคนิคการนาเสนอข้อมูลสถิติด้วยกราฟและรูป 1. เมื่อต้องการเสนอข้อมูลสถิติโดยข้อมูลที่จะนาเสนอนั้นมีเพียงชุดเดียว 1.1 แผนภูมิแท่งเชิงเดียว(Simple BarChar สถิติ(Statistic) 1. สถิติ หมายถึง 1.) ตัวเลขแทนปริมาณจานวนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้ เช่นต้องการทราบปริมาณน้าฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น 2) ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคานวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์
  • 3. เช่นคานวณหาค่าเฉลี่ยค่าความแปรปรวนค่าที่คานวณได้เรียกว่าค่าสถิติ(A Statistic) ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า ค่าสถิติหลายๆค่า(Statistics) 3) วิชาการแขนงหนึ่งที่จัดเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และเป็นทั้งวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธีการสถิติอันประกอบไปด้วยขั้นตอน4ขั้นตอนที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล(Collectionof Data) 2. การนาเสนอข้อมูล(Presentationof Data) 3. การวิเคราะห์ข้อมูล(Analysisof Data) 4. การตีความหมายของข้อมูล(Interpretationof Data) 2. ข้อมูล(Data) หมายถึงรายละเอียดข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรมซึ่งตรงกับสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา 3. ประเภทของวิชาสถิติแบ่งประเภทตามลักษณะของข้อมูลได้เป็นสองประเภทคือ 3.1 สถิติเชิงอนุมาน(InductiveStatistics) หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเพียงบางส่วนของข้อมูลทั้งหมด 3.2 สถิติเชิงบรรยาย(Descriptive Statistics) หมายถึงสถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 4. การนาเสนอข้อมูลหมายถึงการจัดระบบข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่เป็นประเภทตามลักษณะของการวิจัย เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปล ความหมายของข้อมูล 5. การแจกแจงความถี่ (Frequencydistributiontable) จาแนกออกเป็น2 ลักษณะคือ 5.1 แจกแจงข้อมูลเป็นตัวๆ ไปใช้กับข้อมูลดิบที่มีจานวนไม่มากนัก 5.2 แจกแจงข้อมูลเป็นช่วงคะแนน(อันตรภาคชั้น)เช่น คะแนน จานวนนักเรียน20-29 30-39 40-49 50-59 60-69 รวม8 12 17 10 8 55 หลักการสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1. พิจารณาจานวนข้อมูลดิบทั้งหมดว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด 2. หาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของข้อมูลดิบที่มีอยู่ 3. หาค่าพิสัยของข้อมูลนั้นจากสูตรพิสัย=ค่าสูงสุด- ค่าต่าสุด 4. พิจารณาว่าจะแบ่งเป็นกี่ชั้น(นิยม5 - 15 ชั้น)
  • 4. 5. หาความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นจากสูตร ความกว้างของอันตรภาคชั้น=พิสัยจานวนชั้น นิยมปรับค่าให้เป็น 5 หรือ10 6. ฮิสโตแกรม(Histogram) หรือแท่งความถี่ คือการแจกแจงความถี่ข้อมูลโดยใช้กราฟแท่ง เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมของข้อมูลมากยิ่งขึ้นและง่ายต่อการ วิเคราะห์หรือตีความหมายข้อมูล 7. ค่ากลางของข้อมูลมีทั้งหมด6 ชนิด 7.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmeticmean) 7.2 มัธยฐาน(median) 7.3 ฐานนิยม(mode) 7.4 ตัวกลางเรขาคณิต(geometricmean) 7.5 ตัวกลางฮาโมนิค(harmonicmean) 7.6 ตัวกึ่งกลางพิสัย(mid-range) 8. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmeticmean) หลักในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1. นาข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน 2. นาผลรวมที่ได้จากข้อ1 มาหารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด3.ผลหารที่ได้ในข้อ2 คือ ค่าเฉลี่ย 9. มัธยฐาน(median) คือค่ากลางของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดหลัง จากเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมากหรอจากมากไปน้อย ตัวอย่างจงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล3, 7 19, 25, 12, 18 , 10 วิธีทาเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ 3, 7, 10, 12, 18, 19, 25 ข้อมูลมีทั้งหมด 7 ตัวเรียงข้อมูลแล้วตัวเลขที่อยู่ตรงกลางคือตัวเลขตาแหน่งที่4ตัวเลขตาแหน่งที่4 คือ 12 เป็นมัธยฐาน10. ฐานนิยม(mode) คือค่ากลางของข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในชุดข้อมูลนั้นตัวอย่างจงหาฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้3,2, 5, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 5 วิธีทาข้อมูลมี 2 จานวน1 ค่า มี 3 จานวน 8 ค่า มี 5 จานวน 2 ค่าฐานนิยมของข้อมูลคือ3
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. รายชื่อ นางสาวกันตินันท์ รักสมวงษ์ เลขที่ 18 นางสาวณิชกานต์ บงกชโสภิช เลขที่ 19 นางสาวปิยกาญจน์ จุฑามณี เลขที่20 นางสาวหทัยชนก เกศราช เลขที่22 นางสาวณัฐวดี สังข์ศิลป์ ชัย เลขที่29 ชั้น ม.6/4