SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
แบบฝึก เสริม ประสบการณ์ส าระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน
                    (ชีว วิท ยาพื้น ฐาน)
    บทที่ 1 เรื่อ ง ดุล ยภาพของสิ่ง มีช ีว ิต (ชุด ที่ 1)

1. ศึกษาแผนภาพแสดงโครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง (ใน
หนังสือเรียน) แล้วตอบคำาถาม
      - เซลล์นี้เป็นเซลล์พืชหรือเซลล์สัตว์ ทราบได้อย่างไร
             แนวคำา ตอบ เซลล์พืช เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์ (
หมายเลข 4 ) และมีแวคิวโอลขนาดใหญ่ ( หมายเลข 2 )
      - ออแกเนลล์ใดเป็นแหล่งผลิตสารที่ให้พลังงานสูงแก่เซลล์
            แนวคำา ตอบ หมายเลข 5 ไมโทคอนเดรีย
      - หมายเลขใดควบคุมการลำาเลียงสารผ่านเข้าออกจากเซลล์
             แนวคำา ตอบ หมายเลข 3 เยื่อหุ้มเซลล์

2. นำ้า กลูโคส และโปรตีนเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีการใด และใน
สถานการณ์ใด
              แนวคำา ตอบ
             นำ้า เข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีการออสโมซิส เมื่อสารละลาย
ภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นของนำ้ามากกว่าภายในเซลล์ โมเลกุล
ของนำ้าจะเคลื่อนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์
             กลูโคส เข้าสู่เซลล์โดย
                    1) การลำา เลีย งแบบฟาซิล ิเ ทต เกิดขึ้นเมื่อความ
เข้มข้นของกลูโคสภายนอกเซลล์มากกว่าภายในเซลล์ เช่น ในเซลล์
กล้ามเนื้อที่ทำากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ความเข้มข้นของกลูโคสภายใน
เซลล์จะน้อยกว่าความเข้มข้นของสารละลายภายนอก กลูโคสจะ
เคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ผ่านโปรตีนตัวพา
                    2) การลำา เลีย งแบบใช้พ ลัง งาน เกิดขึ้นเมื่อ
ความเข้มข้นของกลูโคสภายนอกเซลล์น้อยกว่าภายในเซลล์ เช่น
เมื่อของเหลวในท่อหน่วยไตมีความเข้มข้นของกลูโคสลดน้อยลงจน
ตำ่ากว่าความเข้มข้นภายในเซลล์ของท่อหน่วยไตที่อยู่โดยรอบ ใน
สถานการณ์นี้ เซลล์ของท่อหน่วยไตจะนำากลูโคสเข้าสู่เซลล์ด้วยการ
ลำาเลียงแบบใช้พลังงาน
             โปรตีน เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิส ซึ่ง
จะเกิดขึ้นเมื่อเซลล์ต้องลำาเลียงโปรตีนทั้งโมเลกุลเข้าสู่เซลล์ เช่น
การลำาเลียงแอนติบอดีและฮอร์โมนบางชนิด
3. สาหร่ายไฟเป็นสาหร่ายเซลล์เดียวที่เซลล์ต่อกันเป็นสายยาว จาก
การศึกษาความเข้มข้นของไอออนธาตุต่างๆ ในสารละลายแวคิวโอล
ของสาหร่ายไฟที่อยู่ในสระนำ้าจืด และความเข้มข้นของไอออนในนำ้า
ในสระ ได้ขอมูลดังตาราง จากข้อมูลนี้ สาหร่ายไฟมีการลำาเลียง
            ้
ไอออนของธาตุต่างๆเข้าสู่เซลล์โดยกระบวนการใด
                   ความเข้ม ข้น ของไอออน ( mg / l )
  สารละ
           โพแทสเ โซเดีย ม แมกนีเ ซี แคลเซีย คลอ
   ลาย
              ซีย ม                ยม           ม      ไรด์
 ในนำ้าจืด    0.05      1.2        3.0         1.3     1.0
 ในแวคิว       59        86        22          19      107
 โอล
     แนวคำา ตอบ สาหร่ายไฟลำาเลียงไอออนของธาตุต่างๆ เข้าสู่
เซลล์ด้วยการลำาเลียงแบบใช้พลังงาน
4. โกงกางเป็นพืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณนำ้ากร่อย ผู้เรียนคิดว่าพืชชนิดนี้
ประสบปัญหาในการรักษาดุลยภาพของนำ้าหรือไม่ และจะรักษา
ดุลยภาพได้ด้วยกลไกใดบ้าง
      แนวคำา ตอบ โกงกางและพืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณนำ้ากร่อยชนิด
อื่นๆ ไม่ประสบปัญหาเพราะ พืชกลุ่มนี้มีการปรับตัวเพื่อให้สามารถ
เจริญเติบโตได้ในบริเวณดังกล่าว โดยสารละลายภายในเซลล์มี
ความเข้มข้นสูงกว่าความเข้มข้นของสารละลายภายนอก รวมทั้งมี
แรงดึงจากการคายนำ้าสูง ทำาให้สามารถนำานำ้าเข้าสู่ต้นพืชได้
นอกจากนี้โกงกางรักษาดุลยภาพของนำ้า โดยการสร้างสารจำาพวกขี้
ผึ้งออกมาเคลือบบนผิวใบเพื่อลดอัตราการระเหยของนำ้าออกจากใบ
5. เราจะเลี้ยงปลาทะเลในนำ้าจืดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
       แนวคำา ตอบ ปลาทะเลส่วนใหญ่จะไม่สามารถนำามาเลี้ยงใน
ปลานำ้าจืดได้ เพราะปลาทะเลมีร่างกายที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตใน
สารละลายที่เข้มข้นกว่าสารละลายในร่างกาย เช่น มีเซลล์พิเศษใน
บริเวณเหงือกที่ขับเกลือออกจากร่างกาย ไตสร้างปัสสาวะที่มีความ
เข้มข้นสูงและไม่มีการดูดซึมแร่ธาตุจากอาหารที่กิน เป็นต้น เมื่อ
เลี้ยงปลาทะเลในนำ้าจืด นำ้าจะออสโมซิสเข้าสู่ร่างกายของปลาใน
ปริมาณมากเนื่องจากในเซลล์ของปลามีความเข้มข้นของนำ้าน้อยกว่า
ปลาทะเลมีร่างกายที่สามารถรักษานำ้าไว้ร่างกาย แต่ไม่มีกลไกเฉพาะ
ในการขับนำ้าออกจากร่างกายและดูดซึมแร่ธาตุจากสิ่งแวดล้อม จึงมี
ปัญหาในการรักษาดุลยภาพของนำ้าและแร่ธาตุในร่างกายจนอาจตาย
ในที่สุด
6. ในวันที่อากาศเย็น หรืออยู่ที่เย็นจัด จะขับถ่ายปัสสาวะบ่อยกว่า
วันที่มีอากาศร้อน เพราะอะไร
       แนวคำา ตอบ ในวันที่อากาศเย็นร่างกายจะไม่มีเหงื่อ จึงมี
ปริมาณนำ้าในร่างกายมาก ความเข้มข้นของเลือดลดลง ซึ่งจะไปกระ
ตุ้นไฮโพทาลามัสให้ไปยับยั้งการหลั่ง ADH ทำาให้การดูดนำ้าคืนกลับ
จากท่อหน่วยไตน้อยลง ดังนั้นของเหลวที่ไปยังกระเพาะปัสสาวะจึงมี
ปริมาณมาก มีการขับถ่ายปัสสาวะบ่อยกว่าวันที่อากาศร้อน
--------------------------------------------------------------------------------------
                        --------------------------------------

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 

La actualidad más candente (20)

การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

Similar a เฉลย (ชุดที่ 1)

บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 

Similar a เฉลย (ชุดที่ 1) (20)

สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 

เฉลย (ชุดที่ 1)

  • 1. แบบฝึก เสริม ประสบการณ์ส าระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน (ชีว วิท ยาพื้น ฐาน) บทที่ 1 เรื่อ ง ดุล ยภาพของสิ่ง มีช ีว ิต (ชุด ที่ 1) 1. ศึกษาแผนภาพแสดงโครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง (ใน หนังสือเรียน) แล้วตอบคำาถาม - เซลล์นี้เป็นเซลล์พืชหรือเซลล์สัตว์ ทราบได้อย่างไร แนวคำา ตอบ เซลล์พืช เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์ ( หมายเลข 4 ) และมีแวคิวโอลขนาดใหญ่ ( หมายเลข 2 ) - ออแกเนลล์ใดเป็นแหล่งผลิตสารที่ให้พลังงานสูงแก่เซลล์ แนวคำา ตอบ หมายเลข 5 ไมโทคอนเดรีย - หมายเลขใดควบคุมการลำาเลียงสารผ่านเข้าออกจากเซลล์ แนวคำา ตอบ หมายเลข 3 เยื่อหุ้มเซลล์ 2. นำ้า กลูโคส และโปรตีนเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีการใด และใน สถานการณ์ใด แนวคำา ตอบ นำ้า เข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีการออสโมซิส เมื่อสารละลาย ภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นของนำ้ามากกว่าภายในเซลล์ โมเลกุล ของนำ้าจะเคลื่อนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ กลูโคส เข้าสู่เซลล์โดย 1) การลำา เลีย งแบบฟาซิล ิเ ทต เกิดขึ้นเมื่อความ เข้มข้นของกลูโคสภายนอกเซลล์มากกว่าภายในเซลล์ เช่น ในเซลล์ กล้ามเนื้อที่ทำากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ความเข้มข้นของกลูโคสภายใน เซลล์จะน้อยกว่าความเข้มข้นของสารละลายภายนอก กลูโคสจะ เคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ผ่านโปรตีนตัวพา 2) การลำา เลีย งแบบใช้พ ลัง งาน เกิดขึ้นเมื่อ ความเข้มข้นของกลูโคสภายนอกเซลล์น้อยกว่าภายในเซลล์ เช่น เมื่อของเหลวในท่อหน่วยไตมีความเข้มข้นของกลูโคสลดน้อยลงจน ตำ่ากว่าความเข้มข้นภายในเซลล์ของท่อหน่วยไตที่อยู่โดยรอบ ใน สถานการณ์นี้ เซลล์ของท่อหน่วยไตจะนำากลูโคสเข้าสู่เซลล์ด้วยการ ลำาเลียงแบบใช้พลังงาน โปรตีน เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิส ซึ่ง จะเกิดขึ้นเมื่อเซลล์ต้องลำาเลียงโปรตีนทั้งโมเลกุลเข้าสู่เซลล์ เช่น การลำาเลียงแอนติบอดีและฮอร์โมนบางชนิด
  • 2. 3. สาหร่ายไฟเป็นสาหร่ายเซลล์เดียวที่เซลล์ต่อกันเป็นสายยาว จาก การศึกษาความเข้มข้นของไอออนธาตุต่างๆ ในสารละลายแวคิวโอล ของสาหร่ายไฟที่อยู่ในสระนำ้าจืด และความเข้มข้นของไอออนในนำ้า ในสระ ได้ขอมูลดังตาราง จากข้อมูลนี้ สาหร่ายไฟมีการลำาเลียง ้ ไอออนของธาตุต่างๆเข้าสู่เซลล์โดยกระบวนการใด ความเข้ม ข้น ของไอออน ( mg / l ) สารละ โพแทสเ โซเดีย ม แมกนีเ ซี แคลเซีย คลอ ลาย ซีย ม ยม ม ไรด์ ในนำ้าจืด 0.05 1.2 3.0 1.3 1.0 ในแวคิว 59 86 22 19 107 โอล แนวคำา ตอบ สาหร่ายไฟลำาเลียงไอออนของธาตุต่างๆ เข้าสู่ เซลล์ด้วยการลำาเลียงแบบใช้พลังงาน 4. โกงกางเป็นพืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณนำ้ากร่อย ผู้เรียนคิดว่าพืชชนิดนี้ ประสบปัญหาในการรักษาดุลยภาพของนำ้าหรือไม่ และจะรักษา ดุลยภาพได้ด้วยกลไกใดบ้าง แนวคำา ตอบ โกงกางและพืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณนำ้ากร่อยชนิด อื่นๆ ไม่ประสบปัญหาเพราะ พืชกลุ่มนี้มีการปรับตัวเพื่อให้สามารถ เจริญเติบโตได้ในบริเวณดังกล่าว โดยสารละลายภายในเซลล์มี ความเข้มข้นสูงกว่าความเข้มข้นของสารละลายภายนอก รวมทั้งมี แรงดึงจากการคายนำ้าสูง ทำาให้สามารถนำานำ้าเข้าสู่ต้นพืชได้ นอกจากนี้โกงกางรักษาดุลยภาพของนำ้า โดยการสร้างสารจำาพวกขี้ ผึ้งออกมาเคลือบบนผิวใบเพื่อลดอัตราการระเหยของนำ้าออกจากใบ 5. เราจะเลี้ยงปลาทะเลในนำ้าจืดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด แนวคำา ตอบ ปลาทะเลส่วนใหญ่จะไม่สามารถนำามาเลี้ยงใน ปลานำ้าจืดได้ เพราะปลาทะเลมีร่างกายที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตใน สารละลายที่เข้มข้นกว่าสารละลายในร่างกาย เช่น มีเซลล์พิเศษใน บริเวณเหงือกที่ขับเกลือออกจากร่างกาย ไตสร้างปัสสาวะที่มีความ เข้มข้นสูงและไม่มีการดูดซึมแร่ธาตุจากอาหารที่กิน เป็นต้น เมื่อ เลี้ยงปลาทะเลในนำ้าจืด นำ้าจะออสโมซิสเข้าสู่ร่างกายของปลาใน ปริมาณมากเนื่องจากในเซลล์ของปลามีความเข้มข้นของนำ้าน้อยกว่า
  • 3. ปลาทะเลมีร่างกายที่สามารถรักษานำ้าไว้ร่างกาย แต่ไม่มีกลไกเฉพาะ ในการขับนำ้าออกจากร่างกายและดูดซึมแร่ธาตุจากสิ่งแวดล้อม จึงมี ปัญหาในการรักษาดุลยภาพของนำ้าและแร่ธาตุในร่างกายจนอาจตาย ในที่สุด 6. ในวันที่อากาศเย็น หรืออยู่ที่เย็นจัด จะขับถ่ายปัสสาวะบ่อยกว่า วันที่มีอากาศร้อน เพราะอะไร แนวคำา ตอบ ในวันที่อากาศเย็นร่างกายจะไม่มีเหงื่อ จึงมี ปริมาณนำ้าในร่างกายมาก ความเข้มข้นของเลือดลดลง ซึ่งจะไปกระ ตุ้นไฮโพทาลามัสให้ไปยับยั้งการหลั่ง ADH ทำาให้การดูดนำ้าคืนกลับ จากท่อหน่วยไตน้อยลง ดังนั้นของเหลวที่ไปยังกระเพาะปัสสาวะจึงมี ปริมาณมาก มีการขับถ่ายปัสสาวะบ่อยกว่าวันที่อากาศร้อน -------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------