SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 110
Descargar para leer sin conexión
บทบาทของพยาบาล
ผู้ประสานงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน
T&E NCs
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต RN, Ed.D
krongdai@gmail.com
TE Nurse Coordinator
Resources for Optimal Care
of the Injured Patient 2014
 Hospital organization
 Medical staff support
 The trauma medical director
(TMD)
 The trauma resuscitation team
 The trauma service
 The trauma program manager
(TPM)
 The trauma registrar
 The performance improvement
support personnel
 The multidisciplinary trauma
peer review committee of the
performance improvement and
patient safety (PIPS) program
“optimal care”
given available resources
wherever they are injured
and
wherever they receive care
krongdai@gmail.com
• Clinical
• Education
• Performance Improvement
• Administration
• Supervision of Registry
• Consultant/Liaison
• Research
• Community/National Involvement
TMP / TNCs
krongdai@gmail.com
Service Plan:
Trauma & Emergency
ECS
Systems
นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช
• Trauma Emergency
• Non Trauma Emergency
• Disaster management
krongdai@gmail.com
ECS
 ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อ
แสน
 อัตราเสียชีวิตผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองลดลง
 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยที่มีค่า Ps  0.75  1%
 อัตราส่วนผู้ป่วยสีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ
EMS  80%
 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ใน
โรงพยาบาลภายใน 24 ชม. <5%
krongdai@gmail.com
ECS
 มีการประเมินความเสี่ยง และจัดทาแผนรองรับ
ภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด และเขต
 Trauma & Emergency Admin Unit
Implementation
 ER คุณภาพ : จานวนโรงพยาบาล >80%
 FAST TRACT (ER-to-OR)
krongdai@gmail.com
ตัวชี้วัด
1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
ไม่เกิน 16 ต่อแสน
2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง
3. อัตราการเสียชีวิตผป.ใน ที่มีค่า Ps
Score มากกว่า หรือ เท่ากับ 0.75
(รพ.ระดับ A )
4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract
มาด้วยระบบ EMS
5. อัตราการเสียชีวิตของผป.ฉุกเฉินที่รับไว้
ในรพ.ภายใน 24 ชม.
6. มีการประเมินความเสี่ยง &
จัดทาแผนรองรับภัยพิบัติ
ระดับหน่วยบริการ อาเภอ
จังหวัด เขต
7. Trauma & Emergency
Admin Unit (T&E A unit )
Implementation
8. ER คุณภาพ
• Trauma Emergency
• Non Trauma Emergency
• Disaster Management
Service Plan Trauma
& Emergency
Disaster Management
• Hazard Risk & Impact
Survey
• Natural / Human Made)
Disaster Management Plan
(2P2R)
• คณะกรรมการฯระดับหน่วย
บริการ จังหวัด เขต
• ระบบการเฝ้ าระวังการเกิดภัย
พิบัติ
• สธฉ.Central EOC
• ระบบสั่งการ ICS
• ระบบรายงาน
• การซ้อมแผนภัยพิบัติ
Non Trauma Emergency
• Fast tract Integration
(STEMI, Stroke )
• Onset to Door, Door to
Definitive care
• Public Awareness
• OHCA: Out of Hospital
Cardiac Arrest
Trauma Emergency
• Information IS เสียชีวิต 3 ฐาน 43 แฟ้ ม
สอบสวนโรค
• S.Delivery
• ECS คุณภาพ / ER คุณภาพ
Fast tract Surgical Emergency
• 5 ส DHS injury prevention model
• Law Enforcement
• Leadership & Governance
• นโยบาย และการขับเคลื่อน
• T& E Admin Unit
• Network H.Workforce EP Neuro
surgeon CVT
• Nurse Co / Prehosp Nurse
• Paramedics/EMT-I
• Essential D & Med Eq.
• Financial Plan
นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช
krongdai@gmail.com
Input
• IS 43 แฟ้ ม
• การเสียชีวิต 3
ฐาน
• ข้อมูลการ
สอบสวนโรค
• การทบทวน
เวชระเบียน
Output
 รูปธรรม การพัฒนา
การแก้ปัญหา
 Trauma Audit In-
Hospital
improvement
 EMS
 ER
 Fast Tract Surgical
Emergency
 Definitive care
 Network ผู้รับผิดชอบ
งานอุบัติเหตุ สสจ รพช
DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ
KSFc
• ผู้รับผิดชอบ
• ผู้บริหารระบบข้อมูล
• กลไกความร่วมมือ
เครือข่าย ความมุ่งมั่น
Trauma & Emergency
Admin Unit
นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช
krongdai@gmail.com
Output
 รูปธรรมการพัฒนาการแก้ปัญหา
 Trauma Audit In-Hospital
improvement
 EMS
 ER
 Fast Tract Surgical
Emergency
 Definitive care
 Network ผู้รับผิดชอบงาน
อุบัติเหตุ สสจ รพช
 DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ
ตัวชี้วัด
1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่
เกิน 16 ต่อแสน
2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง
3. อัตราการเสียชีวิตผป.ใน ที่มีค่า Ps
Score มากกว่า หรือ เท่ากับ 0.75
(รพ.ระดับ A )
4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract
มาด้วยระบบ EMS
5. อัตราการเสียชีวิตของผป.ฉุกเฉินที่รับ
ไว้ในรพ.ภายใน 24 ชม.
6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผน
รองรับภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ
อาเภอ จังหวัด เขต
7. Trauma & Emergency Admin
Unit (T&E A unit )
Implementation
8. ER คุณภาพ
krongdai@gmail.com
ตัวชี้วัด Service Plan:Trauma & Emergency
Abd.injury with shock Massive hemothorax
Cardiac injury Unstable UGI bleeding
PA- 1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อแสน (ปี59: 30)
minData- 2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง (ปี57,58,59: 8.5,6.8,6)
ตรช.- 3. อัตราการเสียชีวิต ผป.ใน ที่มีค่า Ps Score 0.75
(รพ.ระดับ A )(ปี59: <1%)
ตรช.- 4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS
(ปี59: >80%)
ตรช.- 5. อัตราการเสียชีวิตของ ผป.ฉุกเฉินที่รับไว้ในรพ.ภายใน 24 ชม.
(ปี59: <5%)
ตรช.- 6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผนรองรับภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด เขต
PA- 7.Trauma & Emergency Admin Unit
(T&E A unit ) Implementation
PA- 8. ER คุณภาพ (ปี59: จานวนรพ.>80%)
PA- 9. FAST TRACT (ER-to-OR)
1.
4.
Invalid PS TEA unit
Observation
CPG
Inhospital
process
Structural TEA unit
นพ.สมประสงค์ ทองมีสี
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
จุดเน้นปี 59
Pre-crash
- community strengthening
1. Community
- RTI & Disaster preparedness
- International cooperation
2. National Teaching Center
3. Training short course; Trauma Nurse, Disaster
Preparedness
Post-crash
1. Pre-hospital
- Advanced EMS + Telemedicine + ThaiRefer
2. In-hopital
- TEA units network
นพ.สมประสงค์ ทองมีสี
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
 Trauma emergency service
 Personnel
 Data system
 Technology
 Finance
 Administration
 Participation of Stakeholder
WHO 6 Building Block
Plus framework
krongdai@gmail.com
• พัฒนารูปธรรม การพัฒนา การแก้ปัญหา
• พัฒนา Trauma Audit In-Hospital improvement
• ร่วมประสานพัฒนางาน EMS
• ร่วมประสานพัฒนางาน ER
• ร่วมพัฒนา Fast Tract Surgical Emergency
• ร่วมพัฒนา Definitive care
• ประสาน Network ผู้รับผิดชอบงานอุบัติเหตุ สสจ รพช
• ร่วมประสาน DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ
บทบาท TE NCs
krongdai@gmail.com
TNCs
 พยาบาลผู้ประสานงานด้านอุบัติเหตุ
 พยาบาลผู้ที่ทาหน้าที่ลดช่องว่าง ในการกากับ
ประสานการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ ของทีมช่วยเหลือ
ผู้บาดเจ็บ (trauma team) ในศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ
(trauma centers) ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลในศูนย์
อุบัติเหตุระดับใด
คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
กิจกรรมการปฏิบัติ
Clinical
Education
Performance
improvement
Administration
Traumaregistry
consultant
research
Community
พัฒนารูปธรรม การพัฒนา การ
แก้ปัญหา
พัฒนา Trauma Audit In-Hospital
improvement
ร่วมประสานพัฒนางาน EMS
ร่วมประสานพัฒนางาน ER
ร่วมพัฒนา Fast Tract Surgical
Emergency
ร่วมพัฒนา Definitive care
ประสาน Network ผู้รับผิดชอบงาน
อุบัติเหตุ สสจ รพช
ร่วมประสาน DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ
krongdai@gmail.com
การบาดเจ็บ ตัวชี้วัด
Abdominal injury
with shock
• ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย
• อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 10%
EDH / SDH / ICH
with anisocoria
• ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย
• อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5%
Massive hemothorax • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย
• อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5%
Cardiac injury • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย
• อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5%
Traumatic
amputation
• ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย
• อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5%
Trauma Emergency
krongdai@gmail.com
ฉุกเฉิน การจัดการ
• STEMI
• Stroke
• Fast tract Integration
• Onset to Door
• Door to Definitive care
Non-Trauma Emergency
krongdai@gmail.com
TPM: Responsibility 2014
Clinical activities
Education responsibilities
Performance improvement
Administration
Supervision of the trauma registry
Consultant and liaison
Research
Community trauma care systems
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• In level I & II, must be full time
• must show evidence of educational preparation, with a
maximum of 16 hrs/ year of trauma-related continuing
education and clinical experience in the care of injured
patients.
• should be a written job description that defines sufficient
authority to do.
 Trauma care system
 Resource for the optimum care of the
injured patients
 Trauma statistics
 Mechanism of injury
 Injury prevention
 Trauma scoring
 Trauma registry and data collection
 Trauma audit
TPM ต้องชัดเจน: 2014
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
 Quality and performance improvement
 Quality trauma education and research
 Principle of pre-hospital trauma life support
 Principle of Advanced Trauma Care for Nurse
 Roles of trauma nurse coordinator
 Advanced in trauma care
 Advanced trauma development
TPM ต้องชัดเจน : 2014
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
หลักสูตร TPM
 Essential components of a trauma system
 Leadership roles critical to the success of a
Trauma Program
 Key components of the Trauma Program
Manager role
 Important elements of a successful
Performance Improvement Patient Safety
Program
 Planning and preparation for trauma center
verification/designation
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
หลักสูตร TPM
 Best practice recommendations for trauma
outreach and education
 Implementing a dynamic trauma registry
 Important elements of the trauma budget
 Design process, tools, and data that will influence
optimal reporting in accordance with accepted
standards within the industry
 Key psychological and socio-economic
challenges common in trauma patients
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
A Preplanned Trauma Care Continuum
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Prehospital patient care record
Type and mechanism of injury;
 Anatomic and physiologic conditions
 Relevant times of the incident
Extrication
 On-scene care
 Timing of, and response to interventions.
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
The trauma patient transfer guidelines
 Identification of patients/injuries that require
transfer
 Methods for physician-to-physician
communication between facilities and
discussion of patient injuries, current
treatments, and agreement on transportation
mode
 Documentation, including responsible parties
and contacts for each institution.
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Criteria for Consideration of Transfer
from Level III Centers to Level I or II Centers
 Carotid or vertebral arterial injury
 Torn thoracic aorta or great vessel
 Cardiac rupture
 Bilateral pulmonary contusion with PaO2:FlO2
ratio less than 200
 Major abdominal vascular injury
 Grade IV or V liver injuries requiring transfusion
of more than 6 U of red blood cells in 6 hours
 Unstable pelvic fracture requiring transfusion of
more then 6 U of red blood cells in 6 hours
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Criteria for Consideration of Transfer
from Level III Centers to Level I or II Centers
 Fracture or dislocation with loss of distal pulses
 Penetrating injuries or open fracture of the skull
 GCS score of less than 14 or lateralizing
 Spinal fracture or spinal cord deficit
 Complex pelvis/acetabulum fractures
 More than two unilateral rib fractures or bilateral
rib fractures with pulmonary contusion
 Significant torso injury with advanced comorbid
disease
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Guidelines for Transferring Patients
 Transferring physician responsibilities
 Receiving physician responsibilities
 Management during transport
 Trauma system responsibilities
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ICU Nursing Care and Equipment
 At Level I, II, and III trauma centers, qualified
critical care nurses must be available 24 hrs/day
to provide care for patients during the ICU phase
 The patient-to-nurse ratio in the ICU must not
exceed 2:1
 Trauma-specific educational opportunities and
programs should be made available to the
critical care nursing staff
 The ICU must have the necessary equipment to
monitor and resuscitate patients
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Rehabilitation
 The rehabilitation of injured patients should
begin the first hospital day.
 The ultimate goal of trauma care is to restore
the patient to pre-injury status.
 Each patient should be assessed for
rehabilitation needs from the rehabilitation
team, an organized multidisciplinary team.
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Trauma Registry
 Used for improving patient care, evaluating
the adequacy of the trauma system
 Injury prevention, provider education,
effective communication, and smooth flow
of patient transfer from scene to receiving
hospital and ultimately to definitive care
 Collective database to provide sufficient
numbers for performance improvement and
program analysis
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
รายการ ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4
1. พยาบาลผู้ประสานงานด้านการ
บาดเจ็บ
   
2. การกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของพยาบาลผู้ประสานงาน
   
คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553
http://surgeons.or.th/view.php
ข้อบังคับให้มี
ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย, 2553
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
TNCs
คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553
อยู่ในแผนของการบริหารองค์กรโรงพยาบาล
• คณะกรรมการบริหารศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ
• ส่วนงานที่ให้บริการ
• หน่วยงาน / หอผู้ป่วย
• การบริหารการพยาบาล
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การบริหารจัดการทางคลินิก
(Clinical Management)
1. บริหารจัดการการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บ
2. การพัฒนาแนวทางปฏิบัติทางคลินิก
3. การกากับตรวจสอบการดูแลรักษา
4. การเป็นผู้ชี้แนะและที่ปรึกษา
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Inclusive trauma systems
Pre-hospital
care
Accurate triage
and protocols
Save life and
safe transport
Rapid transfer
to appropriate
facility
Trauma
centers
Protocols for
major trauma
patients
Rehabilitation
services and
facilities
Standard of care
and trauma
registries
Emergency
preparedness
Incident planning
Integrated
incident planning
Response
to MCS
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
บทบาทของพยาบาลในห้องฉุกเฉิน
Nurse I
Airway N.
Nurse II
Circulated N.
Nurse III
Leader /
Documented N.
Nurse I Nurse II
Nurse III Nurse IV
Normal MCS
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Preadmission
การเตรียมการ
ก่อนรับ
ผู้ประสบภัย
ไว้รักษา
การเตรียมการ
ใน ER
การเตรียมทีม
ในการดูแลรักษา
การเตรียม
ความพร้อมใน
ทักษะปฏิบัติ
ของทีม
การซ้อม
แผน
emergency
situation
management
การระบุ
ตัวผู้ป่วย
การจาแนกแยก
ประเภทผู้ป่วย
การให้การดูแล
ช่วยเหลือผู้ป่วย
การตรวจ
วินิจฉัย
ระบบการ
บันทึก
การจาหน่ายผู้ป่วย
ออกจาก ER
การให้ข้อมูลกับ
สาธารณชน
การปฏิบัติงานเมื่อ
สิ้นสุดMCS
Debriefing and
lessons learned
preparedness
เวลาผู้ป่วยการเตรียมการ
ของ ER
การจาแนกประเภท
ผู้ป่วย
การดูแลรักษา
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Trauma Nurse Coordinator
Works in close
collaboration with trauma
director
Providing care to injured
patient
Process educational,
clinical, research,
administrative, &
outreach activities
Supervised registrar,
secretary, trauma nurse
clinician
Trauma Case Manager
Daily ward round
Collaborating between
medical teams & multiple
care givers
Documentation
Building a rapport
Reassure patients
Feedback problems to
trauma coordinator &
director
Conduct patient education
Data collection
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการ
(Quality and performance improvement)
 พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล
 ร่วมประชุมการตรวจตราระบบการดูแลตรวจสอบ
เหตุการณ์ที่ผิดปกติ
 เฝ้ าระวังติดตามตัวบ่งชี้มาตรฐาน
 แก้ไขเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรณีที่การดูแลรักษา
ไม่ได้มาตรฐานร่วมกับ trauma team
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Trauma Nurse Coordinator
The patient’s advocate
cost, efficiency, quality
• บริหารกระบวนการคุณภาพ
• บริหารคุณภาพ
• ทบทวนกระบวนการคุณภาพ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การศึกษาและการวิจัย
(Education and research)
 สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการจัดการอบรม ประชุมวิชาการ
ให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน หรือ trauma team
 ให้ความรู้โดยตรง เช่น บรรยาย ให้คาปรึกษาแนะนา จัด
ประชุมสัมมนา จัดการฝึกอบรมต่อเนื่อง
 ประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติ การสอนด้านทักษะปฏิบัติ
 ตรวจสอบความรู้เชิงวิชาการ เช่น ประเมินย้อนกลับการดูแล
รักษาของแพทย์และแพทย์ประจาบ้าน
 ใช้ข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
ที่เน้นผู้บาดเจ็บ ระบบการส่งต่อ และระบบการดูแลรักษา
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
บุคลากรและการปฏิบัติ
รายการ ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4
1. พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมด้าน
การบาดเจ็บอย่างน้อย 1 คน
ประจาบริเวณการช่วยชีวิตฉุกเฉิน
/คณะบุคลากรที่ช่วยชีวิตฉุกเฉิน
ตลอดเวลา
   
2. พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมการ
ช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงประจาอยู่ใน
คณะผู้บริบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ
   
คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
การพยาบาล
รายการ ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4
1. พยาบาลที่เกี่ยวข้องมีทักษะการ
พยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ
   
2. พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมเฉพาะ
ทางการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ
   
คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ระบบบริหารจัดการการให้คาแนะนา
 ทาหน้าที่ร่วมกับกรรมการผู้รับผิดชอบ ควบคุมตรวจตรา
การบริหารจัดการในเรื่องการวางแผน จัดระบบการเงิน
การประสานงาน และการรายงานเหตุการณ์
 รณรงค์ หรือเป็นผู้นาในการสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ชุมชน ดังนี้
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Education and Experience
 Baccalaureate degree in nursing and
relevant masters degree(nursing preferred)
 Minimum of 5 years of trauma clinical
experience in either the ED/ER or Critical
Care
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
TNCs / TPM
Clarification Document
Resources for Optimal Care of the Injured Patient, 2016
krongdai@gmail.com
Performance Improvement and Patient Safety
(PIPS)
PIPS Program
Level Hospital organization: Criterion
I, II, III TPM must show evidence of
educational preparation and clinical
experience in the care of injured
patients
I, II TPM must be full‐time and dedicated
to the trauma program
krongdai@gmail.com
PIPS Program
Level Hospital organization: Criterion
I, II TPM must show evidence of educational
preparation, with a minimum of 16 hours
(internal or external) of trauma‐related
continuing education per year and clinical
experience in the care of injured patients
I, II, III The trauma center’s PIPS program must
have a multidisciplinary trauma peer
review committee chaired by the TMD
krongdai@gmail.com
Performance Improvement
and Patient Safety (PIPS): TNCs
1. The job description of the PI (Performance
Improvement) include;
responsibility, accountability and authority.
- educational preparation, certification and
clinical experience.
2. Registered Nurse (RN) licensure is required.
- Have evidence of continuing education
related to trauma care and the trauma
system.
krongdai@gmail.com
PIPS: TNCs
3. Including Eight (8) hours of trauma-related
continuing education per year.
4. Maintain 75% attendance at the Trauma PIPS
- Multidisciplinary Peer Review PI Meeting.
- Multidisciplinary Trauma Program
Operational Meeting.
krongdai@gmail.com
"Trauma Outcomes and
Performance Improvement Course"
TOPIC focuses on the ongoing assessment of
the continuum of trauma care with
a structured review of process and
discussions of strategies
to monitor trauma patient outcomes.
krongdai@gmail.com
Trauma PIPS
 Improve patient outcomes
 eliminate problems
 reduce variation in patient care
krongdai@gmail.com
PIPS Program
1. Run the PIPS program
2. Integrated the PIPS program
3. comprehensive written PI Plan
4. The PIPS plan must be reviewed annually
5. Utilized POPIMS
6. Reviewed but are not limited
krongdai@gmail.com
PIPS Program
7. fully implement the PIPS plan
8. Full-Time Equivalent to the PIPS function.
9. Support FTEs upon trauma contact volume.
10. A multidisciplinary forum for PIPS
11. required trauma PIPS peer-review meeting
12.A multidisciplinary forum is required.
krongdai@gmail.com
PIPS Program
13. PIPS programs should provide education.
14. Outside agencies should be defined
15. Completed pre-hospital and inter-facility
patient care records
16. Complete anatomical diagnosis of injury
krongdai@gmail.com
PIPS Program
17. provide loop and track patient outcomes.
18. provide feedback to referring facilities
19. seek feedback from facilities where are
transferred
20. develop, utilize and evaluate evidence
based CPG
krongdai@gmail.com
T&E Nurse Coordinator
Scope and Practice
Clinical activities
Education responsibilities
Performance improvement
Administration
Supervision of the trauma registry
Consultant and liaison
Research
Community trauma care systems
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ECS
 ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อ
แสน
 อัตราเสียชีวิตผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองลดลง
 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มีค่า Ps  0.75  1%
 อัตราส่วน ผู้ป่วยสีแดง และ Fast tract มาด้วย
ระบบ EMS  80%
 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ใน
โรงพยาบาลภายใน 24 ชม. <5%
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ECS
 มีการประเมินความเสี่ยง และจัดทาแผนรองรับ
ภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด และเขต
 Trauma & Emergency Admin Unit
Implementation
 ER คุณภาพ : จานวนโรงพยาบาล >80%
 FAST TRACT (ER-to-OR)
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Service delivery
1. การจัดการ Trauma Emergency Admin Unit
2. การจัดการห้องฉุกเฉินคุณภาพ
3. การจัดการช่องทางด่วน (Fast Tract) ผู้ป่วย
อุบัติเหตุและฉุกเฉินจาก ER ไปยัง OR
4. การป้ องกันและควบคุมจุดเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน
5. การจัดการผ่าตัดสมองในผู้ป่วยบาดเจ็บ
6. การจัดการดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ
7. การจัดการหน่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burn Unit)
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Abdominal injury with shock
 ลดระยะเวลารอคอยเข้าผ่าตัด
 ลดอัตราตายภายใน 24 ชม.
 ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของ
จานวนผู้ป่วย
 อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 10%
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Abdominal injury with shock
 การประเมินแรกรับ ?
 การวินิจฉัยถูกต้อง รวดเร็ว ?
 การสื่อสารประสานการรักษา ?
 ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของ
จานวนผู้ป่วย
 อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 10%
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Massive hemothorax
Cardiac injury
Traumatic amputation
EDH/SDH/ICH with anisocoria
 ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของ
จานวนผู้ป่วย
 อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5%
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Performance Improvement
24 hrs. mortality rate
OR mortality rate
30 days mortality rate
Ps score  0.75 mortality rate
OHCA
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Clinical: ด้านคลินิก
Coordinate trauma & emergency care
management across the continuum of
care
Plan and implement clinical protocols
and practice management guidelines
Monitor care of patients in hospital
Serve as resource for clinical practice
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Provide staff development in facility as
well as in area or region
Participate in case review
Standardize practice guidelines
Direct community trauma and prevention
programs
Education: ความรู้
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Outcome management
Monitor clinical outcomes
Monitor systems issues related to quality
of care delivery
Develop quality filters, audits, and case
reviews
Identify trends and sentinel events
Help outline remedial actions
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Administration: การจัดการ
Maintain operational, personnel, and
financial aspects of the program as
appropriate
Serve as liaison between the staff and
administration
Represent the program on hospital
committees or community boards to
foster
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Supervision
of the Registry:
การดูแลระบบบันทึก
Collect, code, score, and develop
processes for validating data
Design registry to facilitate performance
improvement, trend reports, and research
while maintaining confidentiality
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Consultant/Liaison:
ให้คาปรึกษา ติดต่อประสานงาน
 Stabilize the complex network to provide
quality care
 Serve as internal resource for staff in all
departments
 Act as extended liaison for Emergency
Medical Services, the community, and
nationally, if appropriate
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Research: การวิจัย
 Be involved in research selection and
analysis
 Facilitate
distribution of research findings
protocol design for accurate data
collection, feedback, and analysis
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Community/National
Involvement:
การมีส่วนร่วมในชุมชน-ระดับชาติ
Participate in the development of trauma
care systems at all levels, from local to
national
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
A 1-day duty
T&E Nurse Coordinator
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
เริ่มต้นที่ ER
1. ตรวจสอบทะเบียนจานวนผู้ป่วยสีแดงทั้งหมด
ในรอบวันที่ผ่านมา
- วางแผนตรวจเยี่ยมพร้อม TMD และ team
2. ตรวจสอบทะเบียนจานวนผู้ป่วยสีแดงในรอบเวร
บ่าย-ดึก ที่ผ่านมา
- บันทึกใบตรวจเยี่ยม
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
สถานที่เกิดเหตุ ......................................................................................
วันที่เกิดเหตุ ................................. เวลาที่เกิดเหตุ .............. น.
วันที่มาถึงโรงพยาบาล ................. เวลาที่มาถึงโรงพยาบาล ............. น.
สาเหตุของการบาดเจ็บ ..............................................................................
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดการบาดเจ็บ ................................................................
Coding......................................................................... (ICD10)
รับส่งต่อจาก ...........................................................................................
ลักษณะการบาดเจ็บ □ Blunt □ Penetrating □ อื่นๆ ......................
อาการสาคัญ ...........................................................................................
□ สลบนาน ............ ชั่วโมง ......... นาที
□ ไม่สลบ
□ ไม่ทราบ
ใบบันทึกประวัติของผู้ป่วยเมื่อแรกรับ
ใบบันทึกการตรวจเยี่ยมผู้ป่วย
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• แรกรับ BP……….. mmHg P…… BPM RR…… BPM
O2sat……% เวลา …………น.
• GCS. = …… E…. M….. V..…
Pupil Size Rt……mm. RTL/ SRTL/ NRTL
Lt…… mm. RTL/ SRTL/ NRTL
• เวลาที่ Trauma Surgeon ตรวจผู้ป่วย ………… น.
• Consult หน่วย................เวลา............น. เวลาที่แพทย์ตรวจ........ น.
• Consult หน่วย................เวลา............น. เวลาที่แพทย์ตรวจ........ น.
• Consult หน่วย................เวลา............น. เวลาที่แพทย์ตรวจ.........น.
• การรักษา.....................................................................................
ใบบันทึกอาการเมื่อแรกรับที่ ER
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
• จาหน่ายจาก ER เวลา………….น. วันที่……………………
• สภาพผู้ป่วยขณะออกจาก ER BP……… mmHg P…….. BPM
RR…….. BPM O2sat………%
• GCS. = …… E….. M….. V…..
Pupil Size Rt….. mm. RTL/ SRTL/ NRTL
Lt…...mm. RTL/ SRTL/ NRTL
• ผลการรักษาจาก ER
รับไว้รักษา □ OR □ ICU □ WARD
จาหน่าย □ ส่งต่อ □ ปฏิเสธการรักษา □ หนีกลับ
□ ตาย □ DBA
• Comment……………………………………………………………………………………………
ใบบันทึกอาการก่อนจาหน่ายออกจาก ER
ผู้บันทึก................... วันที่/เวลา .......................
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
จัดแผนการทางาน
3. ติดตามข้อมูลผู้ป่วยใหม่ที่ OR
4. จัดแยกผู้ป่วยที่ต้องติดตามการตรวจเยี่ยม
ตามหอผู้ป่วย
5. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยพร้อม TMD และ team;
ICU, Unit
- อาการผู้ป่วย แผนการรักษา
- ปัญหา แนวทางและวิธีการแก้ไข
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
OR
• Set ผ่าตัด เวลา………..… น. เริ่มผ่าตัดเวลา……….……น.
ผ่าตัดเสร็จเวลา……….……..น.
• หัตถการ ............................................................................
• สภาพผู้ป่วยขณะออกจากห้องผ่าตัด
.............................................................................
เวลา………น. BP……..… mmHg P……… BPM RR……… BPM
O2sat………%
• GCS.= …… E…. M….. V…..
• Pupil Size Rt……mm. RTL/ SRTL/ NRTL
Lt…..mm. RTL/ SRTL/ NRTL
ใบบันทึกติดตามเยี่ยมที่ OR
ผู้บันทึก................... วันที่/เวลา .......................
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ICU / Ward
• เวลาโทรแจ้ง…………… น. เวลาที่ผู้ป่วยมาถึง…………… น.
• สภาพผู้ป่วยแรกรับ…………………………………………
• BP…………… mmHg P……….BPM RR…….…BPM
O2sat…………….%
• GCS. = …….. E……M….. V…..
Pupil Rt……RTL/SRTL/NRTL Lt….. RTL/SRTL/NRTL
• วันเวลาที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ……………………….
• วันเวลาที่หย่าเครื่องช่วยหายใจ……………………….
1. Clinical risk
□ SBP ต่ากว่า 80 mmHg
□ GCS decrease มากกว่าหรือเท่ากับ 2
□ มีภาวะ Renal failure ค่า Cr มากกว่า 1.5 หรือ มี urine
ออกน้อยกว่า 0.5 ml/kg/hr
2. LOS…………………… วัน
3. Complications .............................................................
ใบบันทึกติดตามเยี่ยมที่ ICU / Unit
ผู้บันทึก................... วันที่/เวลา .......................
• สภาพผู้ป่วยเมื่อสิ้นสุดการติดตามเยี่ยมวันที่ .........................เวลา ……น.
• BP…………… mmHg P……….. BPM RR………. BPM
O2sat…….…%
• GCS = ……… E… M… V…
• Pupil size Rt……mm. RTL/ SRTL/ NRTL
Lt…..mm. RTL/ SRTL/ NRTL
• การวินิจฉัยขั้นสุดท้าย
................................................................................................
1. Dx .................................... BR ..............................AIS ..................
2. Dx .....................................BR ..............................AIS...................
3. Dx .....................................BR ..............................AIS...................
• ผลการรักษา
• Medical □ ทุเลา □ ตาย □ พิการ
• Nonmedical □ ค่าใช้จ่าย ..............................................
□ ความพึงพอใจ ......................................
□ LOS ....................................................
ผู้บันทึก............................................
สรุปการบันทึกวันที่.............................
ใบบันทึกอาการเมื่อสิ้นสุดการติดตามเยี่ยม
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ภายหลังการตรวจเยี่ยม
1. เฝ้ าระวังติดตามตัวชี้วัดในการดูแลผู้ป่วย
2. ติดตามรายงานอาการผู้ป่วยบาดเจ็บสีแดงที่
เสียชีวิต
3. บริหารจัดการข้อมูล
4. ติดตามความผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้น
5. ติดตามเส้นทางการดูแลรักษาจาก Flow, Pathway
6. เก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูล
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ชื่อรพ:
Date:
Admit
คน
Emergency
Non-
emergency
คน % คน %
Trauma Nontrauma(NTE)
คน % คน %
Fast tract Non-fast tract Fast tract Non-fast tract
คน % คน % คน %
Abd.injury with shock คนGenSx คนUnstable UGIB คนNTE-Sx คน
Massive hemothorax คนNeuroSx คน
Ectopic
pregnancy with
shock
คนNTE-Med คน
Cardiac injury คนOrtho คนSTEMI คน
NTE-
OB/GYN
คน
Traumatic amputation คน
PlasticSx/
Maxillo
คนIschemic stroke คน
NTE-
Ped/Newb
orn
คน
EDH/SDH/ICH with
anisocoria or GCS
drop>/=2
คนCVT คนSepsis(option) คนNTE-EP คน
Uro คน
Respiratory
distress(option)
คนNTE-ENT คน
PedSx คน NTE-EYE คน
Others คน
NTE-
others
คน
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ติดตามอัตรารอดชีวิต
 PS > 0.5แล้วต่อมาเกิดเสียชีวิต unexpected
death ทบทวนแผนการดูแลรักษา
 PS < 0.5 แล้วต่อมามีชีวิตรอด unexpected
survivor ความสามารถในการดูแลรักษา
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
A 1-day duty
1. รวบรวมจานวนผู้ป่วยสีแดงเก่าทั้งหมดในรอบวันที่ผ่านมา
2. บันทึกใบตรวจเยี่ยมจานวนผู้ป่วยสีแดงใหม่ในรอบเวรบ่าย-ดึก
ที่ผ่านมา
3. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสีแดงทั้งหมดพร้อม TMD และ team
4. สรุปสิ้นสุดในการติดตามเยี่ยม
5. บริหารจัดการข้อมูล
6. วิเคราะห์ตัวชี้วัด เส้นทางการดูแลรักษา และกาหนดแผนพัฒนา
krongdai@gmail.com
วางแผนการปฏิบัติงาน
• บริหารกระบวนการคุณภาพ
• บริหารคุณภาพ
• ทบทวนกระบวนการคุณภาพ
krongdai@gmail.com
Service delivery
1. บริการ Trauma Emergency Admin Unit
2. บริการห้องฉุกเฉินคุณภาพ
3. บริการช่องทางด่วน (Fast Tract) ผู้ป่วยอุบัติเหตุ
และฉุกเฉินจาก ER ไปยัง OR
4. ป้ องกันและควบคุมจุดเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนน
5. บริการผ่าตัดสมองในผู้ป่วยบาดเจ็บ
6. บริการดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ
7. บริการหน่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burn Unit)
krongdai@gmail.com
TRISS;
Trauma Score-Injury Severity Score
 TRISS determines the probability of survival (Ps)
of trauma patient from the RTS and ISS using the
following formulae:
Ps = 1
(1+e-b)
krongdai@gmail.com
REVISED TRAUMA SCORE
RTS = 0.9368 GCS + 0.7326 SBP + 0.2908 RR
GCS SBP RR Coded Value
13-15 >89 10-29 4
9-12 76-89 >29 3
6-8 50-75 6-9 2
4-5 1-49 1-5 1
3 0 0 0
krongdai@gmail.com
The Injury Severity Score (ISS)
 summarize the severity of the condition
of multiply injured patients.
 The ISS is the sum of squares of the highest
AIS grades in each of the 3 most severely
injured body regions.
ISS = sum of 3 highest2AIS
= a2 + b2 + c2
krongdai@gmail.com
Injury Severity Score; ISS
Region Injury Description AIS Square Top Three
Head & Neck No injury 0 0
Face No Injury 0 0
Chest Flail Chest 4 16
Abdomen No injury 0 0
Extremity Fractured femur 3 9
External Contusion 1 1
Injury Severity Score: 26
AIS Score Injury
1 Minor
2 Moderate
3 Serious
4 Severe
5 Critical
6 Survivable
ISS
1-8 Minor
9-15 Moderate
16-24 Serious
25-49 Severe
50-74 Critical
75 Maximum
thaitraumanurse@gmail.com
b = b0+b1(RTS)+b2(ISS)+b3(ageIndex)
AgeIndex = 0 if the patient is below 54 years
= 1 if 55 years and over
If the patient is less than 15, the blunt coefficients
are used regardless of mechanism.
Blunt Penetrating
b0 -0.4499 -2.5355
b1 0.8085 0.9934
b2 -0.0835 -0.0651
b3 -1.7430 -1.1360
krongdai@gmail.com
การปฏิบัติงาน
T&E Nurse Coordinator
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
แผนและการปฏิบัติงาน
Clinical activities
Education responsibilities
Performance improvement
Administration
Supervision of the trauma registry
Consultant and liaison
Research
Community trauma care systems
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Trauma Emergency
 Information IS เสียชีวิต 3 ฐาน 43 แฟ้ ม สอบสวนโรค
 S.Delivery ECS คุณภาพ ER คุณภาพ
Fast tract Surgical Emergency
5 ส DHS injury prevention model
Law Enforcement
 Leadership & Governance
นโยบาย และการขับเคลื่อน
T& E Admin Unit
Network
 H.Workforce EP Neuro surgeon, CVT, Nurse
Prehosp/Co, Paramedic EMT-I
 Essential D & Med Eq.
 Financial Plan
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Non Trauma Emergency
• Fast tract Integration (All Tracts,
STEMI, Stroke)
• Onset to Door, Door to Definitive
care
• Public Awareness
• OHCA: Out of Hospital Cardiac
Arrest
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
Disaster Management
 Hazard Risk & Impact Survey
 Natural / Human Made) Disaster
Management Plan (2P2R)
 คณะกรรมการฯระดับหน่วยบริการ จังหวัด เขต
 ระบบการเฝ้ าระวังการเกิดภัยพิบัติ
 สธฉ.Central EOC
 ระบบสั่งการ ICS
 ระบบรายงาน
 การซ้อมแผนภัยพิบัติ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
P D C/S A
อุปสรรค .............. อุปสรรค .............. อุปสรรค .............. อุปสรรค ..............
การแก้ไข ............. การแก้ไข ............. การแก้ไข ............. การแก้ไข .............
การดาเนินงาน
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
ตัวชี้วัด
1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อแสน
2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง
3. อัตราการเสียชีวิตผป.ใน ที่มีค่า Ps Score  0.75 (รพ.
ระดับ A )
4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS
5. อัตราการเสียชีวิตของ ผป.ฉุกเฉินที่รับไว้ในรพ.ภายใน 24
ชม.
6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผนรองรับภัยพิบัติ
ระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด เขต
7. Trauma & Emergency Admin Unit ( T&E A unit )
Implementation
8. ER คุณภาพ
ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
เครือข่ายพยาบาลอุบัติเหตุ
แห่งประเทศไทย
เครือข่ายพยาบาลอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย
ชมรมพยาบาลศัลยกรรมอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย
TEA Nurse Coordinator
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackKrongdai Unhasuta
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยKrongdai Unhasuta
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
Commom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderlyCommom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 

La actualidad más candente (20)

Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Commom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderlyCommom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderly
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Traumatic shock
Traumatic shockTraumatic shock
Traumatic shock
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
 
mass casualty management
mass casualty managementmass casualty management
mass casualty management
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 

Similar a 1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560

5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินtaem
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...Suradet Sriangkoon
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxKrongdai Unhasuta
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxKrongdai Unhasuta
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
TAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาล
TAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาลTAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาล
TAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาลtaem
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 

Similar a 1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560 (20)

TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization &amp; qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization &amp; qi _ update 17 เมย. 2560
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
Emergency department triage
Emergency department triageEmergency department triage
Emergency department triage
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptx
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptx
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical ServiceServices and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
 
TAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาล
TAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาลTAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาล
TAEM11: โครงการนำร่องการบริหารจัดการหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สำหรับพยาบาล
 
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023
Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023
Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023
 

Más de Krongdai Unhasuta

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsKrongdai Unhasuta
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560Krongdai Unhasuta
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryKrongdai Unhasuta
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple traumaKrongdai Unhasuta
 
Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Critical care to head injured patient
Critical care to head injured patientCritical care to head injured patient
Critical care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
Approach to head injured patient
Approach to head injured patientApproach to head injured patient
Approach to head injured patientKrongdai Unhasuta
 

Más de Krongdai Unhasuta (16)

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patients
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
 
Trauma scoring
Trauma scoringTrauma scoring
Trauma scoring
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injury
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple trauma
 
Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58
 
Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58
 
Critical care to head injured patient
Critical care to head injured patientCritical care to head injured patient
Critical care to head injured patient
 
Approach to head injured patient
Approach to head injured patientApproach to head injured patient
Approach to head injured patient
 

1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560

  • 2. Resources for Optimal Care of the Injured Patient 2014  Hospital organization  Medical staff support  The trauma medical director (TMD)  The trauma resuscitation team  The trauma service  The trauma program manager (TPM)  The trauma registrar  The performance improvement support personnel  The multidisciplinary trauma peer review committee of the performance improvement and patient safety (PIPS) program “optimal care” given available resources wherever they are injured and wherever they receive care krongdai@gmail.com
  • 3. • Clinical • Education • Performance Improvement • Administration • Supervision of Registry • Consultant/Liaison • Research • Community/National Involvement TMP / TNCs krongdai@gmail.com
  • 4.
  • 5. Service Plan: Trauma & Emergency ECS Systems นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช • Trauma Emergency • Non Trauma Emergency • Disaster management krongdai@gmail.com
  • 6. ECS  ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อ แสน  อัตราเสียชีวิตผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองลดลง  อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยที่มีค่า Ps  0.75  1%  อัตราส่วนผู้ป่วยสีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS  80%  อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ใน โรงพยาบาลภายใน 24 ชม. <5% krongdai@gmail.com
  • 7. ECS  มีการประเมินความเสี่ยง และจัดทาแผนรองรับ ภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด และเขต  Trauma & Emergency Admin Unit Implementation  ER คุณภาพ : จานวนโรงพยาบาล >80%  FAST TRACT (ER-to-OR) krongdai@gmail.com
  • 8. ตัวชี้วัด 1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อแสน 2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง 3. อัตราการเสียชีวิตผป.ใน ที่มีค่า Ps Score มากกว่า หรือ เท่ากับ 0.75 (รพ.ระดับ A ) 4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS 5. อัตราการเสียชีวิตของผป.ฉุกเฉินที่รับไว้ ในรพ.ภายใน 24 ชม. 6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผนรองรับภัยพิบัติ ระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด เขต 7. Trauma & Emergency Admin Unit (T&E A unit ) Implementation 8. ER คุณภาพ • Trauma Emergency • Non Trauma Emergency • Disaster Management Service Plan Trauma & Emergency Disaster Management • Hazard Risk & Impact Survey • Natural / Human Made) Disaster Management Plan (2P2R) • คณะกรรมการฯระดับหน่วย บริการ จังหวัด เขต • ระบบการเฝ้ าระวังการเกิดภัย พิบัติ • สธฉ.Central EOC • ระบบสั่งการ ICS • ระบบรายงาน • การซ้อมแผนภัยพิบัติ Non Trauma Emergency • Fast tract Integration (STEMI, Stroke ) • Onset to Door, Door to Definitive care • Public Awareness • OHCA: Out of Hospital Cardiac Arrest Trauma Emergency • Information IS เสียชีวิต 3 ฐาน 43 แฟ้ ม สอบสวนโรค • S.Delivery • ECS คุณภาพ / ER คุณภาพ Fast tract Surgical Emergency • 5 ส DHS injury prevention model • Law Enforcement • Leadership & Governance • นโยบาย และการขับเคลื่อน • T& E Admin Unit • Network H.Workforce EP Neuro surgeon CVT • Nurse Co / Prehosp Nurse • Paramedics/EMT-I • Essential D & Med Eq. • Financial Plan นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช krongdai@gmail.com
  • 9. Input • IS 43 แฟ้ ม • การเสียชีวิต 3 ฐาน • ข้อมูลการ สอบสวนโรค • การทบทวน เวชระเบียน Output  รูปธรรม การพัฒนา การแก้ปัญหา  Trauma Audit In- Hospital improvement  EMS  ER  Fast Tract Surgical Emergency  Definitive care  Network ผู้รับผิดชอบ งานอุบัติเหตุ สสจ รพช DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ KSFc • ผู้รับผิดชอบ • ผู้บริหารระบบข้อมูล • กลไกความร่วมมือ เครือข่าย ความมุ่งมั่น Trauma & Emergency Admin Unit นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช krongdai@gmail.com
  • 10. Output  รูปธรรมการพัฒนาการแก้ปัญหา  Trauma Audit In-Hospital improvement  EMS  ER  Fast Tract Surgical Emergency  Definitive care  Network ผู้รับผิดชอบงาน อุบัติเหตุ สสจ รพช  DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ ตัวชี้วัด 1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่ เกิน 16 ต่อแสน 2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง 3. อัตราการเสียชีวิตผป.ใน ที่มีค่า Ps Score มากกว่า หรือ เท่ากับ 0.75 (รพ.ระดับ A ) 4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS 5. อัตราการเสียชีวิตของผป.ฉุกเฉินที่รับ ไว้ในรพ.ภายใน 24 ชม. 6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผน รองรับภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด เขต 7. Trauma & Emergency Admin Unit (T&E A unit ) Implementation 8. ER คุณภาพ krongdai@gmail.com
  • 11. ตัวชี้วัด Service Plan:Trauma & Emergency Abd.injury with shock Massive hemothorax Cardiac injury Unstable UGI bleeding PA- 1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อแสน (ปี59: 30) minData- 2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง (ปี57,58,59: 8.5,6.8,6) ตรช.- 3. อัตราการเสียชีวิต ผป.ใน ที่มีค่า Ps Score 0.75 (รพ.ระดับ A )(ปี59: <1%) ตรช.- 4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS (ปี59: >80%) ตรช.- 5. อัตราการเสียชีวิตของ ผป.ฉุกเฉินที่รับไว้ในรพ.ภายใน 24 ชม. (ปี59: <5%) ตรช.- 6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผนรองรับภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด เขต PA- 7.Trauma & Emergency Admin Unit (T&E A unit ) Implementation PA- 8. ER คุณภาพ (ปี59: จานวนรพ.>80%) PA- 9. FAST TRACT (ER-to-OR) 1. 4. Invalid PS TEA unit Observation CPG Inhospital process Structural TEA unit นพ.สมประสงค์ ทองมีสี ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 12. จุดเน้นปี 59 Pre-crash - community strengthening 1. Community - RTI & Disaster preparedness - International cooperation 2. National Teaching Center 3. Training short course; Trauma Nurse, Disaster Preparedness Post-crash 1. Pre-hospital - Advanced EMS + Telemedicine + ThaiRefer 2. In-hopital - TEA units network นพ.สมประสงค์ ทองมีสี ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 13.  Trauma emergency service  Personnel  Data system  Technology  Finance  Administration  Participation of Stakeholder WHO 6 Building Block Plus framework krongdai@gmail.com
  • 14. • พัฒนารูปธรรม การพัฒนา การแก้ปัญหา • พัฒนา Trauma Audit In-Hospital improvement • ร่วมประสานพัฒนางาน EMS • ร่วมประสานพัฒนางาน ER • ร่วมพัฒนา Fast Tract Surgical Emergency • ร่วมพัฒนา Definitive care • ประสาน Network ผู้รับผิดชอบงานอุบัติเหตุ สสจ รพช • ร่วมประสาน DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ บทบาท TE NCs krongdai@gmail.com
  • 15. TNCs  พยาบาลผู้ประสานงานด้านอุบัติเหตุ  พยาบาลผู้ที่ทาหน้าที่ลดช่องว่าง ในการกากับ ประสานการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ ของทีมช่วยเหลือ ผู้บาดเจ็บ (trauma team) ในศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ (trauma centers) ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลในศูนย์ อุบัติเหตุระดับใด คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553 ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 16. กิจกรรมการปฏิบัติ Clinical Education Performance improvement Administration Traumaregistry consultant research Community พัฒนารูปธรรม การพัฒนา การ แก้ปัญหา พัฒนา Trauma Audit In-Hospital improvement ร่วมประสานพัฒนางาน EMS ร่วมประสานพัฒนางาน ER ร่วมพัฒนา Fast Tract Surgical Emergency ร่วมพัฒนา Definitive care ประสาน Network ผู้รับผิดชอบงาน อุบัติเหตุ สสจ รพช ร่วมประสาน DHS ศูนย์ฯ ถนน อื่น ๆ krongdai@gmail.com
  • 17. การบาดเจ็บ ตัวชี้วัด Abdominal injury with shock • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย • อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 10% EDH / SDH / ICH with anisocoria • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย • อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5% Massive hemothorax • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย • อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5% Cardiac injury • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย • อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5% Traumatic amputation • ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของจานวนผู้ป่วย • อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5% Trauma Emergency krongdai@gmail.com
  • 18. ฉุกเฉิน การจัดการ • STEMI • Stroke • Fast tract Integration • Onset to Door • Door to Definitive care Non-Trauma Emergency krongdai@gmail.com
  • 19. TPM: Responsibility 2014 Clinical activities Education responsibilities Performance improvement Administration Supervision of the trauma registry Consultant and liaison Research Community trauma care systems ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต • In level I & II, must be full time • must show evidence of educational preparation, with a maximum of 16 hrs/ year of trauma-related continuing education and clinical experience in the care of injured patients. • should be a written job description that defines sufficient authority to do.
  • 20.  Trauma care system  Resource for the optimum care of the injured patients  Trauma statistics  Mechanism of injury  Injury prevention  Trauma scoring  Trauma registry and data collection  Trauma audit TPM ต้องชัดเจน: 2014 ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 21.  Quality and performance improvement  Quality trauma education and research  Principle of pre-hospital trauma life support  Principle of Advanced Trauma Care for Nurse  Roles of trauma nurse coordinator  Advanced in trauma care  Advanced trauma development TPM ต้องชัดเจน : 2014 ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 22. หลักสูตร TPM  Essential components of a trauma system  Leadership roles critical to the success of a Trauma Program  Key components of the Trauma Program Manager role  Important elements of a successful Performance Improvement Patient Safety Program  Planning and preparation for trauma center verification/designation ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 23. หลักสูตร TPM  Best practice recommendations for trauma outreach and education  Implementing a dynamic trauma registry  Important elements of the trauma budget  Design process, tools, and data that will influence optimal reporting in accordance with accepted standards within the industry  Key psychological and socio-economic challenges common in trauma patients ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 24. A Preplanned Trauma Care Continuum ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 25. Prehospital patient care record Type and mechanism of injury;  Anatomic and physiologic conditions  Relevant times of the incident Extrication  On-scene care  Timing of, and response to interventions. ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 26. The trauma patient transfer guidelines  Identification of patients/injuries that require transfer  Methods for physician-to-physician communication between facilities and discussion of patient injuries, current treatments, and agreement on transportation mode  Documentation, including responsible parties and contacts for each institution. ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 27. Criteria for Consideration of Transfer from Level III Centers to Level I or II Centers  Carotid or vertebral arterial injury  Torn thoracic aorta or great vessel  Cardiac rupture  Bilateral pulmonary contusion with PaO2:FlO2 ratio less than 200  Major abdominal vascular injury  Grade IV or V liver injuries requiring transfusion of more than 6 U of red blood cells in 6 hours  Unstable pelvic fracture requiring transfusion of more then 6 U of red blood cells in 6 hours ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 28. Criteria for Consideration of Transfer from Level III Centers to Level I or II Centers  Fracture or dislocation with loss of distal pulses  Penetrating injuries or open fracture of the skull  GCS score of less than 14 or lateralizing  Spinal fracture or spinal cord deficit  Complex pelvis/acetabulum fractures  More than two unilateral rib fractures or bilateral rib fractures with pulmonary contusion  Significant torso injury with advanced comorbid disease ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 29. Guidelines for Transferring Patients  Transferring physician responsibilities  Receiving physician responsibilities  Management during transport  Trauma system responsibilities ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 30. ICU Nursing Care and Equipment  At Level I, II, and III trauma centers, qualified critical care nurses must be available 24 hrs/day to provide care for patients during the ICU phase  The patient-to-nurse ratio in the ICU must not exceed 2:1  Trauma-specific educational opportunities and programs should be made available to the critical care nursing staff  The ICU must have the necessary equipment to monitor and resuscitate patients ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 31. Rehabilitation  The rehabilitation of injured patients should begin the first hospital day.  The ultimate goal of trauma care is to restore the patient to pre-injury status.  Each patient should be assessed for rehabilitation needs from the rehabilitation team, an organized multidisciplinary team. ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 32. Trauma Registry  Used for improving patient care, evaluating the adequacy of the trauma system  Injury prevention, provider education, effective communication, and smooth flow of patient transfer from scene to receiving hospital and ultimately to definitive care  Collective database to provide sufficient numbers for performance improvement and program analysis ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 33. รายการ ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 1. พยาบาลผู้ประสานงานด้านการ บาดเจ็บ     2. การกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ของพยาบาลผู้ประสานงาน     คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553 http://surgeons.or.th/view.php ข้อบังคับให้มี ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย, 2553 ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 35. การบริหารจัดการทางคลินิก (Clinical Management) 1. บริหารจัดการการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บ 2. การพัฒนาแนวทางปฏิบัติทางคลินิก 3. การกากับตรวจสอบการดูแลรักษา 4. การเป็นผู้ชี้แนะและที่ปรึกษา ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 36. Inclusive trauma systems Pre-hospital care Accurate triage and protocols Save life and safe transport Rapid transfer to appropriate facility Trauma centers Protocols for major trauma patients Rehabilitation services and facilities Standard of care and trauma registries Emergency preparedness Incident planning Integrated incident planning Response to MCS ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 37. บทบาทของพยาบาลในห้องฉุกเฉิน Nurse I Airway N. Nurse II Circulated N. Nurse III Leader / Documented N. Nurse I Nurse II Nurse III Nurse IV Normal MCS ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 38. Preadmission การเตรียมการ ก่อนรับ ผู้ประสบภัย ไว้รักษา การเตรียมการ ใน ER การเตรียมทีม ในการดูแลรักษา การเตรียม ความพร้อมใน ทักษะปฏิบัติ ของทีม การซ้อม แผน emergency situation management การระบุ ตัวผู้ป่วย การจาแนกแยก ประเภทผู้ป่วย การให้การดูแล ช่วยเหลือผู้ป่วย การตรวจ วินิจฉัย ระบบการ บันทึก การจาหน่ายผู้ป่วย ออกจาก ER การให้ข้อมูลกับ สาธารณชน การปฏิบัติงานเมื่อ สิ้นสุดMCS Debriefing and lessons learned preparedness เวลาผู้ป่วยการเตรียมการ ของ ER การจาแนกประเภท ผู้ป่วย การดูแลรักษา ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 39. Trauma Nurse Coordinator Works in close collaboration with trauma director Providing care to injured patient Process educational, clinical, research, administrative, & outreach activities Supervised registrar, secretary, trauma nurse clinician Trauma Case Manager Daily ward round Collaborating between medical teams & multiple care givers Documentation Building a rapport Reassure patients Feedback problems to trauma coordinator & director Conduct patient education Data collection ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 40. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการ (Quality and performance improvement)  พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล  ร่วมประชุมการตรวจตราระบบการดูแลตรวจสอบ เหตุการณ์ที่ผิดปกติ  เฝ้ าระวังติดตามตัวบ่งชี้มาตรฐาน  แก้ไขเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรณีที่การดูแลรักษา ไม่ได้มาตรฐานร่วมกับ trauma team ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 41. Trauma Nurse Coordinator The patient’s advocate cost, efficiency, quality • บริหารกระบวนการคุณภาพ • บริหารคุณภาพ • ทบทวนกระบวนการคุณภาพ ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 42. การศึกษาและการวิจัย (Education and research)  สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการจัดการอบรม ประชุมวิชาการ ให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน หรือ trauma team  ให้ความรู้โดยตรง เช่น บรรยาย ให้คาปรึกษาแนะนา จัด ประชุมสัมมนา จัดการฝึกอบรมต่อเนื่อง  ประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติ การสอนด้านทักษะปฏิบัติ  ตรวจสอบความรู้เชิงวิชาการ เช่น ประเมินย้อนกลับการดูแล รักษาของแพทย์และแพทย์ประจาบ้าน  ใช้ข้อมูลในระบบฐานข้อมูล แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ที่เน้นผู้บาดเจ็บ ระบบการส่งต่อ และระบบการดูแลรักษา ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 43. บุคลากรและการปฏิบัติ รายการ ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 1. พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมด้าน การบาดเจ็บอย่างน้อย 1 คน ประจาบริเวณการช่วยชีวิตฉุกเฉิน /คณะบุคลากรที่ช่วยชีวิตฉุกเฉิน ตลอดเวลา     2. พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมการ ช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงประจาอยู่ใน คณะผู้บริบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ     คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553 ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 44. การพยาบาล รายการ ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 1. พยาบาลที่เกี่ยวข้องมีทักษะการ พยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ     2. พยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมเฉพาะ ทางการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บ     คู่มือมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสาหรับประเทศไทย, 2553 ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 45. ระบบบริหารจัดการการให้คาแนะนา  ทาหน้าที่ร่วมกับกรรมการผู้รับผิดชอบ ควบคุมตรวจตรา การบริหารจัดการในเรื่องการวางแผน จัดระบบการเงิน การประสานงาน และการรายงานเหตุการณ์  รณรงค์ หรือเป็นผู้นาในการสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชน ดังนี้ ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 46. Education and Experience  Baccalaureate degree in nursing and relevant masters degree(nursing preferred)  Minimum of 5 years of trauma clinical experience in either the ED/ER or Critical Care ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 47. TNCs / TPM Clarification Document Resources for Optimal Care of the Injured Patient, 2016 krongdai@gmail.com Performance Improvement and Patient Safety (PIPS)
  • 48. PIPS Program Level Hospital organization: Criterion I, II, III TPM must show evidence of educational preparation and clinical experience in the care of injured patients I, II TPM must be full‐time and dedicated to the trauma program krongdai@gmail.com
  • 49. PIPS Program Level Hospital organization: Criterion I, II TPM must show evidence of educational preparation, with a minimum of 16 hours (internal or external) of trauma‐related continuing education per year and clinical experience in the care of injured patients I, II, III The trauma center’s PIPS program must have a multidisciplinary trauma peer review committee chaired by the TMD krongdai@gmail.com
  • 50. Performance Improvement and Patient Safety (PIPS): TNCs 1. The job description of the PI (Performance Improvement) include; responsibility, accountability and authority. - educational preparation, certification and clinical experience. 2. Registered Nurse (RN) licensure is required. - Have evidence of continuing education related to trauma care and the trauma system. krongdai@gmail.com
  • 51. PIPS: TNCs 3. Including Eight (8) hours of trauma-related continuing education per year. 4. Maintain 75% attendance at the Trauma PIPS - Multidisciplinary Peer Review PI Meeting. - Multidisciplinary Trauma Program Operational Meeting. krongdai@gmail.com
  • 52. "Trauma Outcomes and Performance Improvement Course" TOPIC focuses on the ongoing assessment of the continuum of trauma care with a structured review of process and discussions of strategies to monitor trauma patient outcomes. krongdai@gmail.com
  • 53. Trauma PIPS  Improve patient outcomes  eliminate problems  reduce variation in patient care krongdai@gmail.com
  • 54. PIPS Program 1. Run the PIPS program 2. Integrated the PIPS program 3. comprehensive written PI Plan 4. The PIPS plan must be reviewed annually 5. Utilized POPIMS 6. Reviewed but are not limited krongdai@gmail.com
  • 55. PIPS Program 7. fully implement the PIPS plan 8. Full-Time Equivalent to the PIPS function. 9. Support FTEs upon trauma contact volume. 10. A multidisciplinary forum for PIPS 11. required trauma PIPS peer-review meeting 12.A multidisciplinary forum is required. krongdai@gmail.com
  • 56. PIPS Program 13. PIPS programs should provide education. 14. Outside agencies should be defined 15. Completed pre-hospital and inter-facility patient care records 16. Complete anatomical diagnosis of injury krongdai@gmail.com
  • 57. PIPS Program 17. provide loop and track patient outcomes. 18. provide feedback to referring facilities 19. seek feedback from facilities where are transferred 20. develop, utilize and evaluate evidence based CPG krongdai@gmail.com
  • 58. T&E Nurse Coordinator Scope and Practice Clinical activities Education responsibilities Performance improvement Administration Supervision of the trauma registry Consultant and liaison Research Community trauma care systems ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 59. ECS  ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อ แสน  อัตราเสียชีวิตผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองลดลง  อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มีค่า Ps  0.75  1%  อัตราส่วน ผู้ป่วยสีแดง และ Fast tract มาด้วย ระบบ EMS  80%  อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ใน โรงพยาบาลภายใน 24 ชม. <5% ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 60. ECS  มีการประเมินความเสี่ยง และจัดทาแผนรองรับ ภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด และเขต  Trauma & Emergency Admin Unit Implementation  ER คุณภาพ : จานวนโรงพยาบาล >80%  FAST TRACT (ER-to-OR) ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 61. Service delivery 1. การจัดการ Trauma Emergency Admin Unit 2. การจัดการห้องฉุกเฉินคุณภาพ 3. การจัดการช่องทางด่วน (Fast Tract) ผู้ป่วย อุบัติเหตุและฉุกเฉินจาก ER ไปยัง OR 4. การป้ องกันและควบคุมจุดเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน 5. การจัดการผ่าตัดสมองในผู้ป่วยบาดเจ็บ 6. การจัดการดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ 7. การจัดการหน่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burn Unit) ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 62. Abdominal injury with shock  ลดระยะเวลารอคอยเข้าผ่าตัด  ลดอัตราตายภายใน 24 ชม.  ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของ จานวนผู้ป่วย  อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 10% ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 63. Abdominal injury with shock  การประเมินแรกรับ ?  การวินิจฉัยถูกต้อง รวดเร็ว ?  การสื่อสารประสานการรักษา ?  ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของ จานวนผู้ป่วย  อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 10% ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 64. Massive hemothorax Cardiac injury Traumatic amputation EDH/SDH/ICH with anisocoria  ER to OR  60 นาที มากกว่า 80% ของ จานวนผู้ป่วย  อัตราตายภายใน 24 ชม.น้อยกว่า 5% ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 65. Performance Improvement 24 hrs. mortality rate OR mortality rate 30 days mortality rate Ps score  0.75 mortality rate OHCA ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 66. Clinical: ด้านคลินิก Coordinate trauma & emergency care management across the continuum of care Plan and implement clinical protocols and practice management guidelines Monitor care of patients in hospital Serve as resource for clinical practice ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. Provide staff development in facility as well as in area or region Participate in case review Standardize practice guidelines Direct community trauma and prevention programs Education: ความรู้ ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 72. Outcome management Monitor clinical outcomes Monitor systems issues related to quality of care delivery Develop quality filters, audits, and case reviews Identify trends and sentinel events Help outline remedial actions ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 73. Administration: การจัดการ Maintain operational, personnel, and financial aspects of the program as appropriate Serve as liaison between the staff and administration Represent the program on hospital committees or community boards to foster ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 74. Supervision of the Registry: การดูแลระบบบันทึก Collect, code, score, and develop processes for validating data Design registry to facilitate performance improvement, trend reports, and research while maintaining confidentiality ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 75. Consultant/Liaison: ให้คาปรึกษา ติดต่อประสานงาน  Stabilize the complex network to provide quality care  Serve as internal resource for staff in all departments  Act as extended liaison for Emergency Medical Services, the community, and nationally, if appropriate ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 76. Research: การวิจัย  Be involved in research selection and analysis  Facilitate distribution of research findings protocol design for accurate data collection, feedback, and analysis ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 77. Community/National Involvement: การมีส่วนร่วมในชุมชน-ระดับชาติ Participate in the development of trauma care systems at all levels, from local to national ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 78. A 1-day duty T&E Nurse Coordinator ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 79. เริ่มต้นที่ ER 1. ตรวจสอบทะเบียนจานวนผู้ป่วยสีแดงทั้งหมด ในรอบวันที่ผ่านมา - วางแผนตรวจเยี่ยมพร้อม TMD และ team 2. ตรวจสอบทะเบียนจานวนผู้ป่วยสีแดงในรอบเวร บ่าย-ดึก ที่ผ่านมา - บันทึกใบตรวจเยี่ยม ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 80. สถานที่เกิดเหตุ ...................................................................................... วันที่เกิดเหตุ ................................. เวลาที่เกิดเหตุ .............. น. วันที่มาถึงโรงพยาบาล ................. เวลาที่มาถึงโรงพยาบาล ............. น. สาเหตุของการบาดเจ็บ .............................................................................. ปัจจัยส่งเสริมการเกิดการบาดเจ็บ ................................................................ Coding......................................................................... (ICD10) รับส่งต่อจาก ........................................................................................... ลักษณะการบาดเจ็บ □ Blunt □ Penetrating □ อื่นๆ ...................... อาการสาคัญ ........................................................................................... □ สลบนาน ............ ชั่วโมง ......... นาที □ ไม่สลบ □ ไม่ทราบ ใบบันทึกประวัติของผู้ป่วยเมื่อแรกรับ ใบบันทึกการตรวจเยี่ยมผู้ป่วย ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 81. • แรกรับ BP……….. mmHg P…… BPM RR…… BPM O2sat……% เวลา …………น. • GCS. = …… E…. M….. V..… Pupil Size Rt……mm. RTL/ SRTL/ NRTL Lt…… mm. RTL/ SRTL/ NRTL • เวลาที่ Trauma Surgeon ตรวจผู้ป่วย ………… น. • Consult หน่วย................เวลา............น. เวลาที่แพทย์ตรวจ........ น. • Consult หน่วย................เวลา............น. เวลาที่แพทย์ตรวจ........ น. • Consult หน่วย................เวลา............น. เวลาที่แพทย์ตรวจ.........น. • การรักษา..................................................................................... ใบบันทึกอาการเมื่อแรกรับที่ ER ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 82. • จาหน่ายจาก ER เวลา………….น. วันที่…………………… • สภาพผู้ป่วยขณะออกจาก ER BP……… mmHg P…….. BPM RR…….. BPM O2sat………% • GCS. = …… E….. M….. V….. Pupil Size Rt….. mm. RTL/ SRTL/ NRTL Lt…...mm. RTL/ SRTL/ NRTL • ผลการรักษาจาก ER รับไว้รักษา □ OR □ ICU □ WARD จาหน่าย □ ส่งต่อ □ ปฏิเสธการรักษา □ หนีกลับ □ ตาย □ DBA • Comment…………………………………………………………………………………………… ใบบันทึกอาการก่อนจาหน่ายออกจาก ER ผู้บันทึก................... วันที่/เวลา ....................... ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 83. จัดแผนการทางาน 3. ติดตามข้อมูลผู้ป่วยใหม่ที่ OR 4. จัดแยกผู้ป่วยที่ต้องติดตามการตรวจเยี่ยม ตามหอผู้ป่วย 5. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยพร้อม TMD และ team; ICU, Unit - อาการผู้ป่วย แผนการรักษา - ปัญหา แนวทางและวิธีการแก้ไข ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 84. OR • Set ผ่าตัด เวลา………..… น. เริ่มผ่าตัดเวลา……….……น. ผ่าตัดเสร็จเวลา……….……..น. • หัตถการ ............................................................................ • สภาพผู้ป่วยขณะออกจากห้องผ่าตัด ............................................................................. เวลา………น. BP……..… mmHg P……… BPM RR……… BPM O2sat………% • GCS.= …… E…. M….. V….. • Pupil Size Rt……mm. RTL/ SRTL/ NRTL Lt…..mm. RTL/ SRTL/ NRTL ใบบันทึกติดตามเยี่ยมที่ OR ผู้บันทึก................... วันที่/เวลา ....................... ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 85. ICU / Ward • เวลาโทรแจ้ง…………… น. เวลาที่ผู้ป่วยมาถึง…………… น. • สภาพผู้ป่วยแรกรับ………………………………………… • BP…………… mmHg P……….BPM RR…….…BPM O2sat…………….% • GCS. = …….. E……M….. V….. Pupil Rt……RTL/SRTL/NRTL Lt….. RTL/SRTL/NRTL • วันเวลาที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ………………………. • วันเวลาที่หย่าเครื่องช่วยหายใจ………………………. 1. Clinical risk □ SBP ต่ากว่า 80 mmHg □ GCS decrease มากกว่าหรือเท่ากับ 2 □ มีภาวะ Renal failure ค่า Cr มากกว่า 1.5 หรือ มี urine ออกน้อยกว่า 0.5 ml/kg/hr 2. LOS…………………… วัน 3. Complications ............................................................. ใบบันทึกติดตามเยี่ยมที่ ICU / Unit ผู้บันทึก................... วันที่/เวลา .......................
  • 86. • สภาพผู้ป่วยเมื่อสิ้นสุดการติดตามเยี่ยมวันที่ .........................เวลา ……น. • BP…………… mmHg P……….. BPM RR………. BPM O2sat…….…% • GCS = ……… E… M… V… • Pupil size Rt……mm. RTL/ SRTL/ NRTL Lt…..mm. RTL/ SRTL/ NRTL • การวินิจฉัยขั้นสุดท้าย ................................................................................................ 1. Dx .................................... BR ..............................AIS .................. 2. Dx .....................................BR ..............................AIS................... 3. Dx .....................................BR ..............................AIS................... • ผลการรักษา • Medical □ ทุเลา □ ตาย □ พิการ • Nonmedical □ ค่าใช้จ่าย .............................................. □ ความพึงพอใจ ...................................... □ LOS .................................................... ผู้บันทึก............................................ สรุปการบันทึกวันที่............................. ใบบันทึกอาการเมื่อสิ้นสุดการติดตามเยี่ยม ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 87. ภายหลังการตรวจเยี่ยม 1. เฝ้ าระวังติดตามตัวชี้วัดในการดูแลผู้ป่วย 2. ติดตามรายงานอาการผู้ป่วยบาดเจ็บสีแดงที่ เสียชีวิต 3. บริหารจัดการข้อมูล 4. ติดตามความผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้น 5. ติดตามเส้นทางการดูแลรักษาจาก Flow, Pathway 6. เก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูล ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 88.
  • 89. ชื่อรพ: Date: Admit คน Emergency Non- emergency คน % คน % Trauma Nontrauma(NTE) คน % คน % Fast tract Non-fast tract Fast tract Non-fast tract คน % คน % คน % Abd.injury with shock คนGenSx คนUnstable UGIB คนNTE-Sx คน Massive hemothorax คนNeuroSx คน Ectopic pregnancy with shock คนNTE-Med คน Cardiac injury คนOrtho คนSTEMI คน NTE- OB/GYN คน Traumatic amputation คน PlasticSx/ Maxillo คนIschemic stroke คน NTE- Ped/Newb orn คน EDH/SDH/ICH with anisocoria or GCS drop>/=2 คนCVT คนSepsis(option) คนNTE-EP คน Uro คน Respiratory distress(option) คนNTE-ENT คน PedSx คน NTE-EYE คน Others คน NTE- others คน ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 90. ติดตามอัตรารอดชีวิต  PS > 0.5แล้วต่อมาเกิดเสียชีวิต unexpected death ทบทวนแผนการดูแลรักษา  PS < 0.5 แล้วต่อมามีชีวิตรอด unexpected survivor ความสามารถในการดูแลรักษา ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 91. A 1-day duty 1. รวบรวมจานวนผู้ป่วยสีแดงเก่าทั้งหมดในรอบวันที่ผ่านมา 2. บันทึกใบตรวจเยี่ยมจานวนผู้ป่วยสีแดงใหม่ในรอบเวรบ่าย-ดึก ที่ผ่านมา 3. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสีแดงทั้งหมดพร้อม TMD และ team 4. สรุปสิ้นสุดในการติดตามเยี่ยม 5. บริหารจัดการข้อมูล 6. วิเคราะห์ตัวชี้วัด เส้นทางการดูแลรักษา และกาหนดแผนพัฒนา krongdai@gmail.com
  • 92.
  • 93.
  • 94.
  • 96. Service delivery 1. บริการ Trauma Emergency Admin Unit 2. บริการห้องฉุกเฉินคุณภาพ 3. บริการช่องทางด่วน (Fast Tract) ผู้ป่วยอุบัติเหตุ และฉุกเฉินจาก ER ไปยัง OR 4. ป้ องกันและควบคุมจุดเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนน 5. บริการผ่าตัดสมองในผู้ป่วยบาดเจ็บ 6. บริการดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ 7. บริการหน่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burn Unit) krongdai@gmail.com
  • 97. TRISS; Trauma Score-Injury Severity Score  TRISS determines the probability of survival (Ps) of trauma patient from the RTS and ISS using the following formulae: Ps = 1 (1+e-b) krongdai@gmail.com
  • 98. REVISED TRAUMA SCORE RTS = 0.9368 GCS + 0.7326 SBP + 0.2908 RR GCS SBP RR Coded Value 13-15 >89 10-29 4 9-12 76-89 >29 3 6-8 50-75 6-9 2 4-5 1-49 1-5 1 3 0 0 0 krongdai@gmail.com
  • 99. The Injury Severity Score (ISS)  summarize the severity of the condition of multiply injured patients.  The ISS is the sum of squares of the highest AIS grades in each of the 3 most severely injured body regions. ISS = sum of 3 highest2AIS = a2 + b2 + c2 krongdai@gmail.com
  • 100. Injury Severity Score; ISS Region Injury Description AIS Square Top Three Head & Neck No injury 0 0 Face No Injury 0 0 Chest Flail Chest 4 16 Abdomen No injury 0 0 Extremity Fractured femur 3 9 External Contusion 1 1 Injury Severity Score: 26 AIS Score Injury 1 Minor 2 Moderate 3 Serious 4 Severe 5 Critical 6 Survivable ISS 1-8 Minor 9-15 Moderate 16-24 Serious 25-49 Severe 50-74 Critical 75 Maximum thaitraumanurse@gmail.com
  • 101. b = b0+b1(RTS)+b2(ISS)+b3(ageIndex) AgeIndex = 0 if the patient is below 54 years = 1 if 55 years and over If the patient is less than 15, the blunt coefficients are used regardless of mechanism. Blunt Penetrating b0 -0.4499 -2.5355 b1 0.8085 0.9934 b2 -0.0835 -0.0651 b3 -1.7430 -1.1360 krongdai@gmail.com
  • 103. แผนและการปฏิบัติงาน Clinical activities Education responsibilities Performance improvement Administration Supervision of the trauma registry Consultant and liaison Research Community trauma care systems ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 104. Trauma Emergency  Information IS เสียชีวิต 3 ฐาน 43 แฟ้ ม สอบสวนโรค  S.Delivery ECS คุณภาพ ER คุณภาพ Fast tract Surgical Emergency 5 ส DHS injury prevention model Law Enforcement  Leadership & Governance นโยบาย และการขับเคลื่อน T& E Admin Unit Network  H.Workforce EP Neuro surgeon, CVT, Nurse Prehosp/Co, Paramedic EMT-I  Essential D & Med Eq.  Financial Plan ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 105. Non Trauma Emergency • Fast tract Integration (All Tracts, STEMI, Stroke) • Onset to Door, Door to Definitive care • Public Awareness • OHCA: Out of Hospital Cardiac Arrest ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 106. Disaster Management  Hazard Risk & Impact Survey  Natural / Human Made) Disaster Management Plan (2P2R)  คณะกรรมการฯระดับหน่วยบริการ จังหวัด เขต  ระบบการเฝ้ าระวังการเกิดภัยพิบัติ  สธฉ.Central EOC  ระบบสั่งการ ICS  ระบบรายงาน  การซ้อมแผนภัยพิบัติ ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 107. P D C/S A อุปสรรค .............. อุปสรรค .............. อุปสรรค .............. อุปสรรค .............. การแก้ไข ............. การแก้ไข ............. การแก้ไข ............. การแก้ไข ............. การดาเนินงาน ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต
  • 108. ตัวชี้วัด 1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อแสน 2. อัตราตาย ผป.บาดเจ็บทางสมองลดลง 3. อัตราการเสียชีวิตผป.ใน ที่มีค่า Ps Score  0.75 (รพ. ระดับ A ) 4. อัตราส่วน ผป สีแดง และ Fast tract มาด้วยระบบ EMS 5. อัตราการเสียชีวิตของ ผป.ฉุกเฉินที่รับไว้ในรพ.ภายใน 24 ชม. 6. มีการประเมินความเสี่ยง & จัดทาแผนรองรับภัยพิบัติ ระดับหน่วยบริการ อาเภอ จังหวัด เขต 7. Trauma & Emergency Admin Unit ( T&E A unit ) Implementation 8. ER คุณภาพ ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต