SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 33
ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรที่มีต่อเชื้อราสาเหตุโรคพืชบางชนิด
ผู้จัดทำ นายทิวัตถ์  วงษ์ขันธ์ นางสาวสุนิษา   ปลื้มใจ นายจาตุรงค์  จันเทศ
ครูที่ปรึกษา นางปทุมพร  พลศักดิ์ นางสุภาวัลย์  บุญใส ที่ปรึกษาพิเศษ นายวีระพล  ภาระเวช
โรงเรียนขุขันธ์ อำเภอขุขันธ์  จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา           การเกษตรกรรมเป็นปัจจัยพื้นฐานหลักในการพัฒนาประเทศ   ด้วยจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ เกษตรกรในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นทางด้านการผลิตกันมากขึ้นทั้งเพื่อการบริโภคและการใช้งานภายในประเทศหรือเพื่อเป็นธุรกิจส่งออก  ทุกวันนี้การเกษตรจึงมุ่งสู่รูปแบบของอุตสาหกรรมมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นความต้องการวัตถุดิบต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตมากขึ้น  เกษตรกรจึงมักจะใช้สารเคมีต่างๆ ในการทำการเกษตร  โดยเฉพาะสารเคมีที่ใช้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืชเพราะเป็นวิธีที่ง่ายและได้ผลอย่างรวดเร็วรวมทั้งมีประสิทธิภาพดี
     แต่อย่างไรก็ตามการใช้สารเคมีในการทำการเกษตรติดต่อกันเป็นเวลานาน  อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพราะอาจทำให้เชื้อโรคพืชเกิดความต้านทานต่อสารเคมีเหล่านั้น เนื่องจากการกลายพันธุ์  กลายเป็นศัตรูพืชชนิดใหม่ที่ป้องกันและกำจัดได้ยากขึ้นและอาจทำลายศัตรูตามธรรมชาติของศัตรูพืชเหล่านั้น  ทำให้ปัญหาศัตรูพืชต่างๆ ยิ่งระบาดหนักขึ้นและอาจเกิดปัญหาสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรงกับมนุษย์ด้วย  ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาและวิจัยพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืช  เพื่อเพิ่มแนวทางในการป้องกันกำจัดเชื้อราสาเหตุโรคและเป็นวิธีการที่ปลอดภัยกับทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค  ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ  ควรศึกษาเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้ได้สารที่มีประสิทธิภาพและนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
            พริกและกล้วยเป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจแทบทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมักมีโรคเกิดขึ้นรวมทั้งในเขตอำเภอ ขุขันธ์เอง ทำให้ผลผลิตเสียหายเป็นอย่างมาก  ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อราสาเหตุของโรคพืช   ดังนั้นผู้ทดลองจึงสนใจศึกษาสารสกัดจากพืชสมุนไพรบางชนิดมายับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคของพริกและกล้วยเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาวิธีการควบคุมโรคอีกวิธีหนึ่ง
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดพืชสมุนไพร คือ  กระชาย ข่า  และไพลในการยับยั้ง         การเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในพริกและกล้วย
สมมติฐาน 	สารสกัดพืชสมุนไพร  คือ  กระชาย  ข่า    และไพลมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในพริกและกล้วยได้แตกต่างกัน
ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรต้น      ชนิดของสารสกัดพืชสมุนไพร  คือ  กระชาย   ข่า   และไพล 2. ตัวแปรตาม       ประสิทธิภาพของสารสกัดพืชสมุนไพร  คือ กระชาย   ข่า   และไพล ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในพริกและกล้วย 3. ตัวแปรควบคุม -ชนิดและปริมาณของอาหารเลี้ยงเชื้อ   -ปริมาณสารสกัดสมุนไพร -ชนิดและขนาดของจานเลี้ยงเชื้อ          -อายุและชนิดของเชื้อราสาเหตุโรคพืช -ระยะเวลาในการบ่มเชื้อ
ขอบเขตที่ศึกษา 	1.สถานที่ทดลองคือ ห้องปฏิบัติการชีววิทยา  โรงเรียนขุขันธ์  อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ             2 ระยะเวลาในการทดลอง  คือ ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน 2553 ถึง 28 กรกฎาคม 2553
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 ได้แนวทางในการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืชนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2 สามารถฝึกทักษะทางด้านการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์            3  มีนิสัยในการค้นคว้าเพิ่มเติม  รักการทำงาน  
วัสดุ-อุปกรณ์ 12. ฟองน้ำเช็ดโต๊ะ	 3  อัน 13. ตู้ปลอดเชื้อ (laminar air flow)                     2  เครื่อง 14. ขวดแก้ว 20  อัน 15. หลอดทดลองขนาดกลาง	70  อัน 16. จานเลี้ยงเชื้อ 70  อัน 17. ปากคีบ   2  อัน 18. ปิเปต  ขนาด 10 มิลลิลิตร   4  อัน 19. Aluminium foil       1  ม้วน 20. เข็มเขี่ยเชื้อปลายงอ  4  อัน 21. ตะเกียงแอลกอฮอล์    2 อัน 22.  กระจกนาฬิกา	         2  อัน 1. มั่นฝรั่ง	1 กิโลกรัม 2. เด็กโทรส	100 กรัม 3. ผงวุ้น		60 กรัม 4. น้ำกลั่น 750 มิลลิลิตร	6 ขวด 5. กระชาย               1  ถุง 6. ข่า		1  ถุง 7. ไพล		1 ถุง 8. ผลพริกที่มีอาการของโรค 	5  ผล 9. กล้วยที่มีอาการของโรค	1หวี 10. เอธิลแอลกอฮอล์ 95 %	1ขวด 11. เมธิลแอลกอฮอล์ 95 %	1ขวด
23. กระดาษสำหรับ  label	  1  ห่อ 24. ลูกยาง                                2  อัน 25. กระบอกตวง ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน 26. กระบอกตวง ขนาด 100 มิลลิลิตร 1 อัน 27. กระบอกฉีดแอลกอฮอล์      2  อัน	 28.cork  borer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง          5 มม. 2  อัน 29. ชั้นวางหลอดทดลอง           2  อัน 30. สำลี		                   1  ม้วน 31. ถุงพลาสติก		   2  ห่อ 32. ยางรัด		   1  ห่อ 33. ช้อนตักสาร		   2  อัน 34. กรวยแก้ว		   2  อัน 35.  ไฟแช็ค        2  	อัน 36.  มีด	           1  	อัน 37.  เขียง	           1  	อัน 38.  หม้อต้มน้ำ  1  	อัน 39.  เครื่องชั่งสารเคมี        1  	เครื่อง 40. ผ้าขาวบาง	           1  	ผืน 41. หม้อนึ่งความดันไอ (autoclave)        1  เครื่อง 42. บิกเกอร์ ขนาด 100 มิลลิลิตร      2  	อัน 43. บิกเกอร์ ขนาด 50 มิลลิลิตร       2  	อัน   44. มีดผ่าตัด	           2  	อัน
วิธีการ 1.การแยกราสาเหตุของโรคพืช การเก็บตัวอย่าง เก็บตัวอย่าง พริกและกล้วยที่เป็นโรคจากท้องถิ่น 3 แหล่งคือ บ้านนิคม  ตำบลนิคมพัฒนา  บ้านอาวอย  ตำบลโสน  อำเภอขุขันธ์  จังหวัดศรีสะเกษ
การแยกเชื้อราบริสุทธิ  	นำผลพริกและกล้วย  ที่เป็นโรคมาแยกเชื้อด้วยวิธีการ  tissue   transplanting  method  โดยเช็ดเนื้อเยื่อด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์  ให้สะอาด  แล้วตัดเนื้อเยื่อบริเวณขอบแผลระหว่างเนื้อเยื่อปกติ  และเนื้อเยื่อ ที่แสดงอาการเป็นโรคขนาด 0.5 x 0.5 เซนติเมตร  นำชิ้นเนื้อเยื่อที่ได้มาฆ่าเชื้อ ที่ผิวนอกโดยแช่ในสารละลายคลอรอกซ์10 เปอร์เซ็นต์  นาน 5 นาที  แล้วล้างออกด้วยน้ำกลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ  จากนั้นย้ายชิ้นส่วนเนื้อเยื่อลงบนอาหาร  PDA (Potato Dextrose Agar) แล้วนำไปบ่มที่อุณหภูมิห้อง  เมื่อเส้นใยเจริญออกจากเนื้อเยื่อมาประมาณ 2-3 เซนติเมตร ให้ใช้ cork  borer  ตัดปลายเส้นใยบริเวณของโคโลนี  แล้วย้ายส่วนเส้นใยดังกล่าววางบนอาหาร PDA อีกครั้งเพื่อให้ได้เชื้อบริสุทธิ์ เมื่อเชื้อราเจริญดีจึงย้ายเส้นใยไปเลี้ยงในหลอดอาหารเอียงเพื่อเก็บรักษาเชื้อราไว้ใช้ในการทดลองต่อไป
2. การศึกษาการเจริญของเชื้อรา การเตรียมแหล่งของเชื้อราและการบ่มเชื้อ	            เขี่ยเชื้อราจากข้อ 1 วางตำแหน่งกึ่งกลางของอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA แล้วบ่มที่อุณหภูมิห้อง  เป็นเวลา 7 วันหรือเมื่อเชื้อมีการเจริญเกือบเต็มจานเลี้ยงเชื้อ  จากนั้นใช้ cork  borer  ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร  เจาะเส้นใยของเชื้อราบริเวณขอบโคโลนีซึ่งกำลังเจริญดีวางบนกึ่งกลางของอาหาร PDA ที่เตรียมไว้  ทำการเลี้ยงเชื้อราสาเหตุโรคของพืชแต่ละชนิด  และแต่ละระยะเวลาอย่างละ 5 ซ้ำ  บ่มเชื้อที่อุณหภูมิห้อง  เป็นเวลา 7 วันหรือจนกว่าเชื้อรามีการเจริญเกือบเต็มจานเลี้ยงเชื้อ
          ตรวจวัดผลการเจริญของเชื้อราทุกวัน คือ  โดยวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนีในหน่วยมิลลิเมตร  นำผลที่ได้ไปสร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่ใช้ในการเจริญเติบโต (วัน) กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนี (มิลลิเมตร)
3.การสารสกัดสมุนไพร          การสกัดสารสมุนไพรอย่างหยาบโดยนำพืชสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด  คือ กระชาย    ข่า   และไพล จากแหล่งต่างๆ ดังตาราง มาล้างให้สะอาด  หั่นแล้วผึ่งให้แห้งในที่ร่ม   1 สัปดาห์  จากนั้นหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ หรือบดให้ละเอียด  นำมาชั่งน้ำหนักให้ได้ น้ำหนัก 1 กรัม 5  กรัม  และ 10 กรัม แล้วนำไปแช่ด้วยเอทธิลแอลกอฮอล์                           95 เปอร์เซ็นต์ ปริมาตร  100 มิลลิลิตร  เป็นตัวทำละลาย 2 วัน  จะได้สารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้น  เป็น 10,000 ppm 50,000 ppmและ 100,000  ppmในตัวทำละลายตามลำดับ จากนั้นนำสารสกัดที่มีระดับความเข้มข้ม100,000  ppm ทำการเจือจางให้ได้สารสกัดที่มีความเข้มข้น 1,000  2,500  5,000 และ 7,500 ppm
แหล่งสมุนไพรที่นำมาทดสอบ
4. การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพร            การเตรียมอาหารผสมสารสกัดสมุนไพรเพื่อทดสอบด้วยวิธี  poisoned  food  technique โดยการเตรียมอาหาร PDA  ปริมาตร  9 มม. ที่ผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 121 0C ภายใต้ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว เป็นเวลา 15 นาที  นำสารสกัดพืชสมุนไพร ผสมในอาหาร PDA ที่อุณหภูมิ 50 0C  ในความเข้มข้นต่างๆ  ปริมาตร 1 มม. ที่เตรียมไว้  แล้วทำการผสมให้เข้ากัน  จากนั้นเทลงในจานเลี้ยงเชื้อ  โดยทำการทดลองละ 5 ซ้ำ  ทิ้งไว้ให้อาหารแข็งจะได้สารอาหารผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีความเข้มข้น  10,000 ppm 50,000 ppmและ 100,000  ppmตามลำดับ ในส่วนของชุดควบคุมไม่มีการผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพรสำหรับการเตรียมอาหารผสมสารสกัดสมุนไพรที่มีความเข้มข้น 1,000  2,500  5,000 และ 7,500 ppm  ดำเนินการเช่นเดียวกัน
       หลังจากผิวหน้าอาหารผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพรแห้งสนิท  นำชิ้นวุ้นที่ได้จากการใช้ cork borer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง  5 มม.  เจาะเส้นใยบริเวณขอบโคโลนีเชื้อราสาเหตุโรคพืชที่แยกได้ที่อายุ 2 วัน สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากกล้วย  และอายุ 7 วัน  สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากพริก  วางบนผิวหน้าอาหารผสมสารสกัดพืชสมุนไพรโดยคว่ำให้ด้านที่มีเชื้อราอยู่ทางด้านล่าง  บ่มเชื้อที่อุณหภูมิห้อง  เมื่อเชื้อราเจริญ 2 วัน สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากกล้วย  และอายุ 7 วัน  สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากพริก  7 วัน  จึงทำการตรวจผลโดยการวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีที่เจริญและนำค่าที่ได้มาคำนวณหาเปอร์เซนต์การยับยั้งการเจริญโดยใช้สูตร
เปอร์เซ็นต์การยับยั้ง = [(A-B)/A] x 100                เมื่อ 	A  คือ  ค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อชุดควบคุม             B   คือ ค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อที่มีอาหารผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพร
ลักษณะสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้น 10,000   50,000 และ 100,000 ppm ลักษณะสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้น 1,000  2,500  5,000 และ 7,500 ppm
ผลการดำเนินงาน ตอนที่ 1 ลักษณะโคโลนีของเชื้อราสาเหตุโรค กล้วย พริก
ตอนที่ 2 การเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรค
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนีของเชื้อรา  บนอาหาร PDA ที่ผสมสารสกัดจากพืชที่ระดับ ความเข้มข้นต่างๆ
ลักษณะการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคในพริกและกล้วย
ตอนที่ 3 ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ
ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ  ต่อเชื้อราสาเหตุโรคในพริก
ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ  ต่อเชื้อราสาเหตุโรคในกล้วย
ตอนที่ 4 สรุปผลการดำเนินการ         การยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคในพริก สารสกัดที่ระดับความเข้มข้น 1,000 ppm ไพลมีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุดคือ 12.73  ระดับความเข้มข้น 2,500  5,000  และ7,500ppm ข่ามีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุด คือ  24.84   27.33 และ 40.37 ตามลำดับ  ส่วนที่ระดับ  10,000 สารสกัดทั้ง 3 ชนิดมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเท่ากัน คือ 100           การยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคในกล้วย สารสกัดที่ระดับความเข้มข้น 1,000 ppm ไพลมีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุดคือ 9.34  ระดับความเข้มข้น 2,500  5,000  และ7,500ppm กระชายมีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุด คือ   16.87  20.18  และ 33.73 ตามลำดับ  ส่วนที่ระดับ  10,000 สารสกัดทั้ง 3 ชนิดมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเท่ากัน คือ 100

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
Naddanai Sumranbumrung
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
Wichai Likitponrak
 

La actualidad más candente (20)

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 

Similar a โครงงานโรคพืช

บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
kasetpcc
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
sombat nirund
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
duckbellonly
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
Wasan Yodsanit
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556
gdowdeaw R
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556
gdowdeaw R
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
0636830815
 

Similar a โครงงานโรคพืช (20)

บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 

โครงงานโรคพืช

  • 2. ผู้จัดทำ นายทิวัตถ์ วงษ์ขันธ์ นางสาวสุนิษา ปลื้มใจ นายจาตุรงค์ จันเทศ
  • 3. ครูที่ปรึกษา นางปทุมพร พลศักดิ์ นางสุภาวัลย์ บุญใส ที่ปรึกษาพิเศษ นายวีระพล ภาระเวช
  • 4. โรงเรียนขุขันธ์ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ
  • 5. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การเกษตรกรรมเป็นปัจจัยพื้นฐานหลักในการพัฒนาประเทศ ด้วยจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ เกษตรกรในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นทางด้านการผลิตกันมากขึ้นทั้งเพื่อการบริโภคและการใช้งานภายในประเทศหรือเพื่อเป็นธุรกิจส่งออก ทุกวันนี้การเกษตรจึงมุ่งสู่รูปแบบของอุตสาหกรรมมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นความต้องการวัตถุดิบต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตมากขึ้น เกษตรกรจึงมักจะใช้สารเคมีต่างๆ ในการทำการเกษตร โดยเฉพาะสารเคมีที่ใช้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืชเพราะเป็นวิธีที่ง่ายและได้ผลอย่างรวดเร็วรวมทั้งมีประสิทธิภาพดี
  • 6. แต่อย่างไรก็ตามการใช้สารเคมีในการทำการเกษตรติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพราะอาจทำให้เชื้อโรคพืชเกิดความต้านทานต่อสารเคมีเหล่านั้น เนื่องจากการกลายพันธุ์ กลายเป็นศัตรูพืชชนิดใหม่ที่ป้องกันและกำจัดได้ยากขึ้นและอาจทำลายศัตรูตามธรรมชาติของศัตรูพืชเหล่านั้น ทำให้ปัญหาศัตรูพืชต่างๆ ยิ่งระบาดหนักขึ้นและอาจเกิดปัญหาสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรงกับมนุษย์ด้วย ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาและวิจัยพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืช เพื่อเพิ่มแนวทางในการป้องกันกำจัดเชื้อราสาเหตุโรคและเป็นวิธีการที่ปลอดภัยกับทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ควรศึกษาเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้ได้สารที่มีประสิทธิภาพและนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
  • 7. พริกและกล้วยเป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจแทบทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมักมีโรคเกิดขึ้นรวมทั้งในเขตอำเภอ ขุขันธ์เอง ทำให้ผลผลิตเสียหายเป็นอย่างมาก ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อราสาเหตุของโรคพืช ดังนั้นผู้ทดลองจึงสนใจศึกษาสารสกัดจากพืชสมุนไพรบางชนิดมายับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคของพริกและกล้วยเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาวิธีการควบคุมโรคอีกวิธีหนึ่ง
  • 8. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดพืชสมุนไพร คือ กระชาย ข่า และไพลในการยับยั้ง การเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในพริกและกล้วย
  • 9. สมมติฐาน สารสกัดพืชสมุนไพร คือ กระชาย ข่า และไพลมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในพริกและกล้วยได้แตกต่างกัน
  • 10. ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรต้น ชนิดของสารสกัดพืชสมุนไพร คือ กระชาย ข่า และไพล 2. ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพของสารสกัดพืชสมุนไพร คือ กระชาย ข่า และไพล ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในพริกและกล้วย 3. ตัวแปรควบคุม -ชนิดและปริมาณของอาหารเลี้ยงเชื้อ -ปริมาณสารสกัดสมุนไพร -ชนิดและขนาดของจานเลี้ยงเชื้อ -อายุและชนิดของเชื้อราสาเหตุโรคพืช -ระยะเวลาในการบ่มเชื้อ
  • 11. ขอบเขตที่ศึกษา 1.สถานที่ทดลองคือ ห้องปฏิบัติการชีววิทยา โรงเรียนขุขันธ์ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ 2 ระยะเวลาในการทดลอง คือ ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน 2553 ถึง 28 กรกฎาคม 2553
  • 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 ได้แนวทางในการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืชนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2 สามารถฝึกทักษะทางด้านการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ 3 มีนิสัยในการค้นคว้าเพิ่มเติม รักการทำงาน  
  • 13. วัสดุ-อุปกรณ์ 12. ฟองน้ำเช็ดโต๊ะ 3 อัน 13. ตู้ปลอดเชื้อ (laminar air flow) 2 เครื่อง 14. ขวดแก้ว 20 อัน 15. หลอดทดลองขนาดกลาง 70 อัน 16. จานเลี้ยงเชื้อ 70 อัน 17. ปากคีบ 2 อัน 18. ปิเปต ขนาด 10 มิลลิลิตร 4 อัน 19. Aluminium foil 1 ม้วน 20. เข็มเขี่ยเชื้อปลายงอ 4 อัน 21. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 2 อัน 22. กระจกนาฬิกา 2 อัน 1. มั่นฝรั่ง 1 กิโลกรัม 2. เด็กโทรส 100 กรัม 3. ผงวุ้น 60 กรัม 4. น้ำกลั่น 750 มิลลิลิตร 6 ขวด 5. กระชาย 1 ถุง 6. ข่า 1 ถุง 7. ไพล 1 ถุง 8. ผลพริกที่มีอาการของโรค 5 ผล 9. กล้วยที่มีอาการของโรค 1หวี 10. เอธิลแอลกอฮอล์ 95 % 1ขวด 11. เมธิลแอลกอฮอล์ 95 % 1ขวด
  • 14. 23. กระดาษสำหรับ label 1 ห่อ 24. ลูกยาง 2 อัน 25. กระบอกตวง ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน 26. กระบอกตวง ขนาด 100 มิลลิลิตร 1 อัน 27. กระบอกฉีดแอลกอฮอล์ 2 อัน 28.cork borer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม. 2 อัน 29. ชั้นวางหลอดทดลอง 2 อัน 30. สำลี 1 ม้วน 31. ถุงพลาสติก 2 ห่อ 32. ยางรัด 1 ห่อ 33. ช้อนตักสาร 2 อัน 34. กรวยแก้ว 2 อัน 35. ไฟแช็ค 2 อัน 36. มีด 1 อัน 37. เขียง 1 อัน 38. หม้อต้มน้ำ 1 อัน 39. เครื่องชั่งสารเคมี 1 เครื่อง 40. ผ้าขาวบาง 1 ผืน 41. หม้อนึ่งความดันไอ (autoclave) 1 เครื่อง 42. บิกเกอร์ ขนาด 100 มิลลิลิตร 2 อัน 43. บิกเกอร์ ขนาด 50 มิลลิลิตร 2 อัน 44. มีดผ่าตัด 2 อัน
  • 15. วิธีการ 1.การแยกราสาเหตุของโรคพืช การเก็บตัวอย่าง เก็บตัวอย่าง พริกและกล้วยที่เป็นโรคจากท้องถิ่น 3 แหล่งคือ บ้านนิคม ตำบลนิคมพัฒนา บ้านอาวอย ตำบลโสน อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
  • 16. การแยกเชื้อราบริสุทธิ นำผลพริกและกล้วย ที่เป็นโรคมาแยกเชื้อด้วยวิธีการ tissue transplanting method โดยเช็ดเนื้อเยื่อด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ ให้สะอาด แล้วตัดเนื้อเยื่อบริเวณขอบแผลระหว่างเนื้อเยื่อปกติ และเนื้อเยื่อ ที่แสดงอาการเป็นโรคขนาด 0.5 x 0.5 เซนติเมตร นำชิ้นเนื้อเยื่อที่ได้มาฆ่าเชื้อ ที่ผิวนอกโดยแช่ในสารละลายคลอรอกซ์10 เปอร์เซ็นต์ นาน 5 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำกลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ จากนั้นย้ายชิ้นส่วนเนื้อเยื่อลงบนอาหาร PDA (Potato Dextrose Agar) แล้วนำไปบ่มที่อุณหภูมิห้อง เมื่อเส้นใยเจริญออกจากเนื้อเยื่อมาประมาณ 2-3 เซนติเมตร ให้ใช้ cork borer ตัดปลายเส้นใยบริเวณของโคโลนี แล้วย้ายส่วนเส้นใยดังกล่าววางบนอาหาร PDA อีกครั้งเพื่อให้ได้เชื้อบริสุทธิ์ เมื่อเชื้อราเจริญดีจึงย้ายเส้นใยไปเลี้ยงในหลอดอาหารเอียงเพื่อเก็บรักษาเชื้อราไว้ใช้ในการทดลองต่อไป
  • 17. 2. การศึกษาการเจริญของเชื้อรา การเตรียมแหล่งของเชื้อราและการบ่มเชื้อ เขี่ยเชื้อราจากข้อ 1 วางตำแหน่งกึ่งกลางของอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA แล้วบ่มที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 7 วันหรือเมื่อเชื้อมีการเจริญเกือบเต็มจานเลี้ยงเชื้อ จากนั้นใช้ cork borer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร เจาะเส้นใยของเชื้อราบริเวณขอบโคโลนีซึ่งกำลังเจริญดีวางบนกึ่งกลางของอาหาร PDA ที่เตรียมไว้ ทำการเลี้ยงเชื้อราสาเหตุโรคของพืชแต่ละชนิด และแต่ละระยะเวลาอย่างละ 5 ซ้ำ บ่มเชื้อที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 7 วันหรือจนกว่าเชื้อรามีการเจริญเกือบเต็มจานเลี้ยงเชื้อ
  • 18. ตรวจวัดผลการเจริญของเชื้อราทุกวัน คือ โดยวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนีในหน่วยมิลลิเมตร นำผลที่ได้ไปสร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่ใช้ในการเจริญเติบโต (วัน) กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนี (มิลลิเมตร)
  • 19. 3.การสารสกัดสมุนไพร การสกัดสารสมุนไพรอย่างหยาบโดยนำพืชสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด คือ กระชาย ข่า และไพล จากแหล่งต่างๆ ดังตาราง มาล้างให้สะอาด หั่นแล้วผึ่งให้แห้งในที่ร่ม 1 สัปดาห์ จากนั้นหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ หรือบดให้ละเอียด นำมาชั่งน้ำหนักให้ได้ น้ำหนัก 1 กรัม 5 กรัม และ 10 กรัม แล้วนำไปแช่ด้วยเอทธิลแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ ปริมาตร 100 มิลลิลิตร เป็นตัวทำละลาย 2 วัน จะได้สารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้น เป็น 10,000 ppm 50,000 ppmและ 100,000 ppmในตัวทำละลายตามลำดับ จากนั้นนำสารสกัดที่มีระดับความเข้มข้ม100,000 ppm ทำการเจือจางให้ได้สารสกัดที่มีความเข้มข้น 1,000 2,500 5,000 และ 7,500 ppm
  • 21. 4. การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพร การเตรียมอาหารผสมสารสกัดสมุนไพรเพื่อทดสอบด้วยวิธี poisoned food technique โดยการเตรียมอาหาร PDA ปริมาตร 9 มม. ที่ผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 121 0C ภายใต้ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว เป็นเวลา 15 นาที นำสารสกัดพืชสมุนไพร ผสมในอาหาร PDA ที่อุณหภูมิ 50 0C ในความเข้มข้นต่างๆ ปริมาตร 1 มม. ที่เตรียมไว้ แล้วทำการผสมให้เข้ากัน จากนั้นเทลงในจานเลี้ยงเชื้อ โดยทำการทดลองละ 5 ซ้ำ ทิ้งไว้ให้อาหารแข็งจะได้สารอาหารผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีความเข้มข้น 10,000 ppm 50,000 ppmและ 100,000 ppmตามลำดับ ในส่วนของชุดควบคุมไม่มีการผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพรสำหรับการเตรียมอาหารผสมสารสกัดสมุนไพรที่มีความเข้มข้น 1,000 2,500 5,000 และ 7,500 ppm ดำเนินการเช่นเดียวกัน
  • 22. หลังจากผิวหน้าอาหารผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพรแห้งสนิท นำชิ้นวุ้นที่ได้จากการใช้ cork borer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม. เจาะเส้นใยบริเวณขอบโคโลนีเชื้อราสาเหตุโรคพืชที่แยกได้ที่อายุ 2 วัน สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากกล้วย และอายุ 7 วัน สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากพริก วางบนผิวหน้าอาหารผสมสารสกัดพืชสมุนไพรโดยคว่ำให้ด้านที่มีเชื้อราอยู่ทางด้านล่าง บ่มเชื้อที่อุณหภูมิห้อง เมื่อเชื้อราเจริญ 2 วัน สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากกล้วย และอายุ 7 วัน สำหรับเชื้อราสาเหตุโรคที่แยกได้จากพริก 7 วัน จึงทำการตรวจผลโดยการวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีที่เจริญและนำค่าที่ได้มาคำนวณหาเปอร์เซนต์การยับยั้งการเจริญโดยใช้สูตร
  • 23. เปอร์เซ็นต์การยับยั้ง = [(A-B)/A] x 100 เมื่อ A คือ ค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อชุดควบคุม B คือ ค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อที่มีอาหารผสมสารสกัดจากพืชสมุนไพร
  • 24.
  • 25. ลักษณะสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้น 10,000 50,000 และ 100,000 ppm ลักษณะสารสกัดหยาบที่มีความเข้มข้น 1,000 2,500 5,000 และ 7,500 ppm
  • 26. ผลการดำเนินงาน ตอนที่ 1 ลักษณะโคโลนีของเชื้อราสาเหตุโรค กล้วย พริก
  • 28. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนีของเชื้อรา บนอาหาร PDA ที่ผสมสารสกัดจากพืชที่ระดับ ความเข้มข้นต่างๆ
  • 33. ตอนที่ 4 สรุปผลการดำเนินการ การยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคในพริก สารสกัดที่ระดับความเข้มข้น 1,000 ppm ไพลมีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุดคือ 12.73 ระดับความเข้มข้น 2,500 5,000 และ7,500ppm ข่ามีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุด คือ 24.84 27.33 และ 40.37 ตามลำดับ ส่วนที่ระดับ 10,000 สารสกัดทั้ง 3 ชนิดมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเท่ากัน คือ 100 การยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคในกล้วย สารสกัดที่ระดับความเข้มข้น 1,000 ppm ไพลมีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุดคือ 9.34 ระดับความเข้มข้น 2,500 5,000 และ7,500ppm กระชายมีประสิทธิภาพในการยับยั้งมากที่สุด คือ 16.87 20.18 และ 33.73 ตามลำดับ ส่วนที่ระดับ 10,000 สารสกัดทั้ง 3 ชนิดมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเท่ากัน คือ 100