SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 76
รวมกฎ กติกา และพื้นฐานการเล่น HANDBALL
นำเสนอ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประวัติกีฬาแฮนด์บอล เยอรมันนีเป็นผู้ริเริ่ม ราวปลายศตวรรษที่  19   โดยครูสอนพลศึกษาชื่อ  Donrad Koch อาศัยทักษะพื้นฐานจากการเล่นฟุตบอลและบาสเกตบอล ชื่อที่เรียกในระยะแรกๆ คือ ฮอกกี้มือ โปโลบก โดยมีจำนวนผู้เล่นทีมละ  11  คน เหมือนฟุตบอล
ค . ศ .  1900   -  เยอรมันนี เชคโกสโลวาเกีย และเดนมาร์ก  ร่วมกันปรับปรุงการเล่นพื้นฐานขึ้น  -  ใช้ห้องพลศึกษาดัดแปลง เพราะสภาพอากาศไม่เป็นใจในการเล่นกลางแจ้ง -  สถานที่คับแคบ จึงลดคนเล่นลงเหลือ ข้างละ 7   คน ค . ศ .  1904 -  แฮนด์บอลอยู่ในความดูแลของ สหพันธ์กีฬาสมัครเล่นระหว่างชาติ  (  I.A.A.F )
ค . ศ .  1909 -  โซเวียตปรับปรุงกีฬาแฮนด์บอลข้างล ะ   7  คนขึ้นอีก -  เมือง  Kharkov -  โดย  Edward Maly ค . ศ .  1920 -  Karl Schelenz -  ปรับปรุงขนาดของลูกให้เล็กลง -  ปรับปรุงกติกาว่าด้วยการเคลื่อนที่ ในขณที่ไม่มีการส่งลูกและเลี้ยงลูกบอลได้  3  ก้าว
ค . ศ .  1926 -  I.A.A.F.  ตั้งคณะกรรมการกีฬาแฮนด์บอล โดยคัดเลือกจากประเทศต่างๆในเครือสมาชิก -  ตกลงกันเรื่องกติกา ค . ศ . 1928 -  มีการตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติขึ้น -  มี  11  ประเทศสมาชิก -  มีการสาธิตการแข่งขันกีฬาแฮนด์บอลขึ้น ในโอกาสที่มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์
ค . ศ .  1931 -  แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าเป็นรายแข่งขันกีฬาระหว่างชาติ โดยการยอมรับของ  I.O.C. ค . ศ .  1934 -  ประเทศสมาชิกสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติ ขยายตัวเพิ่มเป็น  25  ประเทศ ค . ศ . 1936 -  มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเข้าในกีฬาโอลิมปิก -  กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน -  เรียกว่า  NAZI OLYMPIC -  เยอรมันได้เหรียญทอง
ค . ศ .  1938 -  เยอรมันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแฮนด์บอลชิงชนะเลิศของโลกเป็นครั้งแรก -  มี  10   ประเทศเป็นผู้ร่วมเข้าแข่งขัน ค . ศ . 1946 -  ตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลนานาชาติ  ( THF) -  สมาชิก  8   ประเทศ คือ เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์  ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์  และสวิตเซอร์แลน ค . ศ . 1954 THF  จัดให้มีการแฮนด์บอลในร่มชิงชนะเลิศของโลกขึ้นเป็นครั้งแรก สวีเดน เป็นผู้ชนะเลิศ
ค . ศ . 1956 -  มีการแข่งขันแฮนด์บอลหญิงเป็นครั้งแรก -  ประเทศเชกโกสโลวาเกียเป็นผู้ชนะเลิศ -  มีการปรับปรุงกติกาใหม่ที่เล่นกันจนถึงปัจจุบัน -  โดยอาศัยกติกาของฟุตบอลและบาสเกตบอลมาผสมกัน ค . ศ . 1959 -  Dr. Peter Bushning  -  ริเริ่มนำกีฬาแฮนด์บอลเข้าไปเผยแพร่ที่รัฐนิวยอร์ก และรัฐนิวเจอร์ซี ประเทศสหรัฐอเมริกา
ค . ศ .  1968 -  B.J. Bowland  และ  Phil Hoden   สมาชิกของสมาคมแฮนด์บอล ประเทศอังกฤษ -  จัดให้มีการประชุมระหว่างสมาชิกของสมาคมแฮนด์บอลต่างๆ ในอังกฤษ -  เพื่อเข้าร่วมเป็นสมาพันธ์ระหว่างชาติ ค . ศ . 1969 -  อิตาลี ได้เดินทางมาแข่งขันกีฬาแฮนด์บอล ที่ประเทศอังกฤษ -  เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ
ค . ศ .  1972 -  แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกอีครั้งหนึ่ง  -  ณ เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมัน -  ประเทศยูโกสลาเวีย ได้เหรียญทอง ค . ศ . 1976 -  มีการบรรจุการแข่งขันประเภทหญิง -  ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงมอลทรีลที่ประเทศแคนาดา -  สหภาพโซเวียต ชนะเลิศ ทั้ง ทีมหญิง และ ทีมชาย ค . ศ . 1982 -  มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเป็นครั้งแรกกีฬาเอเชื่ยนเกมส์ครั้งที่  9   ที่ประเทศอินเดีย
พ . ศ .  2482   -  ได้มีการนำ กีฬาแฮนด์บอลเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย  -  โดยอาจารย์กอง วิสุทธารมย์ อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา  -  มีการเล่นแบบ  11  คนอยู่ -  หลังจากนั้นไม่นานจึงถูกยกเลิกไป พ . ศ . 2500 -  นายธนิต คงมนต์ ได้เสนอกีฬาแฮนด์บอลเข้าไว้ในหลักสูตรพลศึกษาของวิทยาลัยและโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย -  ได้รับการอนุมัติใน  พ . ศ . 2501 กีฬาแฮนด์บอลในประเทศไทย
ในปัจจุบัน กีฬาแฮนด์บอลได้ถูกบรรจุเข้าไว้ในการเรียนการสอน ในระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ มหาวิทยาลัย
ประโยขน์ของการเล่น ประโยชน์ทางด้านร่างกาย ประโยชน์ทางด้านจิตใจ และ อารมณ์ ประโยชน์ทางด้านสังคมทั่วไป
ประโยชน์ทางด้านร่างกาย ส่งเสริมสมรรถภาพทางร่างกาย - กล้ามเนื้อแข็งแรง สร้างความคล่องแคล่วว่องไว ความอ่อนตัว ความอดทนและพลัง เสริมสร้างระบบการประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อ กับประสาทสัมผัส ช่วยให้เซลล์ต่างๆ ของเนื้อเยื่อทำงานได้ดี ระบบโครงกระดูก พัฒนาดี เจริญเติบโตดี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประโยชน์ทางด้านจิตใจและอารมณ์ เกิดความมั่นใจ กล้าตัดสินใจ มีจิตใจหนักแน่น เกิดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีน้ำใจเป็นนักกีฬา ยอมรับในตัวผู้อื่น เป็นผู้เสียสละ เป็นการพักผ่อน ระบายความเครียด จิตใจและอารมณ์ สุขุม เยือกเย็น
ประโยชน์ทางด้านสังคม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย กติกา เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยขน์  ฝึกพื้นฐานการอยู่ร่วมกัน รู้จักการเข้าสังคม
กติกาข้อ  1 :  สนามแข่ง กติกาข้อ  2 :  เวลาการเล่น กติกาข้อ  3 :  ลูกบอล กติกาข้อ  4 :  ผู้เล่น กติกาข้อ  5 :  ผู้รักษาประตู กติกาข้อ  6 :  เขตประตู กติกาข้อ  7 :  การเล่นลูกบอล กติกาข้อ  8 :  การเข้าหาผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม  กติกาข้อ  9 :  การได้ประตู ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กติกาและอุปกรณ์การเล่น
 
 
 
 
 
 
 
 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การทรงตัวขณะเคลื่อนที่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3.  การทรงตัวเมื่อต้องการหยุด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
การรับส่งลูกบอล
 
การรับลูกบอลในลักษณะต่างๆ ,[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การรับลูกที่ส่งมาไม่ตรงตัวทางแขนด้านที่ถนัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4.  การรับลูกบอลที่กลิ่งมาตามพื้น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การส่งลูกบอล ประกอบด้วยหลักการดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
การปฏิบัติในการส่งลูก -   ถ้าผู้ส่งถนัดมือขวา  ก็จะต้องใช้เท้าซ้ายอยู่ข้างหน้าเท้าขวาในขณะส่งลูก -  โน้มตัวไปด้านหน้า  ถ่ายน้ำหนักตัวไปยังด้านหน้าเอเสริมแรงทำให้ลูกวิ่งได้เร็วและแรงมากยิ่งขั้ น
การยืนส่งบอลในลักษณะต่างๆ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2. การยืนส่งด้วยมือสองมือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การกระโดดส่งลูกบอล 1.  กระโดดส่งลูกบอลมือเดียวตรงหน้า -  กระโดดใช้เท้าด้านที่ตรงข้ามกับมือที่ถือลูก  ( Take off )  ในขณะเดียวกันให้งอเข่าตรงข้าม -  ขณะที่ตัวลอยอยู่ในอากาศ  ส่งลูกบอลออกไป  ในขณะเดียวกันให้บิดลำตัว เพื่อส่งกำลังติดตามด้วยไหล่  ข้อศอก  และสุดท้ายที่ข้อมือจนตึงปลายนิ้ว
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
5.  กระโดดสองเท้าส่งลูกบอลสองมือ - การกระโดดให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสอง - การส่งลูกบอลเป็นการส่งลูกบอลมือเหนือศีรษะ - มือทั้งสองถือลูกบอล  เหยียดขึ้นไปเหนือศีรษะ  เหยียดลำตัวมาทางด้านหลังเล็กน้อย - ส่งลูกบอลด้วยแรงจากลำตัว  แขน  และนิ้วมือ  ให้เหวี่ยงแขนตามทิศทางการส่งลูกบอลด้วย
ข้อเสนอแนะในการรับ  -  ส่งลูกบอล 1.  อย่าแสดงอาการว่าจะส่งลูกไปในทิศทางใด 2.  การหลอกคู่ต่อสู้ พยายามอย่าให้ข้างเดียวกันหลงทางไปด้วย 3.  การส่งลูกระวังอย่าให้แรงหรือเบาเกินไป 4.  เป้าหมายของการส่งลูกขณะผู้รับเคลื่อนที่  ประมาณข้างหน้าของผู้รับระยะ  1  ช่วงแขน  ไม่ควรส่งย้อนหลัง  สูงหรือต่ำเกินไป 5.  การส่งลูกระยะไกล  พยายามไม่ให้ลูกวิ่งเป็นวิถีโค้ง 6.  ไม่ควรส่งลูกกระดอนบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็น 7.  ไม่ควรส่งลูกพลิกแพลงบ่อย  ในขณะที่ไม่มีความชำนาญ  จะเป็นการเสี่ยงโดยไม่จำเป็น 8.  อย่าส่งลูกขณะที่ผู้รับยังวิ่งหันหลังให้ 9.  อย่าส่งลูกข้ามคน  เพราะอาจถูกคู่ต่อสู้ตัดแย่งเอาไปได้
การเลี้ยงลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล  คือ  ในขณะยืนหรือเคลื่อนที่ พยายามบังคับลูกบอลให้กระทบพื้น  หรือกลิ้งบนพื้นด้วยอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย  ผู้เล่นจะก้าวกี่ก้าวก็ได้ในระหว่างที่กำลังเลี้ยงลูกบอลอยู่
ทักษะในการปฏิบัติ 1.  ปัดลูกบอลไปบนพื้นสนาม  ให้ผู้ฝึกกางนิ้วมือที่จะใช้เลี้ยงลูกบอลออกทุกนิ้ว  เวลาผลักลูกบอลลงสู่พื้นนั้น  ใช้เฉพาะนิ้วทั้งห้าเท่านั้น  อย่าใช้ฝ่ามือผลักลูกบอลเป็นอันขาด 2.   ตำแหน่งของร่างกายขณะเลี้ยงลูกบอล  ให้ก้มตัวไปข้างหน้า  ย่อเข่า  แขนอีกข้างกางออกเพื่อการทรงตัว เท้าอยู่ในลักษณะมีเท้านำ และเท้าตาม 3.  การเปลี่ยนตำแหน่งของลำตัว  หรือทิศทางการเคลื่อนที่ หรือหลบหลีกคู่ต่อสู้  ผู้ที่เลี้ยงลูกบอล ต้องมีทักษะในการใช้มือเลี้ยงลูกเป็นอย่างดีและถูกต้อง 4.  ลำตัวเอียงโน้มไปข้างหน้า หรือด้านข้างเพื่อช่วยในหารหลบหลีกและป้องกันคู่ต่อสู้ไปด้วย 5.  เมื่อต้องการหยุด ให้ย่อตัวลงต่ำ และกดลูกให้ต่ำลง  หรือจับลูกบอลด้วยมือเดียวหรือสองมือก็ได้
ลักษณะการเลี้ยงลูกบอล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การหมุนตัว เป็นทักษะที่ต้องการการฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง  เพราะเป็นลักษณะการเล่นที่ต้องอาศัยความสามารถด้านต่างๆ มาประกอบด้วยกัน  แยกได้เป็น  2  ลักษณะ 1. การหมุนตัวอยู่กับที่ 2. การหลอกหมุนตัวกลับ
1.  การหมุนตัวอยู่กับที่ -  ถือเป็นทักษะเริ่มต้น นำไปสู่การบังกติกาอนุญาตให้ผู้เล่นถือลูกบอลอยู่ สามารถกาวเท้าได้สูงสุด  3  ก้าว -  การก้าวเท้าในหารหมุนตัวคือ  ขณะยืนอยู่ด้วยเท้าทั้งสองข้าง แล้วยกเท้าหนึ่งขึ้นแล้ววางเท้านั้นลงอีกครั้ง  หรือเคลื่อนเท้าจากที่หนึ่งไปยังที่อื่นๆ โดยที่เท้าอีกเท้าหนึ่งเป็นเท้าหลักอยู่กับพื้น  ทั้งนี้ต้องไม่เกิน  3  วินาที
วิธีการปฏิบัติ 1.  หมุนตัวโดยใช้เท้าหนึ่งเท้าใดเป็นหลัก  หมุนไปตามทิศทางที่ต้องการ 2. การหมุนให้ใช้เท้าที่ไม่ใช่เท้าหลัก  เป็นเท้าหมุนดดยการเหวี่ยงไปรอบๆ 3. เท้าที่ใช้เป็นหลักจะต้องยึดมั่นอยู่กับพื้น  โดยใช้เขย่งส้นเท้าขึ้นให้ปลายเท้าติดดิน 4. การหมุน ใช้อุ้งเท้าโดนหัวแม่เท้าเป็นจุดหมุน
 
 
 
 
 
 
1. 6  การยืนยิงประตูแบบกลับหลัง
 
 
 
 
คำอธิบายสัญลักษณ์
คำอธิบายสัญลักษณ์
สัญญาณมือจากกรรมการ
สัญญาณมือจากกรรมการ
แบบฟอร์มใบส่งรายชื่อนักกีฬาแฮนด์บอล
[object Object]

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
SophinyaDara
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
teerachon
 
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
Dome Lonelydog
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
teerachon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 

La actualidad más candente (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 

แฮนด์บอล

  • 2.
  • 3. ประวัติกีฬาแฮนด์บอล เยอรมันนีเป็นผู้ริเริ่ม ราวปลายศตวรรษที่ 19 โดยครูสอนพลศึกษาชื่อ Donrad Koch อาศัยทักษะพื้นฐานจากการเล่นฟุตบอลและบาสเกตบอล ชื่อที่เรียกในระยะแรกๆ คือ ฮอกกี้มือ โปโลบก โดยมีจำนวนผู้เล่นทีมละ 11 คน เหมือนฟุตบอล
  • 4. ค . ศ . 1900 - เยอรมันนี เชคโกสโลวาเกีย และเดนมาร์ก ร่วมกันปรับปรุงการเล่นพื้นฐานขึ้น - ใช้ห้องพลศึกษาดัดแปลง เพราะสภาพอากาศไม่เป็นใจในการเล่นกลางแจ้ง - สถานที่คับแคบ จึงลดคนเล่นลงเหลือ ข้างละ 7 คน ค . ศ . 1904 - แฮนด์บอลอยู่ในความดูแลของ สหพันธ์กีฬาสมัครเล่นระหว่างชาติ ( I.A.A.F )
  • 5. ค . ศ . 1909 - โซเวียตปรับปรุงกีฬาแฮนด์บอลข้างล ะ 7 คนขึ้นอีก - เมือง Kharkov - โดย Edward Maly ค . ศ . 1920 - Karl Schelenz - ปรับปรุงขนาดของลูกให้เล็กลง - ปรับปรุงกติกาว่าด้วยการเคลื่อนที่ ในขณที่ไม่มีการส่งลูกและเลี้ยงลูกบอลได้ 3 ก้าว
  • 6. ค . ศ . 1926 - I.A.A.F. ตั้งคณะกรรมการกีฬาแฮนด์บอล โดยคัดเลือกจากประเทศต่างๆในเครือสมาชิก - ตกลงกันเรื่องกติกา ค . ศ . 1928 - มีการตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติขึ้น - มี 11 ประเทศสมาชิก - มีการสาธิตการแข่งขันกีฬาแฮนด์บอลขึ้น ในโอกาสที่มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์
  • 7. ค . ศ . 1931 - แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าเป็นรายแข่งขันกีฬาระหว่างชาติ โดยการยอมรับของ I.O.C. ค . ศ . 1934 - ประเทศสมาชิกสหพันธ์แฮนด์บอลสมัครเล่นนานาชาติ ขยายตัวเพิ่มเป็น 25 ประเทศ ค . ศ . 1936 - มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเข้าในกีฬาโอลิมปิก - กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน - เรียกว่า NAZI OLYMPIC - เยอรมันได้เหรียญทอง
  • 8. ค . ศ . 1938 - เยอรมันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแฮนด์บอลชิงชนะเลิศของโลกเป็นครั้งแรก - มี 10 ประเทศเป็นผู้ร่วมเข้าแข่งขัน ค . ศ . 1946 - ตั้งสหพันธ์แฮนด์บอลนานาชาติ ( THF) - สมาชิก 8 ประเทศ คือ เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ และสวิตเซอร์แลน ค . ศ . 1954 THF จัดให้มีการแฮนด์บอลในร่มชิงชนะเลิศของโลกขึ้นเป็นครั้งแรก สวีเดน เป็นผู้ชนะเลิศ
  • 9. ค . ศ . 1956 - มีการแข่งขันแฮนด์บอลหญิงเป็นครั้งแรก - ประเทศเชกโกสโลวาเกียเป็นผู้ชนะเลิศ - มีการปรับปรุงกติกาใหม่ที่เล่นกันจนถึงปัจจุบัน - โดยอาศัยกติกาของฟุตบอลและบาสเกตบอลมาผสมกัน ค . ศ . 1959 - Dr. Peter Bushning - ริเริ่มนำกีฬาแฮนด์บอลเข้าไปเผยแพร่ที่รัฐนิวยอร์ก และรัฐนิวเจอร์ซี ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 10. ค . ศ . 1968 - B.J. Bowland และ Phil Hoden สมาชิกของสมาคมแฮนด์บอล ประเทศอังกฤษ - จัดให้มีการประชุมระหว่างสมาชิกของสมาคมแฮนด์บอลต่างๆ ในอังกฤษ - เพื่อเข้าร่วมเป็นสมาพันธ์ระหว่างชาติ ค . ศ . 1969 - อิตาลี ได้เดินทางมาแข่งขันกีฬาแฮนด์บอล ที่ประเทศอังกฤษ - เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ
  • 11. ค . ศ . 1972 - แฮนด์บอลถูกบรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกอีครั้งหนึ่ง - ณ เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมัน - ประเทศยูโกสลาเวีย ได้เหรียญทอง ค . ศ . 1976 - มีการบรรจุการแข่งขันประเภทหญิง - ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงมอลทรีลที่ประเทศแคนาดา - สหภาพโซเวียต ชนะเลิศ ทั้ง ทีมหญิง และ ทีมชาย ค . ศ . 1982 - มีการบรรจุกีฬาแฮนด์บอลเป็นครั้งแรกกีฬาเอเชื่ยนเกมส์ครั้งที่ 9 ที่ประเทศอินเดีย
  • 12. พ . ศ . 2482 - ได้มีการนำ กีฬาแฮนด์บอลเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย - โดยอาจารย์กอง วิสุทธารมย์ อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา - มีการเล่นแบบ 11 คนอยู่ - หลังจากนั้นไม่นานจึงถูกยกเลิกไป พ . ศ . 2500 - นายธนิต คงมนต์ ได้เสนอกีฬาแฮนด์บอลเข้าไว้ในหลักสูตรพลศึกษาของวิทยาลัยและโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย - ได้รับการอนุมัติใน พ . ศ . 2501 กีฬาแฮนด์บอลในประเทศไทย
  • 15.
  • 16. ประโยชน์ทางด้านจิตใจและอารมณ์ เกิดความมั่นใจ กล้าตัดสินใจ มีจิตใจหนักแน่น เกิดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีน้ำใจเป็นนักกีฬา ยอมรับในตัวผู้อื่น เป็นผู้เสียสละ เป็นการพักผ่อน ระบายความเครียด จิตใจและอารมณ์ สุขุม เยือกเย็น
  • 17. ประโยชน์ทางด้านสังคม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย กติกา เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยขน์ ฝึกพื้นฐานการอยู่ร่วมกัน รู้จักการเข้าสังคม
  • 18.
  • 19.  
  • 20.  
  • 21.  
  • 22.  
  • 23.  
  • 24.  
  • 25.  
  • 26.  
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.  
  • 32.  
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37. การปฏิบัติในการส่งลูก - ถ้าผู้ส่งถนัดมือขวา ก็จะต้องใช้เท้าซ้ายอยู่ข้างหน้าเท้าขวาในขณะส่งลูก - โน้มตัวไปด้านหน้า ถ่ายน้ำหนักตัวไปยังด้านหน้าเอเสริมแรงทำให้ลูกวิ่งได้เร็วและแรงมากยิ่งขั้ น
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50. การกระโดดส่งลูกบอล 1. กระโดดส่งลูกบอลมือเดียวตรงหน้า - กระโดดใช้เท้าด้านที่ตรงข้ามกับมือที่ถือลูก ( Take off ) ในขณะเดียวกันให้งอเข่าตรงข้าม - ขณะที่ตัวลอยอยู่ในอากาศ ส่งลูกบอลออกไป ในขณะเดียวกันให้บิดลำตัว เพื่อส่งกำลังติดตามด้วยไหล่ ข้อศอก และสุดท้ายที่ข้อมือจนตึงปลายนิ้ว
  • 51.
  • 52. 5. กระโดดสองเท้าส่งลูกบอลสองมือ - การกระโดดให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสอง - การส่งลูกบอลเป็นการส่งลูกบอลมือเหนือศีรษะ - มือทั้งสองถือลูกบอล เหยียดขึ้นไปเหนือศีรษะ เหยียดลำตัวมาทางด้านหลังเล็กน้อย - ส่งลูกบอลด้วยแรงจากลำตัว แขน และนิ้วมือ ให้เหวี่ยงแขนตามทิศทางการส่งลูกบอลด้วย
  • 53. ข้อเสนอแนะในการรับ - ส่งลูกบอล 1. อย่าแสดงอาการว่าจะส่งลูกไปในทิศทางใด 2. การหลอกคู่ต่อสู้ พยายามอย่าให้ข้างเดียวกันหลงทางไปด้วย 3. การส่งลูกระวังอย่าให้แรงหรือเบาเกินไป 4. เป้าหมายของการส่งลูกขณะผู้รับเคลื่อนที่ ประมาณข้างหน้าของผู้รับระยะ 1 ช่วงแขน ไม่ควรส่งย้อนหลัง สูงหรือต่ำเกินไป 5. การส่งลูกระยะไกล พยายามไม่ให้ลูกวิ่งเป็นวิถีโค้ง 6. ไม่ควรส่งลูกกระดอนบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็น 7. ไม่ควรส่งลูกพลิกแพลงบ่อย ในขณะที่ไม่มีความชำนาญ จะเป็นการเสี่ยงโดยไม่จำเป็น 8. อย่าส่งลูกขณะที่ผู้รับยังวิ่งหันหลังให้ 9. อย่าส่งลูกข้ามคน เพราะอาจถูกคู่ต่อสู้ตัดแย่งเอาไปได้
  • 54. การเลี้ยงลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล คือ ในขณะยืนหรือเคลื่อนที่ พยายามบังคับลูกบอลให้กระทบพื้น หรือกลิ้งบนพื้นด้วยอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ผู้เล่นจะก้าวกี่ก้าวก็ได้ในระหว่างที่กำลังเลี้ยงลูกบอลอยู่
  • 55. ทักษะในการปฏิบัติ 1. ปัดลูกบอลไปบนพื้นสนาม ให้ผู้ฝึกกางนิ้วมือที่จะใช้เลี้ยงลูกบอลออกทุกนิ้ว เวลาผลักลูกบอลลงสู่พื้นนั้น ใช้เฉพาะนิ้วทั้งห้าเท่านั้น อย่าใช้ฝ่ามือผลักลูกบอลเป็นอันขาด 2. ตำแหน่งของร่างกายขณะเลี้ยงลูกบอล ให้ก้มตัวไปข้างหน้า ย่อเข่า แขนอีกข้างกางออกเพื่อการทรงตัว เท้าอยู่ในลักษณะมีเท้านำ และเท้าตาม 3. การเปลี่ยนตำแหน่งของลำตัว หรือทิศทางการเคลื่อนที่ หรือหลบหลีกคู่ต่อสู้ ผู้ที่เลี้ยงลูกบอล ต้องมีทักษะในการใช้มือเลี้ยงลูกเป็นอย่างดีและถูกต้อง 4. ลำตัวเอียงโน้มไปข้างหน้า หรือด้านข้างเพื่อช่วยในหารหลบหลีกและป้องกันคู่ต่อสู้ไปด้วย 5. เมื่อต้องการหยุด ให้ย่อตัวลงต่ำ และกดลูกให้ต่ำลง หรือจับลูกบอลด้วยมือเดียวหรือสองมือก็ได้
  • 56.
  • 57. การหมุนตัว เป็นทักษะที่ต้องการการฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง เพราะเป็นลักษณะการเล่นที่ต้องอาศัยความสามารถด้านต่างๆ มาประกอบด้วยกัน แยกได้เป็น 2 ลักษณะ 1. การหมุนตัวอยู่กับที่ 2. การหลอกหมุนตัวกลับ
  • 58. 1. การหมุนตัวอยู่กับที่ - ถือเป็นทักษะเริ่มต้น นำไปสู่การบังกติกาอนุญาตให้ผู้เล่นถือลูกบอลอยู่ สามารถกาวเท้าได้สูงสุด 3 ก้าว - การก้าวเท้าในหารหมุนตัวคือ ขณะยืนอยู่ด้วยเท้าทั้งสองข้าง แล้วยกเท้าหนึ่งขึ้นแล้ววางเท้านั้นลงอีกครั้ง หรือเคลื่อนเท้าจากที่หนึ่งไปยังที่อื่นๆ โดยที่เท้าอีกเท้าหนึ่งเป็นเท้าหลักอยู่กับพื้น ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 3 วินาที
  • 59. วิธีการปฏิบัติ 1. หมุนตัวโดยใช้เท้าหนึ่งเท้าใดเป็นหลัก หมุนไปตามทิศทางที่ต้องการ 2. การหมุนให้ใช้เท้าที่ไม่ใช่เท้าหลัก เป็นเท้าหมุนดดยการเหวี่ยงไปรอบๆ 3. เท้าที่ใช้เป็นหลักจะต้องยึดมั่นอยู่กับพื้น โดยใช้เขย่งส้นเท้าขึ้นให้ปลายเท้าติดดิน 4. การหมุน ใช้อุ้งเท้าโดนหัวแม่เท้าเป็นจุดหมุน
  • 60.  
  • 61.  
  • 62.  
  • 63.  
  • 64.  
  • 65.  
  • 66. 1. 6 การยืนยิงประตูแบบกลับหลัง
  • 67.  
  • 68.  
  • 69.  
  • 70.  
  • 76.