SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 56
Descargar para leer sin conexión
ความหลากหลายทางชีวภาพ
• ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง
 การทีสิงมีชวิตหลากหลายสายพันธุ์ (genus) และชนิด
            ี
  (Species)มาอยูรวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึง หรือ
                 ่
  ระบบนิเวศหนึงของสิงมีชวิตจากทุก ๆ แหล่ง ครอบคลุม
                        ี
  ทังบนพื-นดิน มหาสมุทร
    -
ประเภทความหลากหลายของสิงมีชีวิต
จําแนกออกเป็ น 3 ประเภท คือ

1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity)
2. ความหลากหลายของชนิด (species diversity) เช่น แมลง
3. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา(ระบบนิเวศ) (ecological
    diversity)
พันธ ุกรรม

                         หลากหลายชนิด




             ระบบนิเวศ
อน ุกรมวิธาน (Taxonomy) หมายถึง การจัดหมวดหมูของ
                 Taxonomy)                            ่
         สิงมีชวิต และจะมีการเรียงลําดับจากใหญ่ไปเล็ก
               ี

การจําแนกของสิงมีชวิต แยกได้ 3 วิธี คือ
                  ี
1. แบบผิวเผิน คือ ดูจากลักษณะภายนอก โดยไม่ได้คานึงถึง
                                                  ํ
    พันธุกรรม แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ กลุมพืช และกลุมสัตว์
                                        ่       ่
2. ตามลักษณะทางธรรมชาติเช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต
    ของตัวอ่อน สรีรวิทยา
3. อาศัยลักษณะทางพันธ ุกรรม และการถ่ายทอดลักษณะทาง
    พันธุกรรม
ลักษณะทีใช้การจําแนกสิงมีชวิต
                                           ี

1.ลักษณะภายนอกและโครงสร้างภายในของร่างกาย
2.แบบแผนของการเจริญเติบโตและโครงสร้างทีเกิดขึนในระยะทีเป็ นตัวอ่อน
                                                -
  (เช่น คน นก ปลา กบ แม้แต่ตวเต็มวัยต่างกันแต่ในระยะตัวอ่อนก็ตางมีชอง
                            ั                                 ่    ่
  เหงือกและโนโตคอร์ดคล้ายกันจะอยูในไฟลัมเดียวกัน)
                                 ่
3.ซากดึกดําบรรพ์ อาจทําให้ทราบถึงบรรพบุรษของสิงมีชีวิตนันๆ
                                           ุ              -
4.โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนลล์ เป็ นการศึกษาในระดับเซลล์และ
  ส่วนประกอบของเซลล์
5.สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี
6.ลักษณะทางพันธุกรรม
• การจัดหมวดหมู่ของสิงมีชีวิต และจะมีการเรียงลําดับจากใหญ่
  ไปเล็ก
Kingdom (อาณาจักร)
Phylum(ไฟลัมใช้กบสัตว์) หรือ Division(ดิวิชนใช้กบพืช)
                ั                          ั ั
Class (ชัน)
         -
Order(อันดับ)
Family (ครอบครัว)
Genus (สกุล)
Species (ชนิด)
การเรียกชือสิงมีชวิต
                                      ี
• ชือพื(นเมือง คือ ชือทีเรียกสิงมีชวิตตามท้องถิน แต่ละภาคเรียกชือ
                                   ี
  ต่างกัน เช่น แมลงปอ ภาคเหนือ เรียกแมงกะบี- ภาคใต้ เรียกแมงพี-หรือ
  มะละกอ ภาคอีสาน เรียกบักหุ่ง ภาคใต้ เรียก ล่อกอ ภาคเหนือ เรียก
  บักก้วยเต้ด
• ชือสามัญ คือชือภาษาอังกฤษของสิงมีชวิต เช่น กล้วย
                                          ี
  (banana)มะพร้าว(coconut) บัว(lotus)
   banana              coconut        lotus
• ชือวิทยาศาสตร์ คือ ชือทีกําหนดชนิดของสิงมีชวิตทุกหมวดหมู่
                                                    ี
• คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)นักชีววิทยาชาวสวีเดน ได้
  ชือว่าเป็ น “บิดาแห่งวิชาอน ุกรมวิธาน” เป็ นผูเ้ สนอให้เรียกชือของ
  สิงมีชวิต
         ี
เกณฑ์ในการตังชือวิทยาศาสตร์ของสิงมีชวิต
                -                       ี
1.ต้องเป็ นภาษาลาตินเสมอหรือ ภาษาอืนทีเปลียนแปลงมาจากภาษา
  ลาติน (เนืองจากภาษาลาตินเป็ นภาษาทีตายแล้ว ไม่เป็ นภาษาพูด
  ความหมายไม่คอยเปลียนแปลงและเป็ นทีนิยมในหมูนกวิทยาศาสตร์)
                   ่                             ่ ั
2.ชือวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์เป็ นอิสระต่อกัน
3.ชือวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์แต่ละหมวดหมูจะถูกต้องเพียงชือ
                                               ่
  เดียวเท่านัน
             -
4.ชือหมวดหมูทกลําดับขัน
               ่ ุ      -
   –ชือแฟมิลีของพืชต้องลงท้ายด้วย –sceas
   –ชือแฟมิลีของสัตว์ตองลงท้ายด้วย -idao
                      ้
เกณฑ์ในการตังชือวิทยาศาสตร์ของสิงมีชวิต(ต่อ)
            -                       ี
5.ชือในลําดับสปี ชีส์ ต้องประกอบด้วย 2 คํา โดยถือตาม
 Bionomial System อย่างเคร่งครัด คือ
 -คําแรก จะเป็ นชือจีนส(genus) ขึนต้นด้วยอักษรตัวใหญ่
                           ั       -
 -คําหลัง จะเป็ นชือสปชีส(์ species) ขึนต้นด้วยอักษรตัวเล็กมัก
                         ี             -
  เป็ นคําคุณศัพท์แสดงลักษณะเด่น เช่น สี ถิน กําเนิด รูปพรรณ
  สัณฐาน ผูคนพบ     ้ ้
6.การเขียนชือวิทยาศาสตร์จะเขียนตัวเอน หรือขีดเส้นใต้ก็ได้ เลือก
  อย่างใดอย่างหนึง แต่ชอผูคนพบไม่เอน หรือขีดเส้นใต้
                             ื ้ ้
7.หากมีผตงชือวิทยาศาสตร์ของสิงมีชวิตชนิดนันๆ หลายคน ต้อง
            ู้ ั-                    ี         -
  ยึดของผูตงชือคนแรกเป็ นหลัก คนหลังๆ ก็ตองยกเลิกไป
               ้ ั-                          ้
ตัวอย่างการตังชือวิทยาศาสตร์
                       (
• เช่น ลินเนียส ได้ตงชือ หางนกยูงไทย
                    ั
                       Poinciana pulcherime Linn
                       Poinciana pulcherime Linn
                                           ่
 ต่อมา มีคนตังชือใหม่ โดยไม่ทราบว่าชือมีอยูแล้ว
                      Caesalpinla pulcherima Swartz
                    Caesalpinla pulcherima Swartz
ในกรณีนีชือหลังต้ องล้มเลิกไป
ตัวอย่างชือวิทยาศาสตร์
ไส้เดือนดิน Lumbricus terrestris ( terrestris=อาศัยอยูบนบกหรื อในดิน)
                                                           ่
กุหลาบหนู Rosa chinensiis (chinensiis=มาจากประเทศจีน)
มะม่วง        Mangifera indica ( indica=มาจากประเทศอินเดีย)
บัวแดง       Nymphaea ruba             ( ruba= สี แดง)
ปูราชินี Thaiphusa sirikit (sirikit=เพือเป็ นเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิตF ิ)
การจําแนกสิ งมีชีวตในอดีตจนถึงปั จจุบน
                           ิ                  ั

                                     ื         ุ่
อริสโตเติล –จําแนกพืช แบ่งเป็ นไม้ยนต้น ไม้พม ไม้ลมลุก้
             -จําแนกสัตว์ แบ่งเป็ น เลือดสี แดงและไม่มีเลือดสี แดง
            -จําแนกพืชตามลักษณะวิสยและบรรยายลักษณะพืชถึง 500
                                      ั
   ชนิด จึงได้รับการยกย่องเป็ น “บิดาแห่ งพฤษศาสตร์ ”
จอห์ นเรย์ – จําแนกพืชโดยใช้สณฐานวิทยาถึง 18,000 ชนิด
                                ั
             - จําแนกพืช เป็ น พืชใบเลียงเดียวและ พืชใบเลียงคู่
            - เริ มใช้คาว่า Species เรี ยกพืชและสัตว์
                       ํ
คาโรลัส ลินเนียส – จําแนกพืชโดยใช้จานวนและลักษณะเกสร
                                   ํ
  และเพศผู ้
      - เสนอหลักการตังชือวิทยาศาสตร์ ตามหลัก(bionomial
  nomenclature)
เอิร์น แฮคเคล – จําแนกสิ งมีชีวตเป็ น 3 อาณาจักร คือ
                                ิ
      อาณาจักรพืช (สร้างอาหารเองได้)
      อาณาจักรสั ตว์ (สร้างอาหารไม่ได้)
      อาณาจักรโพรทิสตา (พวกโครงสร้างไม่ซบซ้อน)
                                           ั
โคปแลนด์ - จําแนกสิ งมีชีวิตเป็ น 4 อาณาจักร คือ
    อาณาจักรมอเนอรา (พวกโพรคาริ โอต)
    อาณาจักรโพรทิสตา (พวกยูคาริ โอตทีมีเซลล์เดียวหรื อหลายเซลล์ แต่
  เซลล์ยงไม่ประสานงานกันอย่างเป็ นระบบ)
        ั
    อาณาจักรพืช (ชันตําและชันสู ง)
    อาณาจักรสั ตว์ (มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง)
(ล่าสุ ด) วิตเทเกอร์ แบ่งเป็ น 5 อาณาจักร โดยแยก เห็ดรา ออกจาก
อาณาจักรโพรทิสตา โดยยึดวิธีการได้รับสารอาหารเป็ นเกณฑ์ ดังนี
จําแนกสิ งมีชีวิตเป็ น 5 อาณาจักร คือ
   อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)ได้แก่ แบคทีเรี ย และ
          สาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน
   อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) ได้แก่โพรโตซัว และ
          สาหร่ ายบางพวก
   อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)ได้แก่ เห็ด ราต่าง ๆ ราเมือก
   อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)ได้แก่ พืชมีท่อลําเลียง และ
          ไม่มีท่อลําเลียง
   อาณาจักรสั ตว์ (Kingdom Animalia)ได้แก่ สัตว์ชนิดต่างๆ
อาณาจักรมอเนอรา
                   (Kingdom Monera)
                            Monera)
มีลกษณะเป็ นเซลล์เดียว ไม่มีเยือหุ มนิวเคลียส มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น พบอยู่
   ั                               ้
   ทุกหนทุกแห่ งได้แก่ แบคทีเรี ย และสาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน




  สาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน                แบคทีเรีย
อาณาจักรโพรทิสตา
                  (Kingdom Protista)
                           Protista)
                                              ่
 มีนิวเคลียสทีแท้จริ ง มีเยือหุ มเซลล์อาศัยอยูในนําหรื อภายในสิ งมีชีวิตอืน
                                ้
 บางชนิดกินอาหารได้โดยรับอาหารเข้าเซลล์ บางชนิดมีคลอโรฟิ ลล์
 สังเคราะห์แสงได้ ได้แก่
      พวกคล้ ายสั ตว์ เช่นโพรโตซัว
(พวกมีขาเทียม เช่น อะมีบา พวกมีซีเลีย ซึงเป็ นขนเส้นเล็กๆ เช่น พารามีเซียม
พวกมีแฟคเจลลัม มีโครงสร้างเป็ นลักษณะเส้นยาวๆ เช่น ยูกลีนา)
      พวกคล้ ายพืช ได้แก่ สาหร่ าย
(เป็ นโพรทิสต์ขนาดใหญ่ ไม่มีใบไม่มีลาต้น ไม่มีรากเหมือนพืชสังเคราะห์แสงได้)
                                          ํ
อะมีบา       ยูกลีนา




พารามีเซียม   สาหร่ายคล้ายพืช ยูกลีนา
อาณาจักรฟังไจ
                  (Kingdom Fungi)
                           Fungi)
สิ งมีชีวตพวกนีประกอบด้วย ใยบางๆ เรี ยกว่า ไฮฟา บางชนิด
         ิ
เหมือนพืชแต่ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ สื บพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ ทีเจริ ญ
                                    ่
เป็ นรา ราบางชนิดเป็ นปรสิ ตอาศัยอยูในสิ งมีชีวตอืน เช่นราขนมปั ง
                                               ิ
ราบนซากสิ งมีชีวตทีตายแล้ว
                ิ




         ราขนมปั ง               ยีสต์               เห็ด
อาณาจักรพืช
            (Kingdom Plantae)
                     Plantae)

1.พืชทีไม่มท่อลําเลียง ได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิรต ฮอร์นเวิรต
            ี                                ์          ์
2.พืชทีมีท่อลําเลียง ได้แก่
    -มีท่อลําเลียง ไม่มเี มล็ด
    -มีท่อลําเลียง เมล็ดทีไม่มเี ปลือกหุม
                                        ้
          -มีท่อลําเลียง เมล็ดทีมีเปลือกหุม้
ประเภทพืช
1. พืชทีไม่มีท่อลําเลียง
 -เป็ นพืชมีสวนต่างๆ คล้ายพืชชันสูง
              ่                 -
 -ไม่มท่อนํา(xylem) และท่ออาหาร (phloem)
         ี -
 -ไม่มราก ลําต้นใบอย่างแท้จริงเรียกรวมๆว่า ทาลลัส (thallus)
       ี
 -ส่วนทีคล้ายใบเรียกว่า ใบเทียม (false leaves)
 -ส่วนทีคล้ายรากเรียกว่ารากเทียม (rhizoid)
 -สืบพันธุโ์ ดยการสร้างสปอร์ ได้แก่ มอสและลิเวอร์เวิรต ขึนอยูกน
                                                       ์ - ่ ั
 เป็ นกลุม ติดกับพื-นดินในบริเวณทีชืนแฉะหรือมีความชืนสูง
          ่                         -                -
ตัวอย่างพืชทีไม่มทอลําเลียง
                 ี ่




                         มอส
ลิเวอร์เวิรต
                ์




ฮอร์นเวิรต
         ์
2. พืชทีมีท่อลําเลียง
   - เป็ นพวกทีมีทอลําเลียงนํา xylem
                  ่          -
   - ส่วนท่อลําเลียงอาหาร phloem ลําเลียงสารอาหารทีได้
 จากการสังเคราะห์ดวยแสง
                      ้
      - ส่วนใหญ่มราก ลําต้น ใบ เจริญดี
                    ี

ประเภทของพืชทีมีท่อลําเลียง แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
      - มีท่อลําเลียง ไม่มเี มล็ดเช่น เฟิ นใบมะขาม จอกหูหนู
      - มีท่อลําเลียง เมล็ดทีไม่มเี ปลือกหุม เช่น สนแผง สนทะเล
                                             ้
  สนสามใบ
      - มีท่อลําเลียง เมล็ดทีมีเปลือกหุม เช่น พืชดอก
                                           ้
พืชทีมีท่อลําเลียง แต่ไม่มีเมล็ด เป็ นพืชทีมี ลําต้น ใบ และราก แต่ไม่
มีดอก จะใช้สปอร์ในการสืบพันธุ์ เช่น หวายทะนอย สามร้อยยอด
หญ้าถอดปล้อง สนหางม้า ย่านลิเภา แหนแดง เฟิ นใบมะขาม เฟิ น
ก้านดํา จอกหูหนู ผักแว่น
   หญ้าถอดปล้อง              ผักแว่น          หวายทะนอย




                                               เฟนใบมะขาม
                                                 ิ
จอกห ูหนู     สนหางม้า   สามร้อยยอด




  ย่านลิเภา   แหนแดง     เฟนก้านดํา
                           ิ
พืชทีมีท่อลําเลียง เมล็ดไม่มีเปลือกหม เป็ นพืชกลุมแรก ทีมีการใช้
                                       ุ้           ่
เมล็ดในการสืบพันธุ์ มีการผสมพันธุ์ โดยการใช้ลมช่วยในการถ่าย
ละอองเกสร สืบพันธุโ์ ดยไม่อาศัยนําเป็ นตัวกลาง ได้แก่ สนสองใบ สน
                                 -
สามใบ สนฉัตร สนแผง สนทะเล ปรงเขา แปะก๊วย




         สนสองใบ               แปะก๊วย           ปรงเขา
สนสามใบ      สนทะเล   สนฉัตร




          สนแผง
พืชทีเมล็ดมีเปลือกหม ได้แก่ พืชดอก
                           ุ้

- มีเมล็ดทีมีรงไข่ห่อหุม ภายหลังปฏิสนธิรงไข่จะเจริญเป็ นผลห่อหุม
              ั        ้                ั                      ้
เมล็ด มีออวุลเจริญอยู่ในรังไข่ ซึงเป็ นส่วนหนึงของเกสร     ตัวเมีย
(มีดอก มีเมล็ด เมล็ดมีผนังรังไข่ห่อหุม)   ้

- มีดอก เป็ นอวัยวะสืบพันธุ์

- xylem เป็ นเซลล์หลักในการลําเลียงนําและแร่ธาตุ
                                     -

- ไม่ตองอาศัยนําเป็ นสือในการปฏิสนธิ แต่อาศัยการถ่ายละอองเรณู
      ้        -
เกสร
• พืชดอก แยกเปน 2 ประเภท คือ
                  ็
 1.พืชใบเลี(ยงเดียว (Monocotyledon) มีลกษณะใบ เรียว
                                             ั
  ยาว ลักษณะเส้นใบขนานกัน ท่อลําเลียงกระจัดกระจาย มีรากฝอย
  เมล็ดมีซีกเดียว เช่น ข้าว หญ้า ข้าวโพด

 2. ชใบเลี(ยงค ู่ (Dicotyledon) มีลกษณะใบ ลักษณะเส้นใบ
 2.พื                                     ั
  เป็ นร่างแห กลุมท่อลําเลียงเป็ นวงรอบลําต้น มีรากแก้ว เมล็ด
                ่
  ประกอบด้วย 2 ซีก เช่น ดอกกุหลาบ มะม่วง ชมพู่
อาณาจักรสั ตว์
          (Kingdom Animalia)

สัตว์
    1. สัตว์ไม่มกระดูกสันหลัง มี 8 กลุม
                 ี                    ่
   2. สัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง มี 5 กลุม
                                    ่
ประเภทสัตว์
1.1 สัตว์ทีไม่มีกระด ูกสันหลัง คือ สัตว์ไม่มแกนคําจุนลําตัว ที
                                            ี    -
  เรียกว่าแกนสันหลัง (notocord)เป็ นกลุมสัตว์ทีมีมากทีสุดในโลก
                                        ่
 แบ่งเป็ น 8 กลุม ได้แก่ พอริเฟอรา ไนดาเรีย ทีโนฟอรา แพลที
                ่
  เฮลมินเทส แอนเนลิด มอลลัสก์ เอไคโนเดิรม อาร์โทพอด
                                              ์
• พอริเฟอรา(porifera)มีลกษณะลําตัวมีรปร่างคล้ายถุง และมี
                        ั            ู
  ช่องเปิ ดทางเดียว ทําหน้าทีทังปากและทวารหนัก ลําตัวมีรพรุน
                                -                         ู
  ซึงเป็ นช่องให้นาไหลเข้า ได้แก่ ฟองนําถูตว ฟองนําแก้ว ฟองนํา
                  ํ-                   - ั        -          -
  หินปูน




  ฟองนําถูตว
           ั          ฟองนําแก้ ว         ฟองนําหินปูน
• ไนดาเรีย(cnidaria) หรือซีเลนเตอราตา (coelenterata)
• มีลกษณะลําตัวมีรปทรง 2แบบ คือ ทรงกระบอก และทรงกระดิง
     ั              ู
  ควํา รอบช่องปากมีอวัยวะคล้ายหนวด เรียกว่า เทนตาเคิล
  (tentacle) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง ไฮดรา




      แมงกะพรุน              ไฮดรา
ปะการัง
ดอกไม้ ทะเล
• ทีโนเฟอรา (ctenophora) มีลกษณะลําตัวโปร่งใส รอบตัว
                                    ั
  แบ่งเป็ น 8 ส่วน โดยมีแถบซีเลียยาว 8 แถว มีลกษณะคล้ายซีหวี
                                              ั
  มีเทนตาเคิล 2 เส้น ได้แก่ หวีวนุ้
• แพลทีเฮลมินเทส (platyhelminthes) มีลกษณะลําตัวแบน มี
                                           ั
  ปาก แต่ไม่มทวารหนัก ดํารงชีวิตอิสระ บางชนิดถ้าเป็ นปรสิตจะมี
             ี
  อวัยวะสําหรับเกาะเป็ นขอเกียว (hook) ได้แก่ พลานาเรีย พยาธิ
  ใบไม้ พยาธิตวตืด
               ั



                                                  พยาธิตวตืด
                                                        ั



        พลานาเรีย                        พยาธิใบไม้
• แอนเนลิด (annelid) ลําตัวกลมยาว คล้ายวงแหวนต่อกันเป็ น
  ปล้อง ร่างกายประกอบด้วยกล้ามเนือ 2 ชุดคือ กล้ามเนือตามยาว
                                    -                -
  และตามขวาง มีอวัยวะขับถ่ายพิเศษ เรียกว่า เนฟริเดีย
  (nephridia)ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ปลิงนําจืด
                                                -




          แม่ เพรียง            ปลิงนําจืด


                                                  ไส้ เดือนดิน
• มอลลัสก์ (molluscs) มีลาตัวอ่อนนิม และไม่แบ่งเป็ นปล้อง มี
                         ํ
                          ้ ่                          ่
  โครงร่ างแข็ง บางชนิดหุ มอยูภายนอก บางชนิดเป็ นแกนอยูภายใน พบ
  บนบกทีชืนแฉะ นําจืด และนําเค็ม ได้แก่ หอยชนิดต่างๆ หมึก ลินทะเล




                        หอยต่ าง ๆ             หมึก



                   ลินทะเล (หอยแปดเกล็ด)
• เอไคโนเดิรม (echinodems) ลําตัวประกอบด้วยโครงร่างแข็ง
             ์
  ภายในเป็ นแผ่นหินปูนและไม่เป็ นแบ่งเป็ นข้อปล้อง ผิวภายนอก
  หยาบ ขรุขระ เพราะมีสารประกอบพวกหิน ร่างกายมีลกษณะเป็ นั
  แฉก โดยแยกออกจากลําตัวเป็ นแนวรัศมีทีเท่ากัน ได้แก่ ดาวทะเล
  อีแปะทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล




        ปลิงทะเล         ดาวทะเล        เม่ นทะเล
ดาวทะเล   เม่ นทะเล อีแปะทะเล
• อาร์โทพอด(arthropods) มีโครงร่างภายนอกแข็ง มีรยางค์เป็ น
  ข้อปล้องต่อกัน ทําหน้าทีในการเคลือนที ลําตัวแบ่งเป็ นส่วนหัว ส่วน
  อก และส่วนท้อง ได้แก่ กุง แมงมุม ตะขาบ กิงกือ แมงดาทะเล
                          ้                 -




              แมงดาทะเล            กิงกือ          กุ้ ง



               แมงมุม           กิงกือ       ตะขาบ
1.2 สัตว์ทีมีกระด ูกสันหลัง
 -เป็ นสัตว์ชนสูงมีเนือเยือของร่างกายเจริญเป็ นอวัยวะทีมีการทํางาน
             ั-       -
 ซับซ้อน
  -มีแกนสันหลัง ซึงเป็ นโครงสร้างทีค่อนข้างแข็ง มีลกษณะเป็ นท่อน
                                                    ั
 ยาวขนานกับความยาวของลําตัว จะเป็ นกระดูกสันหลังก็ตอเมือโตเต็ม
                                                         ่
 วัย จึงเรียกว่า กระดูกสันหลัง ทําหน้าทีเป็ นแกนกลางของร่างกาย ช่วย
 ให้ร่างกายคงรูปทีแน่นอนอยูได้่
 -ส่วนมากมีขนาดใหญ่อาศัยอยูทงในนําและบนบก
                                  ่ ั- -
  -สัตว์มกระดูกสันหลังทีมีวิวฒนาการสูงกว่าสัตว์ไม่มกระดูกสันหลัง
           ี                    ั                     ี
สัตว์ทีมีกระด ูกสันหลัง แบ่งเป็ น 5 กลุม ได้แก่
                                      ่

   1.สัตว์พวกปลา (Class Chondrichthyes )
    (Class Osteicthyes )
   2.สัตว์สะเทินนํ(าสะเทินบก (Class Amphibia)
   3.สัตว์เลื(อยคลาน (Class Reptilia)
   4.สัตว์ปก (Class Aves)
             ี
  5.สัตว์เลี(ยงล ูกด้วยนม (Class Mammalia)
1.สัตว์พวกปลา
                     (Kingdom Animalia)
                                Animalia)
               ไฟลัมคอร์ ดาตา (Phylum Chordata)
                                      Chordata)
• เป็ นสัตว์เลือดเย็น มีรูปร่ างเรี ยวยาว ใช้เหงือกในการหายใจ ผิวหนังมี
  เกล็ด เคลือนทีโดยใช้ครี บ ดํารงชีวิตในนํา ออกลูกเป็ นไข่ หรื อเป็ นตัวใน
  นํา เช่น ปลาดุก ปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาแชลมอน ปลาหมอ ปลา
  ฉลาม ปลากระเบน

         สัตว์พวกปลา แยกเปน 2 คลาส คือ
                          ็
    1.ปลากระดูกอ่ อน (Class Chondrichthyes )
     2.ปลากระดูกแข็ง (Class Osteicthyes )
1.ปลากระดูกอ่ อน
              (Class Chondrichthyes )
1.ปลากระดูกอ่ อน(Class Chondrichthyes )มีโครงร่ างเป็ นกระดูกอ่อน
 ทียืดหยุนตัวดี มีขากรรไกรและครี บคู่ทีเจริ ญดี มีการแลกเปลียนแก๊ส
         ่
 โดยใช้เหงือกหายใจ มีการปฏิสนธิ ภายในออกลูกเป็ นตัว มีขากรรไกร
 และฟันทีแหลมคม มีเกล็ดทีคมปกคลุมผิวหนัง เช่น ปลากระเบน ปลา
 ฉลาม
2.ปลากระดูกแข็ง (Class Osteicthyes )
2.ปลากระดูกแข็ง (Class Osteicthyes ) ดํารงชีวตในนําจืดและนําเค็ม
                                             ิ
 มีโครงร่ างภายในเป็ นกระดูกแข็ง มีสารประกอบแคลเซี ยมฟอสเฟต
 มีลาตัวแบน ส่ วนใหญ่ผวหนังเป็ นเกล็ดปกคลุม มีครี บ 2 คู่ และครี บ
    ํ                   ิ
 สะโพก หายใจด้วยเหงือกมีแผ่นปิ ดเหงือก มีถุงลม ช่วยควบคุมการ
 ลอยตัวในนํา ส่ วนใหญ่ปฏิสนธิ ภายนอก เช่น ปลาดุก ปลาช่อน
 ปลาตะเพียน ปลาแชลมอน ปลาหมอ
2.สัตว์สะเทินนํ(าสะเทินบก
                     (Class Amphibia)
                            Amphibia)
• เป็ นสัตว์เลือดเย็น อาศัยได้ทงบนบกและในนํา หายใจโดยใช้ปอด
                               ั
  เหงือก และผิวหนัง ผิวหนังเปี ยกชืน เช่น กบ อึงอ่าง ซาลามานเดอร์
  เขียด ปาด
3.สัตว์เลื(อยคลาน (Class Reptilia)
                                 Reptilia)
• เป็ นสัตว์เลือดเย็น ผิวหนังเป็ นเกล็ดและแห้ง ใช้ปอดในหารหายใจ ไข่มี
  เปลือกเหนียวห่ อหุ ม เช่น เต่า จระเข้ งูชนิดต่างๆ กิงก่า
                      ้
4.สัตว์ปก (Class Aves)
                           ี        Aves)
• เป็ นสัตว์เลือดอุ่น ใช้ปอดในการหายใจ ขนมีลกษณะเป็ นแผงปกคลุม
                                             ั
  ร่ างกาย และใช้ในการเคลือนที ไข่มีเปลือกแข็งห่ อหุ ม เช่น นกชนิดต่างๆ
                                                     ้
  เป็ ด ไก่
5.สัตว์เลี(ยงล ูกด้วยนม
                   (Class Mammalia)
                          Mammalia)
• เป็ นสัตว์เลือดอุ่น ออกลูกเป็ นตัว ใช้ปอดในการหายใจ ตัวอ่อน
  เจริ ญเติบโตภายในร่ างกายของแม่ ตัวอ่อนเมือคลอดออกมานอกร่ างกาย
  จะดูดนมแม่เป็ นอาหารเช่น ค้างคาว ม้า วาฬ โลมา ช้าง กระรอก แมว
  สุ นข ควาย มนุษย์
       ั
โลมา   วาฬ
ประโยชน์ ของความหลากหลายทางชีวภาพ

1.ด้ านอาหาร
2.ด้ านเครืองนุ่งห่ ม
3.ด้ านยารักษาโรค
4.ด้ านทีอยู่อาศัย
โทษของความหลากหลายทางชีวภาพ
1.แบคทีเรีย เช่น วัณโรค ปอดบวม อหิ วาตกโรค แอนแทรกซ์
 บิดหรื อท้องร่ วง บาดทะยัก เยือหุมสมองอักเสบ
                                  ้
2.ไวรัส เช่น โรคใบด่างของต้นยาสู บ โรคแคระแกร็ นของต้น
  ไวรั
 ข้าว โรคกลัวนํา โรคปากเปื อยเท้าเปื อยของวัว ควาย เอดส์ ไข้
 ทรพิษ หัดเยอรมัน อีสุกอีใส
3.แมลง เช่น แมลงวัน หมัด ยุง เห็บ
แบบฝึ กหัดความหลากหลายทางชีวภาพ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจphucharapun
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Choom' B't
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1tarcharee1980
 

La actualidad más candente (20)

การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3
 
Fungi kindom
Fungi kindomFungi kindom
Fungi kindom
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
 

Destacado

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneranazmnazm070838
 

Destacado (12)

BIOLOGICAL SCIENCE~origin of life
BIOLOGICAL SCIENCE~origin of lifeBIOLOGICAL SCIENCE~origin of life
BIOLOGICAL SCIENCE~origin of life
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Similar a Manybio

อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfKalasin University
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar a Manybio (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

Más de krudararad

ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 

Más de krudararad (7)

Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Elect
ElectElect
Elect
 
Elect
ElectElect
Elect
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 

Manybio

  • 1. ความหลากหลายทางชีวภาพ • ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การทีสิงมีชวิตหลากหลายสายพันธุ์ (genus) และชนิด ี (Species)มาอยูรวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึง หรือ ่ ระบบนิเวศหนึงของสิงมีชวิตจากทุก ๆ แหล่ง ครอบคลุม ี ทังบนพื-นดิน มหาสมุทร -
  • 2. ประเภทความหลากหลายของสิงมีชีวิต จําแนกออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) 2. ความหลากหลายของชนิด (species diversity) เช่น แมลง 3. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา(ระบบนิเวศ) (ecological diversity)
  • 3. พันธ ุกรรม หลากหลายชนิด ระบบนิเวศ
  • 4. อน ุกรมวิธาน (Taxonomy) หมายถึง การจัดหมวดหมูของ Taxonomy) ่ สิงมีชวิต และจะมีการเรียงลําดับจากใหญ่ไปเล็ก ี การจําแนกของสิงมีชวิต แยกได้ 3 วิธี คือ ี 1. แบบผิวเผิน คือ ดูจากลักษณะภายนอก โดยไม่ได้คานึงถึง ํ พันธุกรรม แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ กลุมพืช และกลุมสัตว์ ่ ่ 2. ตามลักษณะทางธรรมชาติเช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต ของตัวอ่อน สรีรวิทยา 3. อาศัยลักษณะทางพันธ ุกรรม และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม
  • 5. ลักษณะทีใช้การจําแนกสิงมีชวิต ี 1.ลักษณะภายนอกและโครงสร้างภายในของร่างกาย 2.แบบแผนของการเจริญเติบโตและโครงสร้างทีเกิดขึนในระยะทีเป็ นตัวอ่อน - (เช่น คน นก ปลา กบ แม้แต่ตวเต็มวัยต่างกันแต่ในระยะตัวอ่อนก็ตางมีชอง ั ่ ่ เหงือกและโนโตคอร์ดคล้ายกันจะอยูในไฟลัมเดียวกัน) ่ 3.ซากดึกดําบรรพ์ อาจทําให้ทราบถึงบรรพบุรษของสิงมีชีวิตนันๆ ุ - 4.โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนลล์ เป็ นการศึกษาในระดับเซลล์และ ส่วนประกอบของเซลล์ 5.สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี 6.ลักษณะทางพันธุกรรม
  • 6. • การจัดหมวดหมู่ของสิงมีชีวิต และจะมีการเรียงลําดับจากใหญ่ ไปเล็ก Kingdom (อาณาจักร) Phylum(ไฟลัมใช้กบสัตว์) หรือ Division(ดิวิชนใช้กบพืช) ั ั ั Class (ชัน) - Order(อันดับ) Family (ครอบครัว) Genus (สกุล) Species (ชนิด)
  • 7. การเรียกชือสิงมีชวิต ี • ชือพื(นเมือง คือ ชือทีเรียกสิงมีชวิตตามท้องถิน แต่ละภาคเรียกชือ ี ต่างกัน เช่น แมลงปอ ภาคเหนือ เรียกแมงกะบี- ภาคใต้ เรียกแมงพี-หรือ มะละกอ ภาคอีสาน เรียกบักหุ่ง ภาคใต้ เรียก ล่อกอ ภาคเหนือ เรียก บักก้วยเต้ด • ชือสามัญ คือชือภาษาอังกฤษของสิงมีชวิต เช่น กล้วย ี (banana)มะพร้าว(coconut) บัว(lotus) banana coconut lotus • ชือวิทยาศาสตร์ คือ ชือทีกําหนดชนิดของสิงมีชวิตทุกหมวดหมู่ ี • คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)นักชีววิทยาชาวสวีเดน ได้ ชือว่าเป็ น “บิดาแห่งวิชาอน ุกรมวิธาน” เป็ นผูเ้ สนอให้เรียกชือของ สิงมีชวิต ี
  • 8. เกณฑ์ในการตังชือวิทยาศาสตร์ของสิงมีชวิต - ี 1.ต้องเป็ นภาษาลาตินเสมอหรือ ภาษาอืนทีเปลียนแปลงมาจากภาษา ลาติน (เนืองจากภาษาลาตินเป็ นภาษาทีตายแล้ว ไม่เป็ นภาษาพูด ความหมายไม่คอยเปลียนแปลงและเป็ นทีนิยมในหมูนกวิทยาศาสตร์) ่ ่ ั 2.ชือวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์เป็ นอิสระต่อกัน 3.ชือวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์แต่ละหมวดหมูจะถูกต้องเพียงชือ ่ เดียวเท่านัน - 4.ชือหมวดหมูทกลําดับขัน ่ ุ - –ชือแฟมิลีของพืชต้องลงท้ายด้วย –sceas –ชือแฟมิลีของสัตว์ตองลงท้ายด้วย -idao ้
  • 9. เกณฑ์ในการตังชือวิทยาศาสตร์ของสิงมีชวิต(ต่อ) - ี 5.ชือในลําดับสปี ชีส์ ต้องประกอบด้วย 2 คํา โดยถือตาม Bionomial System อย่างเคร่งครัด คือ -คําแรก จะเป็ นชือจีนส(genus) ขึนต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ ั - -คําหลัง จะเป็ นชือสปชีส(์ species) ขึนต้นด้วยอักษรตัวเล็กมัก ี - เป็ นคําคุณศัพท์แสดงลักษณะเด่น เช่น สี ถิน กําเนิด รูปพรรณ สัณฐาน ผูคนพบ ้ ้ 6.การเขียนชือวิทยาศาสตร์จะเขียนตัวเอน หรือขีดเส้นใต้ก็ได้ เลือก อย่างใดอย่างหนึง แต่ชอผูคนพบไม่เอน หรือขีดเส้นใต้ ื ้ ้ 7.หากมีผตงชือวิทยาศาสตร์ของสิงมีชวิตชนิดนันๆ หลายคน ต้อง ู้ ั- ี - ยึดของผูตงชือคนแรกเป็ นหลัก คนหลังๆ ก็ตองยกเลิกไป ้ ั- ้
  • 10. ตัวอย่างการตังชือวิทยาศาสตร์ ( • เช่น ลินเนียส ได้ตงชือ หางนกยูงไทย ั Poinciana pulcherime Linn Poinciana pulcherime Linn ่ ต่อมา มีคนตังชือใหม่ โดยไม่ทราบว่าชือมีอยูแล้ว Caesalpinla pulcherima Swartz Caesalpinla pulcherima Swartz ในกรณีนีชือหลังต้ องล้มเลิกไป
  • 11. ตัวอย่างชือวิทยาศาสตร์ ไส้เดือนดิน Lumbricus terrestris ( terrestris=อาศัยอยูบนบกหรื อในดิน) ่ กุหลาบหนู Rosa chinensiis (chinensiis=มาจากประเทศจีน) มะม่วง Mangifera indica ( indica=มาจากประเทศอินเดีย) บัวแดง Nymphaea ruba ( ruba= สี แดง) ปูราชินี Thaiphusa sirikit (sirikit=เพือเป็ นเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิตF ิ)
  • 12. การจําแนกสิ งมีชีวตในอดีตจนถึงปั จจุบน ิ ั ื ุ่ อริสโตเติล –จําแนกพืช แบ่งเป็ นไม้ยนต้น ไม้พม ไม้ลมลุก้ -จําแนกสัตว์ แบ่งเป็ น เลือดสี แดงและไม่มีเลือดสี แดง -จําแนกพืชตามลักษณะวิสยและบรรยายลักษณะพืชถึง 500 ั ชนิด จึงได้รับการยกย่องเป็ น “บิดาแห่ งพฤษศาสตร์ ” จอห์ นเรย์ – จําแนกพืชโดยใช้สณฐานวิทยาถึง 18,000 ชนิด ั - จําแนกพืช เป็ น พืชใบเลียงเดียวและ พืชใบเลียงคู่ - เริ มใช้คาว่า Species เรี ยกพืชและสัตว์ ํ
  • 13. คาโรลัส ลินเนียส – จําแนกพืชโดยใช้จานวนและลักษณะเกสร ํ และเพศผู ้ - เสนอหลักการตังชือวิทยาศาสตร์ ตามหลัก(bionomial nomenclature) เอิร์น แฮคเคล – จําแนกสิ งมีชีวตเป็ น 3 อาณาจักร คือ ิ อาณาจักรพืช (สร้างอาหารเองได้) อาณาจักรสั ตว์ (สร้างอาหารไม่ได้) อาณาจักรโพรทิสตา (พวกโครงสร้างไม่ซบซ้อน) ั
  • 14. โคปแลนด์ - จําแนกสิ งมีชีวิตเป็ น 4 อาณาจักร คือ อาณาจักรมอเนอรา (พวกโพรคาริ โอต) อาณาจักรโพรทิสตา (พวกยูคาริ โอตทีมีเซลล์เดียวหรื อหลายเซลล์ แต่ เซลล์ยงไม่ประสานงานกันอย่างเป็ นระบบ) ั อาณาจักรพืช (ชันตําและชันสู ง) อาณาจักรสั ตว์ (มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง)
  • 15. (ล่าสุ ด) วิตเทเกอร์ แบ่งเป็ น 5 อาณาจักร โดยแยก เห็ดรา ออกจาก อาณาจักรโพรทิสตา โดยยึดวิธีการได้รับสารอาหารเป็ นเกณฑ์ ดังนี จําแนกสิ งมีชีวิตเป็ น 5 อาณาจักร คือ อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)ได้แก่ แบคทีเรี ย และ สาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) ได้แก่โพรโตซัว และ สาหร่ ายบางพวก อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)ได้แก่ เห็ด ราต่าง ๆ ราเมือก อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)ได้แก่ พืชมีท่อลําเลียง และ ไม่มีท่อลําเลียง อาณาจักรสั ตว์ (Kingdom Animalia)ได้แก่ สัตว์ชนิดต่างๆ
  • 16. อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) Monera) มีลกษณะเป็ นเซลล์เดียว ไม่มีเยือหุ มนิวเคลียส มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น พบอยู่ ั ้ ทุกหนทุกแห่ งได้แก่ แบคทีเรี ย และสาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน สาหร่ ายสี เขียวแกมนําเงิน แบคทีเรีย
  • 17. อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) Protista) ่ มีนิวเคลียสทีแท้จริ ง มีเยือหุ มเซลล์อาศัยอยูในนําหรื อภายในสิ งมีชีวิตอืน ้ บางชนิดกินอาหารได้โดยรับอาหารเข้าเซลล์ บางชนิดมีคลอโรฟิ ลล์ สังเคราะห์แสงได้ ได้แก่ พวกคล้ ายสั ตว์ เช่นโพรโตซัว (พวกมีขาเทียม เช่น อะมีบา พวกมีซีเลีย ซึงเป็ นขนเส้นเล็กๆ เช่น พารามีเซียม พวกมีแฟคเจลลัม มีโครงสร้างเป็ นลักษณะเส้นยาวๆ เช่น ยูกลีนา) พวกคล้ ายพืช ได้แก่ สาหร่ าย (เป็ นโพรทิสต์ขนาดใหญ่ ไม่มีใบไม่มีลาต้น ไม่มีรากเหมือนพืชสังเคราะห์แสงได้) ํ
  • 18. อะมีบา ยูกลีนา พารามีเซียม สาหร่ายคล้ายพืช ยูกลีนา
  • 19. อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) Fungi) สิ งมีชีวตพวกนีประกอบด้วย ใยบางๆ เรี ยกว่า ไฮฟา บางชนิด ิ เหมือนพืชแต่ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ สื บพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ ทีเจริ ญ ่ เป็ นรา ราบางชนิดเป็ นปรสิ ตอาศัยอยูในสิ งมีชีวตอืน เช่นราขนมปั ง ิ ราบนซากสิ งมีชีวตทีตายแล้ว ิ ราขนมปั ง ยีสต์ เห็ด
  • 20. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) Plantae) 1.พืชทีไม่มท่อลําเลียง ได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิรต ฮอร์นเวิรต ี ์ ์ 2.พืชทีมีท่อลําเลียง ได้แก่ -มีท่อลําเลียง ไม่มเี มล็ด -มีท่อลําเลียง เมล็ดทีไม่มเี ปลือกหุม ้ -มีท่อลําเลียง เมล็ดทีมีเปลือกหุม้
  • 21. ประเภทพืช 1. พืชทีไม่มีท่อลําเลียง -เป็ นพืชมีสวนต่างๆ คล้ายพืชชันสูง ่ - -ไม่มท่อนํา(xylem) และท่ออาหาร (phloem) ี - -ไม่มราก ลําต้นใบอย่างแท้จริงเรียกรวมๆว่า ทาลลัส (thallus) ี -ส่วนทีคล้ายใบเรียกว่า ใบเทียม (false leaves) -ส่วนทีคล้ายรากเรียกว่ารากเทียม (rhizoid) -สืบพันธุโ์ ดยการสร้างสปอร์ ได้แก่ มอสและลิเวอร์เวิรต ขึนอยูกน ์ - ่ ั เป็ นกลุม ติดกับพื-นดินในบริเวณทีชืนแฉะหรือมีความชืนสูง ่ - -
  • 23. ลิเวอร์เวิรต ์ ฮอร์นเวิรต ์
  • 24. 2. พืชทีมีท่อลําเลียง - เป็ นพวกทีมีทอลําเลียงนํา xylem ่ - - ส่วนท่อลําเลียงอาหาร phloem ลําเลียงสารอาหารทีได้ จากการสังเคราะห์ดวยแสง ้ - ส่วนใหญ่มราก ลําต้น ใบ เจริญดี ี ประเภทของพืชทีมีท่อลําเลียง แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ - มีท่อลําเลียง ไม่มเี มล็ดเช่น เฟิ นใบมะขาม จอกหูหนู - มีท่อลําเลียง เมล็ดทีไม่มเี ปลือกหุม เช่น สนแผง สนทะเล ้ สนสามใบ - มีท่อลําเลียง เมล็ดทีมีเปลือกหุม เช่น พืชดอก ้
  • 25. พืชทีมีท่อลําเลียง แต่ไม่มีเมล็ด เป็ นพืชทีมี ลําต้น ใบ และราก แต่ไม่ มีดอก จะใช้สปอร์ในการสืบพันธุ์ เช่น หวายทะนอย สามร้อยยอด หญ้าถอดปล้อง สนหางม้า ย่านลิเภา แหนแดง เฟิ นใบมะขาม เฟิ น ก้านดํา จอกหูหนู ผักแว่น หญ้าถอดปล้อง ผักแว่น หวายทะนอย เฟนใบมะขาม ิ
  • 26. จอกห ูหนู สนหางม้า สามร้อยยอด ย่านลิเภา แหนแดง เฟนก้านดํา ิ
  • 27. พืชทีมีท่อลําเลียง เมล็ดไม่มีเปลือกหม เป็ นพืชกลุมแรก ทีมีการใช้ ุ้ ่ เมล็ดในการสืบพันธุ์ มีการผสมพันธุ์ โดยการใช้ลมช่วยในการถ่าย ละอองเกสร สืบพันธุโ์ ดยไม่อาศัยนําเป็ นตัวกลาง ได้แก่ สนสองใบ สน - สามใบ สนฉัตร สนแผง สนทะเล ปรงเขา แปะก๊วย สนสองใบ แปะก๊วย ปรงเขา
  • 28. สนสามใบ สนทะเล สนฉัตร สนแผง
  • 29. พืชทีเมล็ดมีเปลือกหม ได้แก่ พืชดอก ุ้ - มีเมล็ดทีมีรงไข่ห่อหุม ภายหลังปฏิสนธิรงไข่จะเจริญเป็ นผลห่อหุม ั ้ ั ้ เมล็ด มีออวุลเจริญอยู่ในรังไข่ ซึงเป็ นส่วนหนึงของเกสร ตัวเมีย (มีดอก มีเมล็ด เมล็ดมีผนังรังไข่ห่อหุม) ้ - มีดอก เป็ นอวัยวะสืบพันธุ์ - xylem เป็ นเซลล์หลักในการลําเลียงนําและแร่ธาตุ - - ไม่ตองอาศัยนําเป็ นสือในการปฏิสนธิ แต่อาศัยการถ่ายละอองเรณู ้ - เกสร
  • 30. • พืชดอก แยกเปน 2 ประเภท คือ ็ 1.พืชใบเลี(ยงเดียว (Monocotyledon) มีลกษณะใบ เรียว ั ยาว ลักษณะเส้นใบขนานกัน ท่อลําเลียงกระจัดกระจาย มีรากฝอย เมล็ดมีซีกเดียว เช่น ข้าว หญ้า ข้าวโพด 2. ชใบเลี(ยงค ู่ (Dicotyledon) มีลกษณะใบ ลักษณะเส้นใบ 2.พื ั เป็ นร่างแห กลุมท่อลําเลียงเป็ นวงรอบลําต้น มีรากแก้ว เมล็ด ่ ประกอบด้วย 2 ซีก เช่น ดอกกุหลาบ มะม่วง ชมพู่
  • 31. อาณาจักรสั ตว์ (Kingdom Animalia) สัตว์ 1. สัตว์ไม่มกระดูกสันหลัง มี 8 กลุม ี ่ 2. สัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง มี 5 กลุม ่
  • 32. ประเภทสัตว์ 1.1 สัตว์ทีไม่มีกระด ูกสันหลัง คือ สัตว์ไม่มแกนคําจุนลําตัว ที ี - เรียกว่าแกนสันหลัง (notocord)เป็ นกลุมสัตว์ทีมีมากทีสุดในโลก ่ แบ่งเป็ น 8 กลุม ได้แก่ พอริเฟอรา ไนดาเรีย ทีโนฟอรา แพลที ่ เฮลมินเทส แอนเนลิด มอลลัสก์ เอไคโนเดิรม อาร์โทพอด ์
  • 33. • พอริเฟอรา(porifera)มีลกษณะลําตัวมีรปร่างคล้ายถุง และมี ั ู ช่องเปิ ดทางเดียว ทําหน้าทีทังปากและทวารหนัก ลําตัวมีรพรุน - ู ซึงเป็ นช่องให้นาไหลเข้า ได้แก่ ฟองนําถูตว ฟองนําแก้ว ฟองนํา ํ- - ั - - หินปูน ฟองนําถูตว ั ฟองนําแก้ ว ฟองนําหินปูน
  • 34. • ไนดาเรีย(cnidaria) หรือซีเลนเตอราตา (coelenterata) • มีลกษณะลําตัวมีรปทรง 2แบบ คือ ทรงกระบอก และทรงกระดิง ั ู ควํา รอบช่องปากมีอวัยวะคล้ายหนวด เรียกว่า เทนตาเคิล (tentacle) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง ไฮดรา แมงกะพรุน ไฮดรา
  • 37. • ทีโนเฟอรา (ctenophora) มีลกษณะลําตัวโปร่งใส รอบตัว ั แบ่งเป็ น 8 ส่วน โดยมีแถบซีเลียยาว 8 แถว มีลกษณะคล้ายซีหวี ั มีเทนตาเคิล 2 เส้น ได้แก่ หวีวนุ้
  • 38. • แพลทีเฮลมินเทส (platyhelminthes) มีลกษณะลําตัวแบน มี ั ปาก แต่ไม่มทวารหนัก ดํารงชีวิตอิสระ บางชนิดถ้าเป็ นปรสิตจะมี ี อวัยวะสําหรับเกาะเป็ นขอเกียว (hook) ได้แก่ พลานาเรีย พยาธิ ใบไม้ พยาธิตวตืด ั พยาธิตวตืด ั พลานาเรีย พยาธิใบไม้
  • 39. • แอนเนลิด (annelid) ลําตัวกลมยาว คล้ายวงแหวนต่อกันเป็ น ปล้อง ร่างกายประกอบด้วยกล้ามเนือ 2 ชุดคือ กล้ามเนือตามยาว - - และตามขวาง มีอวัยวะขับถ่ายพิเศษ เรียกว่า เนฟริเดีย (nephridia)ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ปลิงนําจืด - แม่ เพรียง ปลิงนําจืด ไส้ เดือนดิน
  • 40. • มอลลัสก์ (molluscs) มีลาตัวอ่อนนิม และไม่แบ่งเป็ นปล้อง มี ํ ้ ่ ่ โครงร่ างแข็ง บางชนิดหุ มอยูภายนอก บางชนิดเป็ นแกนอยูภายใน พบ บนบกทีชืนแฉะ นําจืด และนําเค็ม ได้แก่ หอยชนิดต่างๆ หมึก ลินทะเล หอยต่ าง ๆ หมึก ลินทะเล (หอยแปดเกล็ด)
  • 41. • เอไคโนเดิรม (echinodems) ลําตัวประกอบด้วยโครงร่างแข็ง ์ ภายในเป็ นแผ่นหินปูนและไม่เป็ นแบ่งเป็ นข้อปล้อง ผิวภายนอก หยาบ ขรุขระ เพราะมีสารประกอบพวกหิน ร่างกายมีลกษณะเป็ นั แฉก โดยแยกออกจากลําตัวเป็ นแนวรัศมีทีเท่ากัน ได้แก่ ดาวทะเล อีแปะทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล ปลิงทะเล ดาวทะเล เม่ นทะเล
  • 42. ดาวทะเล เม่ นทะเล อีแปะทะเล
  • 43. • อาร์โทพอด(arthropods) มีโครงร่างภายนอกแข็ง มีรยางค์เป็ น ข้อปล้องต่อกัน ทําหน้าทีในการเคลือนที ลําตัวแบ่งเป็ นส่วนหัว ส่วน อก และส่วนท้อง ได้แก่ กุง แมงมุม ตะขาบ กิงกือ แมงดาทะเล ้ - แมงดาทะเล กิงกือ กุ้ ง แมงมุม กิงกือ ตะขาบ
  • 44. 1.2 สัตว์ทีมีกระด ูกสันหลัง -เป็ นสัตว์ชนสูงมีเนือเยือของร่างกายเจริญเป็ นอวัยวะทีมีการทํางาน ั- - ซับซ้อน -มีแกนสันหลัง ซึงเป็ นโครงสร้างทีค่อนข้างแข็ง มีลกษณะเป็ นท่อน ั ยาวขนานกับความยาวของลําตัว จะเป็ นกระดูกสันหลังก็ตอเมือโตเต็ม ่ วัย จึงเรียกว่า กระดูกสันหลัง ทําหน้าทีเป็ นแกนกลางของร่างกาย ช่วย ให้ร่างกายคงรูปทีแน่นอนอยูได้่ -ส่วนมากมีขนาดใหญ่อาศัยอยูทงในนําและบนบก ่ ั- - -สัตว์มกระดูกสันหลังทีมีวิวฒนาการสูงกว่าสัตว์ไม่มกระดูกสันหลัง ี ั ี
  • 45. สัตว์ทีมีกระด ูกสันหลัง แบ่งเป็ น 5 กลุม ได้แก่ ่ 1.สัตว์พวกปลา (Class Chondrichthyes ) (Class Osteicthyes ) 2.สัตว์สะเทินนํ(าสะเทินบก (Class Amphibia) 3.สัตว์เลื(อยคลาน (Class Reptilia) 4.สัตว์ปก (Class Aves) ี 5.สัตว์เลี(ยงล ูกด้วยนม (Class Mammalia)
  • 46. 1.สัตว์พวกปลา (Kingdom Animalia) Animalia) ไฟลัมคอร์ ดาตา (Phylum Chordata) Chordata) • เป็ นสัตว์เลือดเย็น มีรูปร่ างเรี ยวยาว ใช้เหงือกในการหายใจ ผิวหนังมี เกล็ด เคลือนทีโดยใช้ครี บ ดํารงชีวิตในนํา ออกลูกเป็ นไข่ หรื อเป็ นตัวใน นํา เช่น ปลาดุก ปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาแชลมอน ปลาหมอ ปลา ฉลาม ปลากระเบน สัตว์พวกปลา แยกเปน 2 คลาส คือ ็ 1.ปลากระดูกอ่ อน (Class Chondrichthyes ) 2.ปลากระดูกแข็ง (Class Osteicthyes )
  • 47. 1.ปลากระดูกอ่ อน (Class Chondrichthyes ) 1.ปลากระดูกอ่ อน(Class Chondrichthyes )มีโครงร่ างเป็ นกระดูกอ่อน ทียืดหยุนตัวดี มีขากรรไกรและครี บคู่ทีเจริ ญดี มีการแลกเปลียนแก๊ส ่ โดยใช้เหงือกหายใจ มีการปฏิสนธิ ภายในออกลูกเป็ นตัว มีขากรรไกร และฟันทีแหลมคม มีเกล็ดทีคมปกคลุมผิวหนัง เช่น ปลากระเบน ปลา ฉลาม
  • 48. 2.ปลากระดูกแข็ง (Class Osteicthyes ) 2.ปลากระดูกแข็ง (Class Osteicthyes ) ดํารงชีวตในนําจืดและนําเค็ม ิ มีโครงร่ างภายในเป็ นกระดูกแข็ง มีสารประกอบแคลเซี ยมฟอสเฟต มีลาตัวแบน ส่ วนใหญ่ผวหนังเป็ นเกล็ดปกคลุม มีครี บ 2 คู่ และครี บ ํ ิ สะโพก หายใจด้วยเหงือกมีแผ่นปิ ดเหงือก มีถุงลม ช่วยควบคุมการ ลอยตัวในนํา ส่ วนใหญ่ปฏิสนธิ ภายนอก เช่น ปลาดุก ปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาแชลมอน ปลาหมอ
  • 49. 2.สัตว์สะเทินนํ(าสะเทินบก (Class Amphibia) Amphibia) • เป็ นสัตว์เลือดเย็น อาศัยได้ทงบนบกและในนํา หายใจโดยใช้ปอด ั เหงือก และผิวหนัง ผิวหนังเปี ยกชืน เช่น กบ อึงอ่าง ซาลามานเดอร์ เขียด ปาด
  • 50. 3.สัตว์เลื(อยคลาน (Class Reptilia) Reptilia) • เป็ นสัตว์เลือดเย็น ผิวหนังเป็ นเกล็ดและแห้ง ใช้ปอดในหารหายใจ ไข่มี เปลือกเหนียวห่ อหุ ม เช่น เต่า จระเข้ งูชนิดต่างๆ กิงก่า ้
  • 51. 4.สัตว์ปก (Class Aves) ี Aves) • เป็ นสัตว์เลือดอุ่น ใช้ปอดในการหายใจ ขนมีลกษณะเป็ นแผงปกคลุม ั ร่ างกาย และใช้ในการเคลือนที ไข่มีเปลือกแข็งห่ อหุ ม เช่น นกชนิดต่างๆ ้ เป็ ด ไก่
  • 52. 5.สัตว์เลี(ยงล ูกด้วยนม (Class Mammalia) Mammalia) • เป็ นสัตว์เลือดอุ่น ออกลูกเป็ นตัว ใช้ปอดในการหายใจ ตัวอ่อน เจริ ญเติบโตภายในร่ างกายของแม่ ตัวอ่อนเมือคลอดออกมานอกร่ างกาย จะดูดนมแม่เป็ นอาหารเช่น ค้างคาว ม้า วาฬ โลมา ช้าง กระรอก แมว สุ นข ควาย มนุษย์ ั
  • 53. โลมา วาฬ
  • 54. ประโยชน์ ของความหลากหลายทางชีวภาพ 1.ด้ านอาหาร 2.ด้ านเครืองนุ่งห่ ม 3.ด้ านยารักษาโรค 4.ด้ านทีอยู่อาศัย
  • 55. โทษของความหลากหลายทางชีวภาพ 1.แบคทีเรีย เช่น วัณโรค ปอดบวม อหิ วาตกโรค แอนแทรกซ์ บิดหรื อท้องร่ วง บาดทะยัก เยือหุมสมองอักเสบ ้ 2.ไวรัส เช่น โรคใบด่างของต้นยาสู บ โรคแคระแกร็ นของต้น ไวรั ข้าว โรคกลัวนํา โรคปากเปื อยเท้าเปื อยของวัว ควาย เอดส์ ไข้ ทรพิษ หัดเยอรมัน อีสุกอีใส 3.แมลง เช่น แมลงวัน หมัด ยุง เห็บ