SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 48
Descargar para leer sin conexión
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




             การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




         1. แบงตามสมัย
                1.1 สมัยกอนประวัติศาสตร (700,000 -
         1400 ป ลวงมาแลว) แบงเปนยุคหิน , ยุคโลหะ พบ
         หลักฐานทางโบราณคดีทั่วทุกภูมิภาคของไทย
              1.2 สมัยประวัติศาสตร ทําบันทึกเปนลาย
         ลักษณอักษรเปนครั้งแรก
         ดินแดนที่เปนประเทศไทยเขาสูสมัยประวัติศาสตร
         เมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ 12 โดยใชอายุของจารึกที่
         พบทีปราสาทเขานอย จังหวัดสระแกว เปนเกณฑ
               ่
         กําหนด เพราะปรากฎศักราชชัดเจน ตรงกับ พ.ศ.
         1180                                                                            ปราสาทเขานอย
                                                                    http://www.mapculture.org/mambo/images/stori
                                                                    es/place_sakaeo/normal_dsc01498.jpg




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




            2. แบงตามอาณาจักร
                  - สมัยทวารวดี
                  - สมัยละโว (ลพบุรี)
                  - สมัยศรีวิชัย
                  - สมัยตามพรลิงค




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




       3. แบงตามราชธานี
             - สมัยสุโขทัย
             - สมัยอยุธยา
             - สมัยธนบุรี
             - สมัยรัตนโกสินทร




                                                     สุโขทัย
                                                               http://www.thaitourzone.com/north/prae/sukhothai/uthistory.JPG




                                                                                 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




             4. แบงตามราชวงศ เชน
             สมัยราชวงศพระรวง , ราชวงศอูทอง




                                                                         พระเจาอูทอง
                                                      http://kanchanapisek.or.th/kp8/ayy/ayy20101.gif


                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




     5. แบงตามรัชกาล
            - สมัยพอขุนรามคําแหง
            - สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช
            - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว




                                                                                         สมเด็จพระนารายณมหาราช
                                                     http://www.212cafe.com/freeguestbook/user_gbook/puys/picture/00018.jpg




                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




          6. แบงตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
             - สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย
             - สมัยประชาธิปไตย
          การเทียบเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตร
          ตัวอยางแสดงลําดับเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรไทย

          ชวงเวลา                       เหตุการณสําคัญ
          พุทธศตวรรษ 18-21(พ.ศ1792-2006) ชวงอาณาจักรสุโขทัย
          พ.ศ. 1826 พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงประดิษฐอักษรไทย
          พุทธศตวรรษที่ 19-24 (พ.ศ. 1893- 2310) ชวงอาณาจักรอยุธยา
          พ.ศ. 2006 สุโขทัยตกเปนเมืองขึ้นของอยุธยา
                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                       แหลงอารยธรรม
                                    สมัยกอนประวัติศาสตร
                                    ในดินแดนประเทศไทย


                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย



          1. ยุคหินเกา
              หลักฐานเครื่องมือทําดวยหินกะเทาะ ซึ่งดร.แวน ฮิกเกอเรน ( Van Hockren )
          ชางฮอลันดา พบที่ฝงแมน้ําแควนอย อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ทําให
          สันนิษฐานไดวา เคยมีมนุษยยุคหินเกาอาศัยอยูในบริเวณแถบนั้นมาแลว แต
              เนื่องจากยังไมมีผูขุดพบโครงกระดูกของมนุษยยุคหินเกาในดินแดนประเทศไทย
          จึงไมอาจทราบแนนอนวามนุษยในยุคนั้นมีรูปรางเปนอยางไร การสันนิษฐานตอง
          อาศัยการเทียบเคียงกับรูปรางหนาตาของมนุษยยุคหินเกาที่มีผูขุดพบในประเทศจีน
          และที่เกาะชวา ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งนักโบราณคดี ไดตั้งชื่อวา มนุษยปกกิ่ง
          และมนุษยชวา ตามลําดับ ถาหากถือเอารูปรางหนาตาของมนุษยตามนั้น มนุษยยุค
          หินเกาในประเทศไทยในระยะแรกคงเริ่มตนและมีลักษณะคลายกับมนุษย
          วานร ตอมาจึงคอยๆมีวิวัฒนาการไปตามลําดับจนเปนมนุษยในยุคปจจุบัน สําหรับ
          ความเปนอยูนั้น มนุษยยุคหินเกา ชอบอาศัยอยูตามถ้ํา และยังชีพอยูดวยการลาสัตว
          เก็บผลหมากรากไมเปนอาหารประทังชีวิต

                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย



                                                                                                        หลุมขุดคนทางโบราณคดี อยูริม
                                                                                                        แมน้ําแควนอยนอกกําแพงเมือง
                                                                                                        ทางดานทิศใต ในหลุมขุดคนพบ
                                                                                                        โครงกระดูกสี่โครง และเครื่องมือ
                                                                                                        เครื่องใช ทั้งภาชนะสําริด ดินเผา
                                                                                                        เครื่องมือเหล็ก สรอยคอทําดวย
                                                                                                        ลูกปดหินและลูกปดแกว รวมทั้ง
                                                                                                        พบแกลบขาวติดอยูที่ขวานสําริด
                                                                                                        ขางศพดวย นักโบราณคดี
                                                                                                        สันนิษฐานวาบริเวณนี้นาจะเปนที่
                                                                                                        ฝงศพของมนุษยยุคกอน
                                                                                                        ประวัติศาสตรในราว 2,000 ป
                                                                                                        กอน
         http://www.tourdoi.com/webboard2/board_1/images/104110-220804-Sv300010.jpg
                                                                                                        (ขอมูลคัดลอกมาจากหนังสือเที่ยวทั่วไทยไป
                                                                                                        กับ"นายรอบรู" กาญจนบุร)
                                                                                                                             ี


                                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย


          2. ยุคหินกลาง
               คณะนักวิชาการไทย - เดนมารก ขุดคนพบโครงกระดูกของมนุษยยุคหินกลาง
          ไดที่ ถ้ําพระ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ พ.ศ.2505 นอกจากนี้ยังพบ
          เครื่องมือหินและเครื่องปนดินเผาอีกหลายแหงในจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี
          ลพบุรี แมฮองสอน และเชียงราย ทําใหสามารถทราบเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย
          ยุคหินกลางในประเทศไทยไดมากขึ้น
               ศาสตราจารยชิน อยูดี นักโบราณคดีที่มีชื่อเลียงของไทยคนหนึ่ง ไดใหขอ
          สันนิษฐานวา จากการสํารวจคนควาที่ตีพิมพในหนังสือ "สมัยกอนประวัติศาสตร
          ในประเทศไทย" วา มนุษยในยุคหินกลางมีจํานวนมากกวามนุษยยุคหินเกา และ
          ยังมีเครื่องมือเครื่องใชดีกวายุคหินเกา กลาวคือ นอกจากมีเครื่องมือเครื่องใช
          ที่ทําดวยหินแลวยังรูจักนําเปลือกหอยมาใช รูจักทําภาชนะเครื่องปนดินเผาเปน
          หมอ จาน ชาม หมอน้ํา เปนตน เศษเครื่องปนดินเผาที่พบที่ถ้ําผี อําเภอเมือง
          จังหวัดแมฮองสอน ปรากฏวามีลักษณะผิวเรียบเปนมัน นับเปนเครื่องปนดินเผา
          ที่เกาแกที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย


          โครงกระดูกของมนุษยยุคหินกลางไดที่ ถ้ําพระ อําเภอไทรโยค
          จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ พ.ศ.2505




                                                     http://picdb.thaimisc.com/s/shalawan/1108-14.jpg




                                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย


        3. ยุคหินใหม มีการสํารวจพบโครงกระดูกมนุษยและเครื่องมือเครื่องใชในยุคหิน
       ในที่ตางๆ หลายจังหวัด โดยเฉพาะอยางยิ่งทีบานเกา อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
                                                  ่
       นับเปนหลักฐานที่สําคัญมาก โครงกระดูกที่พบแสดงใหเห็นวามนุษยในยุคนี้มีความสูง
       อยูประมาณ 150 เซนติเมตร - 167 เซนติเมตร สวนเครื่องมือที่มําเคึรื่องมือดวย
       กระดูก เปนปลายหอก ลูกศร และเข็ม เครื่องมือที่มําดวยดินเผา เปนหมอ จาน
       กระสุนกลมดินเผา เปนตนจากหลักฐานเครื่องมือเครื่องใชที่พบ ทําใหสันนิษฐานไดวา
       มนุษยยุคหินใหมกระจายอยูหลายแหงมนดินแดนประเทศไทย บางพวกยังคงอาศัยอยู
       ในถ้ํา แตบางพวกก็ออกมาอาศัยอยูนอกถ้ํารูจักทําเครื่องประดับตกแตงรางกายเชน
       เอาเปลือหอยมาทําลูกปด กําไลหิน กําไลกระดูก เปนตน
             เมื่อมีคนตายญาติจะนําเอาศพไปฝงในหลุมสี่เหลี่ยมผืนผา ไมใสโลง จัดศพใหนอน
       อยูในทานอนหงาย แขนทั้งสองวางแนบกับราง จัดการขุดพบโครงกระดูกหลายๆ โครง
       พบวามีการฝงศพโดยหันศีรษะไปทางทิศตางๆ แตไมพบโครงกระดูกใดหันศีรษะไป
       ทางทิศตะวันตก โดยวางเครื่องปนดินเผาไวเหนือศีรษะที่ปลายเทา และที่เหนือเขา
       ใสสิ่งของเครื่องใชเครื่องประดับลงไปในหลุมดวย
                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




          สุวรรณภูมิยุคดึกดําบรรพ
                 แผนดินของโลกเมื่อหลายพันลานปมาแลว ในยุคดึกดําบรรพนั้นพบวา
          แผนดินแหลมทองหรือสุวรรณภูมิที่ตั้งของประเทศไทยในปจจุบันนี้ เคยเปนแหลง
          ที่มีการวิวัฒนาการของพืชและสัตวยุคดึกดําบรรพเชนเดียวกับแผนดินดึกดําบรรพ
          ในแหลงอื่นของโลก
                การสํารวจทางธรณีวิทยาพบวา แผนดินบริเวณแหลมทองและอาวไทยนั้น เปน
          แหลงน้ํามันและกาซเหลวอยูใตพื้นทะเล เนื่องจากมีการขุดพบแหลงน้ํามันดิบและ
          กาซในพื้นที่ดังกลาว คือ พบแหลงน้ํามันดิบที่อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม แหลง
          น้ํามันดิบที่แหลงสิริกิติ์ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร แหลงกาซธรรมชาติ
          ที่อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน และแหลงกาซธรรมชาติอยูใตทะเลกลางอาว
          ไทย เปนตน

         http://www.watyarn.net.nz/Siam_History/siam_history_001.htm


                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                 ดังนั้นแผนดินสุวรรณภูมิ จึงเปนแผนดินของโลกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
            โดยการระเบิดของภูเขาไฟที่พนลาวา หรือพื้นผิวโลกเกิดไหวตัวอยางรุนแรง จน
            พืชและสัตวดึกดํา บรรพบนผิวโลกนั้นตกลงไปอยูใตดินและเกิดการทับถมกัน
            ขึ้น แลวสรรพสิ่งตางๆที่ถมทับอยูนานนับเปนลานลานปก็เกิดแรงกดดันอัดแนน
            จากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก จนทําใหซากสิ่งมีชีวิตนั้นเปลี่ยนสภาพเปนกาซ
            ธรรมชาติและหลอมเหลวเปนน้ํามันดิบฝงอยูใตดินเปนเวลาหลายพันลานปตอมา
                 ปจจุบันบริเวณดังกลาว ไดมีการขุดเจาะพื้นดินเพื่อนําเอาทรัพยากรที่อยูใต
            ดินขึ้นมาใชเปนเชื้อเพลิง ใชผลิตพลังไฟฟาและวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตางๆอีก
            มากมาย



         http://www.watyarn.net.nz/Siam_History/siam_history_001.htm


                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย


        สมัยหินเกา (Palaeolithic Period หรือ Old Stone Age)
                                     ราว 500,000-100,000 ป
            แหลงมนุษยกอนประวัติศาสตรยุคนี้ พบวามีอยูหลายแหงโดยเฉพาะกลุมมนุษย
       กอนประวัติศาสตรยุคหินเกานั้นไดมีการรวมตัวกันเปนกลุมเล็กๆประมาณกลุมละ
       30-300 คน มนุษยกลุมนี้พากันดํารงชีวิตดวยการลาสัตว เก็บเผือกมันและผลไมเปน
       อาหาร ใชรากไม-ใบไม รักษาการเจ็บปวย ไมรูจักทําไรไถนาปลูกพืช ไมรูจักทํา
       เครื่องปนดินเผา ไมรูจักการเลี้ยงสัตว ไมมีภาษาเขียน มนุษยบางกลุมไมรูจักการใชไฟ
       รูจักที่จะนํากระดูกสัตวและหินมากระเทาะดานเดียวอยางหยาบ ๆ มาเปนเครื่องมือสับ
       ตัด โดยยังไมรูจักขัดถูใหประณีต ดังจะเห็นไดจากขวานหินกําปน
       (First Axes) เปนขวานหินประเภทกระเทาะ รูจักทําเข็มเย็บหนังสัตวจากกระดูก
       สัตว บางครั้งมนุษยยุคหินเกานี้ไดสวนใหญอาศัยถ้ําและเพิงผาเปนที่พก หรือเรรอน
                                                                               ั
       พเนจรหากินไปตามลําธาร ซอกเขาตาง ๆ ที่มีอาหารอุดมสมบูรณ โดยไมปลูกสราง
       บานเรือนถาวร เมื่อที่ใดไมมีแหลงอาหารหมด ก็จะเคลื่อนยายไปแหลงอาหารใหม
       เรื่อยไป เมื่อตายลงก็จะนําศพไปฝงไมไกลจากถิ่นที่อยู
                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย


         เมื่อ พ.ศ.2526-2530 คณะสํารวจไดสํารวจพบหลักฐาน
     ที่แสดงวา แผนดินสุวรรณภูมิมีมนุษยยุคหินตอนตนคือ
     โฮโมซาเปยน (Homosapien) ตั้งหลักแหลงอยูแลว
     มนุษยยุคนี้มีอายุระหวาง 37,000-27,350 ป
         ในครั้งนั้น ศาสตราจารย ดักลาส แอนเดอรสัน
     (Dr. Douglas Anderson) นักมานุษยวิทยาโบราณคดีจาก
     มหาวิทยาลัยบราวน ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดรวมกับ
                                                                               http://1.bp.blogspot.com/_lsVYPRfo2ks/
     กรมศิลปากร ทําการขุดคนทางโบราณคดี พบเครื่องมือหิน                        Ry8-
                                                                               luy1kPI/AAAAAAAAAAM/kuigZORVCwI

     กระเทาะ ถานจากเตาไฟ เครื่องปนดินเผา กระดูกสัตว
                                                                               /s320/Neanderthal_2D.jpg



     เผาไฟ และรองรอยของการอยูอาศัยของมนุษยยุค
     ไพลสโตซีน (Plistocence) อยูในถ้ําหลังโรงเรียน
     (Lang Rongrean) อยูที่บานทับปริก อําเภอเมือง
     จังหวัดกระบี่ หรือเพิงผาหินปูน เปนมนุษยยุคเดียว
     กับมนุษยโครมันยองที่พบในฝรั่งเศส               http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/krabi29.jpg
                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย

          ตอมาพ.ศ.2534 ดร.สุรินทร ภูขจร นักโบราณคดีไทยไดสํารวจพบเครื่องมือหิน
       กะเทาะและรองรอยการอยูอาศัย ของมนุษยโบราณยุคไพลสโตซีน ในถ้ําหมอเขียว
       ตําบลกระบี่นอย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เชนเดียวกันไดมีการนําสิ่งที่คนพบไป
       ทดสอบอายุดวยรังสีนิวเคลียรที่สหรัฐอเมริกา พบวามีอายุกวาสี่หมื่นป




                    www.openbase.in.th/.../u10/prapayneethai1256.jpg

                                                                       พัhttp://www.openbase.in.th/files/u10/prapayneethai1256.jpg
                                                                         ฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย



     สมัยหินกลาง (Mesolithic Period) อายุ 10,000-7,000 ป
         มนุษยกอนประวัติศาสตรที่อยูในสมัยหินกลางนั้น รูจักทําเครื่องมือหิน ฝมือประณีต
     กวาสมัยหินเกา เครื่องมือหินนั้นไดมีการกระเทาะคมหินทั้งสองดานสําหรับใชงาน
     แตกตางกันและยังรูจักขัดตัวขวานหินใหเรียบ นอกจากนี้ยังมีการนําเอากระดูกสัตว
     กางปลา และเปลือกหอยมาใชเปนเครื่องมือ เชน หัวธนู หอก ฉมวก และยังรูจักทํา
     เครื่องประดับจากเปลือกหอย กระดูกสัตว เชน กําไล จี้ สรอยคอ ตุมหู
         มนุษยสมัยนี้ชอบอาศัยอยูในถ้ําที่สูง และเพิงผาใกลหวยลําธารแมน้ํา เดินทางเรรอน
     ไปตามที่ตาง ๆ หากินดวยการลาสัตวเชน หมู กวาง หมี ลิง หนู หอยกาบ ปู ปลา เตา
     โดยยังไมรูจักการเลี้ยงสัตวเก็บผลไมใบไมมากินเปนอาหาร รูจักขุดตนไมทําเปนเรือ
     และหาปลาเกงกวามนุษยในสมัยหินเกา เมื่อมนุษยตายลงญาติจะนําศพฝงใตที่อยูที่พัก
     ซึ่งมีวิธีฝงในลักษณะนอนหงาย งอเขาขึ้นมาถึงคาง บางศพการใสเครื่องมือ (ขวานหิน)
     และเครื่องประดับ จี้หอยคอ อยูขางศพดวย

                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




             มนุษยพวกนี้รูจักกอไฟและหุงหาอาหาร พักกินอยูในถ้ํา มีการเพาะปลูก สะสม
        อาหารและเก็บพืชมากักตุนเปนอาหาร เชน ขาว ทอ สมอไทย สมอพิเภก หมาก ถั่ว
        แขก ถั่วลันเตา น้ําเตา แตงกวา และลาสัตวมาเก็บและปรุงเปนอาหาร ซึ่งการขุดคน
        เรื่องราวกอนประวัติศาสตรในพื้นที่หลายแหงนั้นไดสํารวจพบซากพืชและสัตว เชน
        วัวปา และแรด ซึ่งเปนสัตวที่มีอายุราว 9,000 ป ในถ้ําผี (Spirit Cave) จังหวัด
        แมฮองสอน เปนหลักฐานที่ทําใหสันนิษฐานวา มนุษยกอนประวัติศาสตรยุคหมื่นปที่
        แลวมานั้นรูจักหาพืชและสัตวเปนอาหาร




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




            สําหรับแหลงของมนุษยกอนประวัติศาสตรสมัยหินกลางนั้น ไดมีการสํารวจ
        พบเรื่องราวแลวหลายแหงในดินแดนสุวรรณภูมิ ทีถ้ําพระ อําเภอไทรโยค จังหวัด
                                                         ่
        กาญจนบุรี ในถ้ําจันเด อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ในถ้ําใกลสถานีวังโพ
        ตําบลลุมสุม อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ในถ้ําองบะ อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด
        กาญจนบุรี ในถ้ําผี และถ้ําอื่น ๆ บริเวณ อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ในถ้ํา
        งวงชาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม บริเวณอําเภอเขายอยและอําเภอเมืองจังหวัด
        เพชรบุรี และที่ถ้ําพระงาม จังหวัดสระบุรี เปนตน
            สวนแหลงมนุษยกอนประวัติศาสตรในประเทศตางๆแถบเอเชียอาคเนยนน      ั้
        ไดสํารวจพบในบริเวณที่เรียกวา ฮัวบินเฮียนหรือโหบิเนียน หรือจังหวัดฮัวบินห
        ในเวียดนามแลว ยังสํารวจพบในพื้นที่ภาคเหนือของเวียดนาม ลาว ฟลิปปนส
        เกาะฟอรโมซา และฝงตะวันออกของเกาะสุมาตรา อีก


                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย



         สมัยหินใหม (Neolithic Period หรือ New Stone Age)
                              อายุราว 7,000-5,000 ป
              มนุษยกอนประวัติศาสตรสมัยหินใหมนิยมที่จะเลือกที่อยูตามริมแมน้ํา หรือ
         บริเวณเชิงเขาและที่ราบสูงที่น้ําทวมไมถึง มากกวาการเดินทางเรรอนหรืออาศัยอยู
         ตามถ้ําเหมือนสมัยหินเกา มนุษยสมัยนี้รูจักการทําขวานหินขัดเรียบชนิดมีบาหรือ
         ขวานฟาที่มีฝมือประณีต แทนเครื่องมือหินกระเทาะอยางหยาบแบบสมัยหินเกา
         รูจักนําไมหรือเขาสัตวมาทําเปนดามผูกติดกับขวานหิน รูจักการ เพาะปลูกขาวสาลี
         ขาวเจา ทําไรและปลูกตนไม รูจักทําเครื่องปนดินเผาชนิดสีดําขัดมัน เปนภาชนะ
         รูปแบบตางๆเชนหมอ ไห ชาม จาน ภาชนะบางชิ้นทําเปนภาชนะดินเผามีสามขา
         และเจาะรูระบายความรอน รูจักการใชเชือกทาบทําลวดลายบนเครื่องปนดินเผา
         แตยังไมรูวิธีหลอมโลหะเปนเครื่องมือเครื่องใช มนุษยสมัยนี้รูจักนําหินขัดและ
         เปลือกหอยกาบ เปลือกหอยแครง มาทําเปนอาวุธเชนหัวหอก หัวลูกศร มีด เคียว
         และรูจักทําเครื่องประดับ เชนกําไล แหวน ลูกปด หวี ตุมหู และ ปนปกผม
                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                สมัยนี้มนุษยไดเรียนรูการปรุงอาหาร ดวยวิธีการจุดชุดไฟเพื่อใชเผา ปง อบ
          อาหารใหสุกกอนกิน มีการนําสัตวมาเลี้ยงเชน หมา หมู แพะ แกะ ไก และ วัว
          ควาย และการหาปลาโดยใชเบ็ดเกี่ยวเหยื่อลอและฉมวก รูจักวิธีขุดตนไมเปนเรือ
          รูจักการทอผาและทําเข็มเย็บหนังหรือผาจากกระดูกสัตว รูจักการสรางที่อยูเปน
          แบบกระทอมดิน มุงหลังคาดวยใบไมและทํากําแพงลอมรอบหมูบานซึ่งมีการ
          รวมกลุมคนเพื่ออยูรวมกันราวพันคน คนกลุมนี้อายุไมยืน เพราะจากการตรวจ
          โครงกระดูกในหลุมฝงศพไดพบวามีมนุษยอายุประมาณ 30-40 ป เสียชีวิตเปน
          จํานวนมาก จากการศึกษาฟนของโครงกระดูกของมนุษยกอนประวัติศาสตร
          พบวามนุษยสมัยนี้รูจักการถอนฟน และแตงฟน แลว




                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย


           สําหรับแหลงอารยธรรมที่สําคัญในแถบตะวันออกนั้นคือ ประเทศจีน และดินแดน
       แหลมทองหรือสุวรรณภูมิ
           การสํารวจเรื่องราวกอนประวัติศาสตรของมนุษยสมัยหินใหม ในแผนดินไทยได
       พบวามีอยูหลายแหง แหลงโบราณคดีนี้สวนใหญพบโครงกระดูกและเครื่องมือหินชนิด
       ขวานหินขัด ที่เรียกกันวาขวานฟา ซึ่งพบจํานวนมากที่จังหวัดกาญจนบุรี ไดแกแหลง
       สํารวจที่
           - บานเกา ตําบลจระเขเผือก อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ที่ กองผสมเทียม
       กรมการสัตวทหารบก ใกลโรงงานกระดาษกาญจนบุรี
           - ถ้ําเขาสามเหลี่ยม อําเภอเมือง
           - บริเวณริมหวยแมงลัก หวยหิน และใกลแมน้ําแควนอย เปนตน
           นอกจากนี้ยังสํารวจพบแหลงโบราณคดีในพื้นที่จังหวัดตางๆ ทั่วประเทศ เชน
           - จังหวัดราชบุรีพบที่บานหนองแชเสา ตําบลหินกอง อําเภอเมืองราชบุรี
           - จังหวัดนครสวรรคพบที่ ตําบลกลางแดด อําเภอเมืองนครสวรรค
           - จังหวัดลพบุรพบที่ บานโคกเจริญ ตําบลมะกอกหวาน อําเภอไชยบาดาล
                           ี
                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




           - จังหวัดสุราษฎรธานีพบที่ ถ้ําเบื้องแบบ อําเภอคิรีรัฐนิคม
           - จังหวัดกระบี่พบกระดูกสัตวเผาไฟ สําหรับเปนอาหารและขวานหินที่เขาขนาบน้ํา
      ถ้ําสระ เพิงผาหนาชิง ถ้ําเสือ และที่คลองทอม
           - จังหวัดอุบลราชธานี พบที่ผาแตม อําเภอโขงเจียม แหลงภาพเขียนสรบนเพิงผา
           - จังหวัดประจวบคิรีขันธพบขวานหิน โครงกระดูก และหมอดินเผา ในถ้ํา ที่ บาน
      วลัย อําเภอหนองพลับ อําเภอหัวหิน




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




              สําหรับแหลงโบราณคดีที่บานโคกพนมดี อําเภอพนัสนิคม จังหวัดฉะเชิงเทรา
         นั้นไดมีการพบเปลือกหอยแครงและหอยทะเลจํานวนมาก อัดซอนอยูในชั้น
         ดิน เปนหลักฐานที่แสดงวาสถานที่นั้นเคยเปนทะเลมากอน และยังพบเศษภาชนะ
         ดินเผาลายเชือกทาบ ขวานหิน ลูกปด และกําไลขอมือหิน ที่แสดงถึงอารยธรรม
         ของคนสมัยหินที่เชื่อมตอมาถึงสมัยโลหะ นับเปนแหลงที่มนุษยใชทํามาหากินอยู
         ตามชายฝงทะเล เมื่อ 2,500 ปแลว




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




            สําหรับแผนดินภาคใตของประเทศไทยเมื่อประมาณ 3,000-5,000 ปที่ผานมา
       นั้น ไดพบวามีมนุษยกอนประวัติศาสตรอาศัยอยูเชนเดียวกัน ซึ่งพบหลักฐานวา
       มนุษยสมัยนั้นไดอาศัยอยูใน
            - ถ้ําผีหัวโต หรือถ้ําหัวกะโหลก อําเภออาวลึก จังหวัดกระบี่
            - ถ้ําเขาเขียน และ เขาระยา ที่ตําบลเกาะปนหยี อําเภอเมือง จังหวัดพังงา
       พบภาพเขียนสียุคกอนประวัติศาสตรในถ้ําดังกลาว มีภาพเขียนเปนรูปมือ คน ปลา
       กุง นก วัว แพะ ตะกวด และภาพเขียนเปนลายเรขาคณิต รูปสัตวบางรูปเขียนแบบ
       เอกซเรยใส ขีดเปนเสนเหมือนกระดูกหรือกางปลา




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




               ภาพเขียนลักษณะเชนนี้พบอีกหลายแหงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่
         ถ้ําผามือแดง เขาจอมนาง บานทาสมปอย ตําบลศรีบุญเรือง อําเภอเมือง จังหวัด
         มุกดาหาร ทีถ้ําฝามือ บานหินลอง ตําบลภูเวียง จังหวัดขอนแกน ถ้ํามือแดงและ
                       ่
         ถ้ําผาแตมจังหวัดนครพนม ที่เขาจันทรงาม ตําบลลาดบัวขาว อําเภอสีคิ้ว จังหวัด
         นครราชสีมา ที่ผาฆอง ถ้ําลายแทง ภูผานกเคา อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย
         ที่ภูถ้ํามโหฬาร จังหวัดเลย ที่ถ้ําลายมือ ภูผาผึ้ง ใกลบานหวยมวง ตําบลหนองหาง
         อําเภอกุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ ถ้ําคน วัดพระพุทธบาทบัวบก ถ้ําลาย
         ถ้ําโนนเสาเอ อําเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี และภาพเขียนที่หนาผาบนเขาปลารา
         อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




         นอกจากนี้ยังสํารวจพบภาพทรงเรขาคณิตจําหลักบนหินทรายผนังถ้ํา ที่ผา
     กระดานเลข เขาผาแดง อําเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และถ้ํามึ่ม ตําบล
     โนนสัง จังหวัดอุดรธานี พบภาพมือแดง เตา ปลาและสัตวตาง ๆ อายุกวา 3,000
     ป ที่ผาแตม ภูผาขาม บานกุม ตําบลหวยไผ อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
     ในภาคกลาง พบภาพเขียนสีที่ถ้ํารูปเขาเขียว ตําบลลุมสุม อําเภอไทรโยค จังหวัด
     กาญจนบุรี เปนตน




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




             ภาชนะดินเผาสมัยหินใหม คือหมอดินเผาสามขาโบราณ (Tripods) นั้นพบใน
          ประเทศไทยที่แหลงโบราณคดีบานเกา กาญจนบุรี มีอายุระหวาง 4,000-
          3,300 ป มีรูปแบบคลายคลึงกับภาชนะดินเผาที่พบในบริเวณลุงชานนอยด
          (Lungshanoid) ในจีน
             และมีการพบชิ้นสวนของหมอสามขา ที่เขาขนาบน้ํา อําเภอเมือง จังหวัด
          กระบี่ ที่ถ้ํากาซี อําเภอคิรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี ถ้ําเขาปนะ อําเภอเมือง
          จังหวัดตรัง และ เขารักเกียรติ อําเภอรัตตภูมิ จังหวัดสงขลาอีกดวย เปน
          หลักฐานที่แสดงถึงอารยธรรมที่มีการเดินทางมาจากแหลงเดียวกันหรือมี
          ความคิดสรางตรงกัน




                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




       สมัยโลหะ (METAL AGE) อายุ 5,000-3,000 ป
             มนุษยกอนประวัติศาสตรสมัยโลหะนั้น เปนสมัยที่มนุษยรูจักนําเอาแรธาตุโลหะ
       ขึ้นมาจากดินและสกัดจากหินมาถลุงหลอมใช เชน เหล็ก ทองแดง รูจักที่จะนําโลหะ
       หลายชนิด มาหลอมรวมกันดวยความรอนจนเกิดเปนโลหะชนิดใหมที่มีคุณสมบัติดขึ้น          ี
       กวาเดิม คือ สําริด (ปจจุบันใชคําวา สัมฤทธิ์ ) ซึ่งเปนโลหะผสมของทองแดง 85 %
       กับดีบุก 15 % และอาจมีตะกั่วปนแทรกเขาไปในบางครั้ง
             คุณสมบัติของสําริดนั้น ทําใหมนุษยสามารถนํามาหลอหรือทุบตีเปนเครื่องมือ
       สําริดไดดีกวา เหล็กที่ใชอยูเดิม เครื่องมือสําริดจึงมีรูปลักษณะแตกตางกันเชนขวาน
       ทําเปนบองสําหรับใสดาม หอก กําไล เบ็ด ใบหอก ถวยหรือขัน และกลองมโหระทึก
       ที่มีการสรางตัวกบซอนกันและทําลวดลายบนตัวกลอง ถือเปนโลหะสําคัญที่ใชสราง
       เครื่องมือเครื่องใชสําหรับบุคคลสําคัญของชุมชน ซึ่งจะพบวามีการทําลวดลายกําไล
       เครื่องประดับสําริดเชน แหวน ลุกกระพรวน ตุมหู เปนตน

                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




             สวนเครื่องมือที่ทําจากเหล็กนั้น ยังนิยมใชอยูโดยการถลุงแรเหล็กแลวนํามา
         ทําเปนเครื่องมือเครื่องใช โดยตรงเชน ใบหอก ดาบ มีด ขวาน ซึ่งมีคุณสมบัติ
         แข็งแกรงกวาสําริด และเหมาะสําหรับใชงานลาสัตวมากกวา
             มนุษยสมัยโลหะนิยมการฝงศพ โดยใหหันหัวไปทางทิศเหนือนอนหงายเหยียด
         ตรง รูจักขุดหลุมสรางบานใตถุนสูง มีหลักแหลงที่อยูคอนขางถาวรไมเดินทาง
         รอนเรเหมือนมนุษยสมัยเครื่องมือหิน รูจักเก็บเมล็ดพันธสําหรับเพาะปลูกขาวและ
         ปลูกฝายในที่ลุม รูจักการทอผา การหลอสําริด ทําลูกปดจากหินเปนเครื่องประดับ
         ทําเครื่องปนมีลวดลายเขียนสีสําหรับใชในพิธีฝงศพ รูจักเลี้ยงสัตวสําหรับใชงาน
         และเปนอาหาร




                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




              แหลงที่เปนถิ่นฐานของมนุษยสมัยใชเครื่องมือโลหะในแผนดินไทยนัน พบวามีอยู
                                                                              ้
       หลายแหง ไดแก แหลงโบราณคดีในจังหวัดกาญจนบุรพบโครงกระดูกของมนุษยที่มี
                                                                ี
       อาวุธ กลองสัมริดและเครื่องประดับที่ทําดวยสําริด และพบโลงศพที่ขุดตนไมเปนรูปเรือ
       ที่ถ้ําองบะ อําเภอศรีสวัสดิ์ และบานดอนตาเพชร อําเภอพนมทวน (อายุราว 4,000
       ป)
              จังหวัดลพบุรีพบแหลงถลุงเหล็กและทองแดงโบราณหลอขนาดใหญ ที่บานโคก
       เจริญ บานทาแค บานโนนปาหวาย โนนหมากลา นิลกําแหง เขาวงพระจันทร บานถลุง
       เหล็ก บานดีลัง และที่อางเก็บน้ําพิบูลสงคราม ซึ่งอยูในบริเวณศูนยการทหารปนใหญ
       ลพบุรี




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                 จังหวัดอุดรธานีพบโครงกระดูก ภาชนะดินเผาลายเขียนสี เครื่องใชทําดวย
            สําริดและเหล็ก ที่บานเชียง อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี โดยไดพบที่ฝงศพ
            บริเวณใตถุนบานหรือในบริเวณเดียวกับบาน มีภาชนะดินเผาลายเขียนสี และ
            เครื่องมือเครื่องใชทําดวยสําริดและเหล็ก อยูในที่ฝงศพ พบกระดูกสัตวตาง ๆ
            กวา ๖๐ พันธ เชนปลา กบ เตา หอย วัว ควาย เสือและเกง เปนตน




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย



        จังหวัดสกลนคร พบกําไล หัวลูกศร ขวานและกระดึงสําริดที่บานดอนธงชัยและบาน
    พันนา อําเภอสวางแดนดิน
        จังหวัดหนองคายพบแหลงแรทองแดงที่ภูโลน ริมแมน้ําโขง อําเภอสังคม
        จังหวัดมุกดาหารพบกลองมโหระทึกสําริด อายุราว 2,000 ป ที่บานดอนตาล อําเภอ
    ดอนตาล
        จังหวัดขอนแกนพบโครงกระดูกมนุษยจํานวน 217 โครง และเครื่องประดับเครื่องใช
    ทําจากสําริดผสมดีบุก เชน กําไล ตุมหู ขวานมีบอง และเบาหลอมสําริดทําจากหินทราย
    อายุราว 4,500 ป ที่โนนนกทา ตําบลบานโคก อําเภอภูเวียง (มีแหลงทําสําริดโบราณ
    อายุราว 5,000 ป)
        จังหวัดเชียงใหม พบที่ ถ้ํางวงชาง อําเภอเชียงดาว
        จังหวัดราชบุรีพบที่บานโคกพลับ ตําบลโพธิ์หัก อําเภอบางแพ
        นอกจากแหลงสําริดดังกลาวแลวยังพบเครื่องมือรูปพราทําดวยสําริดทีจังหวัดนาน
                                                                          ่
    พบขวานสําริดที่จังหวัดเลย และพบกลองมโหระทึกสําริดที่บานชีทวน อุบลราชธานี
                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




       เครื่องมือหินกะเทาะ เปนขวานหินในชั้นวัฒนธรรมที่ 1 ซึ่งใชกันในยุคหินเกาตอนปลาย เครื่องมือ
       สะเก็ดหิน และสะเก็ดหิน เครื่องมือหินเหลานี้ใชลาสัตว และใชเปนเครื่องมือเพื่อทําเครื่องมือลาสัตว
       อื่น ๆ เชน ไมซาง หรือขอเลา - ลูกดอก ตลอดถึงเครื่องดักจับสัตวตาง ๆ อันเปนเครื่องมือไม
                                                     203.144.136.10/.../nation/oldcity/trang3.htm


                                                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                เศษภาชนะดินเผาหมอสามขา จากถ้ําเขาปนะ ถ้ําเขาสามบาตร แสดงอารยธรรมมนุษย
                ยุคกอนประวัติศาสตร วามีการหุงตมใหสุกกอนบริโภค
                                                     203.144.136.10/.../nation/oldcity/trang3.htm



                                                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




            เครื่องมือหินโบราณที่ "ดอยภูซาง" ปรากฏหลักฐานเมื่อพบเครื่องมือหินกระเทาะแบบหยาบ ๆ
            ในสมัยหินเกาจากบริเวณเสาดิน บานน้ําหก ต.เชียงของ อ.นานอย และบานดูใต ต.ดูใต อ.เมือง
            ซึ่งนักโบราณคดี อายุราว 2 แสนถึง 7 พันป
                                                     www.lannacorner.net/lanna/pic/29150-2.jpg


                                                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                                     ขวานสําริดสมัยกอนประวัติศาสตร
                                                     ยุคสําริด, อายุ 2,500-4,000 ป
                      http://3.bp.blogspot.com/_t8dZJ1ykJqk/SgNRZwGqIaI/AAAAAAAABnI/eMjDcA0kU0w/s1600-h/P1020803+(Large).JPG

                                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                         หลุมขุดคนบานโพธิ์ศรีใน บานเชียง อุดรธานี
                                                     3.bp.blogspot.com/.../s400/P1020803+(Large).JPG




                                                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                หลักฐานทางโบราณคดีที่พบจากการขุดคนทางโบราณคดีบานโนนวัด
                                            http://3.bp.blogspot.com/_t8dZJ1ykJqk/SgZ9TNu-
                                            anI/AAAAAAAABrQ/ceyB8XXHsXk/s1600-h/bannonwat-6249.JPG
                                                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                                     เครื่องมือหินกระเทาะ ยุคหินเกา
                                                        http://pratimavcharkarn.blogspot.com



                                                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




       ผาแตม เมื่อดูจากแมน้ําโขง จะเห็นเปนหนาผาสูงที่สวยงามตามธรรมชาติ ในบริเวณที่เปนหนาผา
       จะปรากฏภาพเขียนสีโบราณโดยฝมือมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร เรียงรายตามความยาวของหนาผา
       ติดตอกันยาวประมาณ 180 เมตร มีไมต่ํากวา 300 ภาพ ซึ่งเปนจํานวนภาพเขียนสีโบราณ ที่มากที่สุด
       เทาที่เคยคนพบในประเทศไทยและในตางประเทศ
                                      http://www.sadood.boysabuy.com/scoop/data/upimages/top100/16_156_IMG_0689.jpg

                                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                          http://www.sadood.boysabuy.com/scoop/data/upimages/top100/IMG_6668.jpg



                                                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                                                           http://www.voyagetravelmag.com/database/upload_files/what_going_on/%E
                                                                           0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B
                                                                           8%94%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%9
                                                                           A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E
                http://www.igetweb.com/www/multigroup/gallery/126262.jpg   0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg
                                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย




                                                     http://www.igetweb.com/www/multigroup/gallery/126263.jpg



                                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย

                แหลงที่มาของขอมูล
                203.144.136.10/.../nation/oldcity/
                http://1.bp.blogspot.com/
                http://3.bp.blogspot.com/
                http://kanchanapisek.or.th/
                http://picdb.thaimisc.com/
                http://pratimavcharkarn.blogspot.com
                http://th.wikipedia.org/wiki
                http://www.212cafe.com/freeguestbook/
                http://www.igetweb.com/
                http://www.igetweb.com/www/multigroup/
                http://www.lannacorner.net/
                http://www.mapculture.org/
                http://www.openbase.in.th/
                http://www.sadood.boysabuy.com/scoop/
                http://www.thaitourzone.com/north/prae/sukhothai/
                http://www.tourdoi.com/webboard2/
                http://www.voyagetravelmag.com/database/
                http://www.watyarn.net.nz/Siam_History/
                http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/

                                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาPadvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 

La actualidad más candente (20)

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 

Similar a 03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar a 03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย (20)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 

Más de JulPcc CR

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

Más de JulPcc CR (20)

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 

03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

  • 1. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 1. แบงตามสมัย 1.1 สมัยกอนประวัติศาสตร (700,000 - 1400 ป ลวงมาแลว) แบงเปนยุคหิน , ยุคโลหะ พบ หลักฐานทางโบราณคดีทั่วทุกภูมิภาคของไทย 1.2 สมัยประวัติศาสตร ทําบันทึกเปนลาย ลักษณอักษรเปนครั้งแรก ดินแดนที่เปนประเทศไทยเขาสูสมัยประวัติศาสตร เมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ 12 โดยใชอายุของจารึกที่ พบทีปราสาทเขานอย จังหวัดสระแกว เปนเกณฑ ่ กําหนด เพราะปรากฎศักราชชัดเจน ตรงกับ พ.ศ. 1180 ปราสาทเขานอย http://www.mapculture.org/mambo/images/stori es/place_sakaeo/normal_dsc01498.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 2. แบงตามอาณาจักร - สมัยทวารวดี - สมัยละโว (ลพบุรี) - สมัยศรีวิชัย - สมัยตามพรลิงค พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 3. แบงตามราชธานี - สมัยสุโขทัย - สมัยอยุธยา - สมัยธนบุรี - สมัยรัตนโกสินทร สุโขทัย http://www.thaitourzone.com/north/prae/sukhothai/uthistory.JPG พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 4. แบงตามราชวงศ เชน สมัยราชวงศพระรวง , ราชวงศอูทอง พระเจาอูทอง http://kanchanapisek.or.th/kp8/ayy/ayy20101.gif พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 5. แบงตามรัชกาล - สมัยพอขุนรามคําแหง - สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว สมเด็จพระนารายณมหาราช http://www.212cafe.com/freeguestbook/user_gbook/puys/picture/00018.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 6. แบงตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง - สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย - สมัยประชาธิปไตย การเทียบเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตร ตัวอยางแสดงลําดับเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรไทย ชวงเวลา เหตุการณสําคัญ พุทธศตวรรษ 18-21(พ.ศ1792-2006) ชวงอาณาจักรสุโขทัย พ.ศ. 1826 พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงประดิษฐอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24 (พ.ศ. 1893- 2310) ชวงอาณาจักรอยุธยา พ.ศ. 2006 สุโขทัยตกเปนเมืองขึ้นของอยุธยา พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย แหลงอารยธรรม สมัยกอนประวัติศาสตร ในดินแดนประเทศไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 1. ยุคหินเกา หลักฐานเครื่องมือทําดวยหินกะเทาะ ซึ่งดร.แวน ฮิกเกอเรน ( Van Hockren ) ชางฮอลันดา พบที่ฝงแมน้ําแควนอย อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ทําให สันนิษฐานไดวา เคยมีมนุษยยุคหินเกาอาศัยอยูในบริเวณแถบนั้นมาแลว แต เนื่องจากยังไมมีผูขุดพบโครงกระดูกของมนุษยยุคหินเกาในดินแดนประเทศไทย จึงไมอาจทราบแนนอนวามนุษยในยุคนั้นมีรูปรางเปนอยางไร การสันนิษฐานตอง อาศัยการเทียบเคียงกับรูปรางหนาตาของมนุษยยุคหินเกาที่มีผูขุดพบในประเทศจีน และที่เกาะชวา ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งนักโบราณคดี ไดตั้งชื่อวา มนุษยปกกิ่ง และมนุษยชวา ตามลําดับ ถาหากถือเอารูปรางหนาตาของมนุษยตามนั้น มนุษยยุค หินเกาในประเทศไทยในระยะแรกคงเริ่มตนและมีลักษณะคลายกับมนุษย วานร ตอมาจึงคอยๆมีวิวัฒนาการไปตามลําดับจนเปนมนุษยในยุคปจจุบัน สําหรับ ความเปนอยูนั้น มนุษยยุคหินเกา ชอบอาศัยอยูตามถ้ํา และยังชีพอยูดวยการลาสัตว เก็บผลหมากรากไมเปนอาหารประทังชีวิต พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย หลุมขุดคนทางโบราณคดี อยูริม แมน้ําแควนอยนอกกําแพงเมือง ทางดานทิศใต ในหลุมขุดคนพบ โครงกระดูกสี่โครง และเครื่องมือ เครื่องใช ทั้งภาชนะสําริด ดินเผา เครื่องมือเหล็ก สรอยคอทําดวย ลูกปดหินและลูกปดแกว รวมทั้ง พบแกลบขาวติดอยูที่ขวานสําริด ขางศพดวย นักโบราณคดี สันนิษฐานวาบริเวณนี้นาจะเปนที่ ฝงศพของมนุษยยุคกอน ประวัติศาสตรในราว 2,000 ป กอน http://www.tourdoi.com/webboard2/board_1/images/104110-220804-Sv300010.jpg (ขอมูลคัดลอกมาจากหนังสือเที่ยวทั่วไทยไป กับ"นายรอบรู" กาญจนบุร)  ี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 2. ยุคหินกลาง คณะนักวิชาการไทย - เดนมารก ขุดคนพบโครงกระดูกของมนุษยยุคหินกลาง ไดที่ ถ้ําพระ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ พ.ศ.2505 นอกจากนี้ยังพบ เครื่องมือหินและเครื่องปนดินเผาอีกหลายแหงในจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี ลพบุรี แมฮองสอน และเชียงราย ทําใหสามารถทราบเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย ยุคหินกลางในประเทศไทยไดมากขึ้น ศาสตราจารยชิน อยูดี นักโบราณคดีที่มีชื่อเลียงของไทยคนหนึ่ง ไดใหขอ สันนิษฐานวา จากการสํารวจคนควาที่ตีพิมพในหนังสือ "สมัยกอนประวัติศาสตร ในประเทศไทย" วา มนุษยในยุคหินกลางมีจํานวนมากกวามนุษยยุคหินเกา และ ยังมีเครื่องมือเครื่องใชดีกวายุคหินเกา กลาวคือ นอกจากมีเครื่องมือเครื่องใช ที่ทําดวยหินแลวยังรูจักนําเปลือกหอยมาใช รูจักทําภาชนะเครื่องปนดินเผาเปน หมอ จาน ชาม หมอน้ํา เปนตน เศษเครื่องปนดินเผาที่พบที่ถ้ําผี อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ปรากฏวามีลักษณะผิวเรียบเปนมัน นับเปนเครื่องปนดินเผา ที่เกาแกที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย โครงกระดูกของมนุษยยุคหินกลางไดที่ ถ้ําพระ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ พ.ศ.2505 http://picdb.thaimisc.com/s/shalawan/1108-14.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 13. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย 3. ยุคหินใหม มีการสํารวจพบโครงกระดูกมนุษยและเครื่องมือเครื่องใชในยุคหิน ในที่ตางๆ หลายจังหวัด โดยเฉพาะอยางยิ่งทีบานเกา อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ่ นับเปนหลักฐานที่สําคัญมาก โครงกระดูกที่พบแสดงใหเห็นวามนุษยในยุคนี้มีความสูง อยูประมาณ 150 เซนติเมตร - 167 เซนติเมตร สวนเครื่องมือที่มําเคึรื่องมือดวย กระดูก เปนปลายหอก ลูกศร และเข็ม เครื่องมือที่มําดวยดินเผา เปนหมอ จาน กระสุนกลมดินเผา เปนตนจากหลักฐานเครื่องมือเครื่องใชที่พบ ทําใหสันนิษฐานไดวา มนุษยยุคหินใหมกระจายอยูหลายแหงมนดินแดนประเทศไทย บางพวกยังคงอาศัยอยู ในถ้ํา แตบางพวกก็ออกมาอาศัยอยูนอกถ้ํารูจักทําเครื่องประดับตกแตงรางกายเชน เอาเปลือหอยมาทําลูกปด กําไลหิน กําไลกระดูก เปนตน เมื่อมีคนตายญาติจะนําเอาศพไปฝงในหลุมสี่เหลี่ยมผืนผา ไมใสโลง จัดศพใหนอน อยูในทานอนหงาย แขนทั้งสองวางแนบกับราง จัดการขุดพบโครงกระดูกหลายๆ โครง พบวามีการฝงศพโดยหันศีรษะไปทางทิศตางๆ แตไมพบโครงกระดูกใดหันศีรษะไป ทางทิศตะวันตก โดยวางเครื่องปนดินเผาไวเหนือศีรษะที่ปลายเทา และที่เหนือเขา ใสสิ่งของเครื่องใชเครื่องประดับลงไปในหลุมดวย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 14. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 15. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สุวรรณภูมิยุคดึกดําบรรพ แผนดินของโลกเมื่อหลายพันลานปมาแลว ในยุคดึกดําบรรพนั้นพบวา แผนดินแหลมทองหรือสุวรรณภูมิที่ตั้งของประเทศไทยในปจจุบันนี้ เคยเปนแหลง ที่มีการวิวัฒนาการของพืชและสัตวยุคดึกดําบรรพเชนเดียวกับแผนดินดึกดําบรรพ ในแหลงอื่นของโลก การสํารวจทางธรณีวิทยาพบวา แผนดินบริเวณแหลมทองและอาวไทยนั้น เปน แหลงน้ํามันและกาซเหลวอยูใตพื้นทะเล เนื่องจากมีการขุดพบแหลงน้ํามันดิบและ กาซในพื้นที่ดังกลาว คือ พบแหลงน้ํามันดิบที่อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม แหลง น้ํามันดิบที่แหลงสิริกิติ์ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร แหลงกาซธรรมชาติ ที่อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน และแหลงกาซธรรมชาติอยูใตทะเลกลางอาว ไทย เปนตน http://www.watyarn.net.nz/Siam_History/siam_history_001.htm พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 16. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย ดังนั้นแผนดินสุวรรณภูมิ จึงเปนแผนดินของโลกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง โดยการระเบิดของภูเขาไฟที่พนลาวา หรือพื้นผิวโลกเกิดไหวตัวอยางรุนแรง จน พืชและสัตวดึกดํา บรรพบนผิวโลกนั้นตกลงไปอยูใตดินและเกิดการทับถมกัน ขึ้น แลวสรรพสิ่งตางๆที่ถมทับอยูนานนับเปนลานลานปก็เกิดแรงกดดันอัดแนน จากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก จนทําใหซากสิ่งมีชีวิตนั้นเปลี่ยนสภาพเปนกาซ ธรรมชาติและหลอมเหลวเปนน้ํามันดิบฝงอยูใตดินเปนเวลาหลายพันลานปตอมา ปจจุบันบริเวณดังกลาว ไดมีการขุดเจาะพื้นดินเพื่อนําเอาทรัพยากรที่อยูใต ดินขึ้นมาใชเปนเชื้อเพลิง ใชผลิตพลังไฟฟาและวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตางๆอีก มากมาย http://www.watyarn.net.nz/Siam_History/siam_history_001.htm พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 17. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สมัยหินเกา (Palaeolithic Period หรือ Old Stone Age) ราว 500,000-100,000 ป แหลงมนุษยกอนประวัติศาสตรยุคนี้ พบวามีอยูหลายแหงโดยเฉพาะกลุมมนุษย กอนประวัติศาสตรยุคหินเกานั้นไดมีการรวมตัวกันเปนกลุมเล็กๆประมาณกลุมละ 30-300 คน มนุษยกลุมนี้พากันดํารงชีวิตดวยการลาสัตว เก็บเผือกมันและผลไมเปน อาหาร ใชรากไม-ใบไม รักษาการเจ็บปวย ไมรูจักทําไรไถนาปลูกพืช ไมรูจักทํา เครื่องปนดินเผา ไมรูจักการเลี้ยงสัตว ไมมีภาษาเขียน มนุษยบางกลุมไมรูจักการใชไฟ รูจักที่จะนํากระดูกสัตวและหินมากระเทาะดานเดียวอยางหยาบ ๆ มาเปนเครื่องมือสับ ตัด โดยยังไมรูจักขัดถูใหประณีต ดังจะเห็นไดจากขวานหินกําปน (First Axes) เปนขวานหินประเภทกระเทาะ รูจักทําเข็มเย็บหนังสัตวจากกระดูก สัตว บางครั้งมนุษยยุคหินเกานี้ไดสวนใหญอาศัยถ้ําและเพิงผาเปนที่พก หรือเรรอน ั พเนจรหากินไปตามลําธาร ซอกเขาตาง ๆ ที่มีอาหารอุดมสมบูรณ โดยไมปลูกสราง บานเรือนถาวร เมื่อที่ใดไมมีแหลงอาหารหมด ก็จะเคลื่อนยายไปแหลงอาหารใหม เรื่อยไป เมื่อตายลงก็จะนําศพไปฝงไมไกลจากถิ่นที่อยู พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 18. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย เมื่อ พ.ศ.2526-2530 คณะสํารวจไดสํารวจพบหลักฐาน ที่แสดงวา แผนดินสุวรรณภูมิมีมนุษยยุคหินตอนตนคือ โฮโมซาเปยน (Homosapien) ตั้งหลักแหลงอยูแลว มนุษยยุคนี้มีอายุระหวาง 37,000-27,350 ป ในครั้งนั้น ศาสตราจารย ดักลาส แอนเดอรสัน (Dr. Douglas Anderson) นักมานุษยวิทยาโบราณคดีจาก มหาวิทยาลัยบราวน ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดรวมกับ http://1.bp.blogspot.com/_lsVYPRfo2ks/ กรมศิลปากร ทําการขุดคนทางโบราณคดี พบเครื่องมือหิน Ry8- luy1kPI/AAAAAAAAAAM/kuigZORVCwI กระเทาะ ถานจากเตาไฟ เครื่องปนดินเผา กระดูกสัตว /s320/Neanderthal_2D.jpg เผาไฟ และรองรอยของการอยูอาศัยของมนุษยยุค ไพลสโตซีน (Plistocence) อยูในถ้ําหลังโรงเรียน (Lang Rongrean) อยูที่บานทับปริก อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ หรือเพิงผาหินปูน เปนมนุษยยุคเดียว กับมนุษยโครมันยองที่พบในฝรั่งเศส http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/krabi29.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 19. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย ตอมาพ.ศ.2534 ดร.สุรินทร ภูขจร นักโบราณคดีไทยไดสํารวจพบเครื่องมือหิน กะเทาะและรองรอยการอยูอาศัย ของมนุษยโบราณยุคไพลสโตซีน ในถ้ําหมอเขียว ตําบลกระบี่นอย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เชนเดียวกันไดมีการนําสิ่งที่คนพบไป ทดสอบอายุดวยรังสีนิวเคลียรที่สหรัฐอเมริกา พบวามีอายุกวาสี่หมื่นป www.openbase.in.th/.../u10/prapayneethai1256.jpg พัhttp://www.openbase.in.th/files/u10/prapayneethai1256.jpg ฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 20. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สมัยหินกลาง (Mesolithic Period) อายุ 10,000-7,000 ป มนุษยกอนประวัติศาสตรที่อยูในสมัยหินกลางนั้น รูจักทําเครื่องมือหิน ฝมือประณีต กวาสมัยหินเกา เครื่องมือหินนั้นไดมีการกระเทาะคมหินทั้งสองดานสําหรับใชงาน แตกตางกันและยังรูจักขัดตัวขวานหินใหเรียบ นอกจากนี้ยังมีการนําเอากระดูกสัตว กางปลา และเปลือกหอยมาใชเปนเครื่องมือ เชน หัวธนู หอก ฉมวก และยังรูจักทํา เครื่องประดับจากเปลือกหอย กระดูกสัตว เชน กําไล จี้ สรอยคอ ตุมหู มนุษยสมัยนี้ชอบอาศัยอยูในถ้ําที่สูง และเพิงผาใกลหวยลําธารแมน้ํา เดินทางเรรอน ไปตามที่ตาง ๆ หากินดวยการลาสัตวเชน หมู กวาง หมี ลิง หนู หอยกาบ ปู ปลา เตา โดยยังไมรูจักการเลี้ยงสัตวเก็บผลไมใบไมมากินเปนอาหาร รูจักขุดตนไมทําเปนเรือ และหาปลาเกงกวามนุษยในสมัยหินเกา เมื่อมนุษยตายลงญาติจะนําศพฝงใตที่อยูที่พัก ซึ่งมีวิธีฝงในลักษณะนอนหงาย งอเขาขึ้นมาถึงคาง บางศพการใสเครื่องมือ (ขวานหิน) และเครื่องประดับ จี้หอยคอ อยูขางศพดวย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 21. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย มนุษยพวกนี้รูจักกอไฟและหุงหาอาหาร พักกินอยูในถ้ํา มีการเพาะปลูก สะสม อาหารและเก็บพืชมากักตุนเปนอาหาร เชน ขาว ทอ สมอไทย สมอพิเภก หมาก ถั่ว แขก ถั่วลันเตา น้ําเตา แตงกวา และลาสัตวมาเก็บและปรุงเปนอาหาร ซึ่งการขุดคน เรื่องราวกอนประวัติศาสตรในพื้นที่หลายแหงนั้นไดสํารวจพบซากพืชและสัตว เชน วัวปา และแรด ซึ่งเปนสัตวที่มีอายุราว 9,000 ป ในถ้ําผี (Spirit Cave) จังหวัด แมฮองสอน เปนหลักฐานที่ทําใหสันนิษฐานวา มนุษยกอนประวัติศาสตรยุคหมื่นปที่ แลวมานั้นรูจักหาพืชและสัตวเปนอาหาร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 22. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สําหรับแหลงของมนุษยกอนประวัติศาสตรสมัยหินกลางนั้น ไดมีการสํารวจ พบเรื่องราวแลวหลายแหงในดินแดนสุวรรณภูมิ ทีถ้ําพระ อําเภอไทรโยค จังหวัด ่ กาญจนบุรี ในถ้ําจันเด อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ในถ้ําใกลสถานีวังโพ ตําบลลุมสุม อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ในถ้ําองบะ อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัด กาญจนบุรี ในถ้ําผี และถ้ําอื่น ๆ บริเวณ อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ในถ้ํา งวงชาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม บริเวณอําเภอเขายอยและอําเภอเมืองจังหวัด เพชรบุรี และที่ถ้ําพระงาม จังหวัดสระบุรี เปนตน สวนแหลงมนุษยกอนประวัติศาสตรในประเทศตางๆแถบเอเชียอาคเนยนน ั้ ไดสํารวจพบในบริเวณที่เรียกวา ฮัวบินเฮียนหรือโหบิเนียน หรือจังหวัดฮัวบินห ในเวียดนามแลว ยังสํารวจพบในพื้นที่ภาคเหนือของเวียดนาม ลาว ฟลิปปนส เกาะฟอรโมซา และฝงตะวันออกของเกาะสุมาตรา อีก พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 23. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สมัยหินใหม (Neolithic Period หรือ New Stone Age) อายุราว 7,000-5,000 ป มนุษยกอนประวัติศาสตรสมัยหินใหมนิยมที่จะเลือกที่อยูตามริมแมน้ํา หรือ บริเวณเชิงเขาและที่ราบสูงที่น้ําทวมไมถึง มากกวาการเดินทางเรรอนหรืออาศัยอยู ตามถ้ําเหมือนสมัยหินเกา มนุษยสมัยนี้รูจักการทําขวานหินขัดเรียบชนิดมีบาหรือ ขวานฟาที่มีฝมือประณีต แทนเครื่องมือหินกระเทาะอยางหยาบแบบสมัยหินเกา รูจักนําไมหรือเขาสัตวมาทําเปนดามผูกติดกับขวานหิน รูจักการ เพาะปลูกขาวสาลี ขาวเจา ทําไรและปลูกตนไม รูจักทําเครื่องปนดินเผาชนิดสีดําขัดมัน เปนภาชนะ รูปแบบตางๆเชนหมอ ไห ชาม จาน ภาชนะบางชิ้นทําเปนภาชนะดินเผามีสามขา และเจาะรูระบายความรอน รูจักการใชเชือกทาบทําลวดลายบนเครื่องปนดินเผา แตยังไมรูวิธีหลอมโลหะเปนเครื่องมือเครื่องใช มนุษยสมัยนี้รูจักนําหินขัดและ เปลือกหอยกาบ เปลือกหอยแครง มาทําเปนอาวุธเชนหัวหอก หัวลูกศร มีด เคียว และรูจักทําเครื่องประดับ เชนกําไล แหวน ลูกปด หวี ตุมหู และ ปนปกผม พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 24. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สมัยนี้มนุษยไดเรียนรูการปรุงอาหาร ดวยวิธีการจุดชุดไฟเพื่อใชเผา ปง อบ อาหารใหสุกกอนกิน มีการนําสัตวมาเลี้ยงเชน หมา หมู แพะ แกะ ไก และ วัว ควาย และการหาปลาโดยใชเบ็ดเกี่ยวเหยื่อลอและฉมวก รูจักวิธีขุดตนไมเปนเรือ รูจักการทอผาและทําเข็มเย็บหนังหรือผาจากกระดูกสัตว รูจักการสรางที่อยูเปน แบบกระทอมดิน มุงหลังคาดวยใบไมและทํากําแพงลอมรอบหมูบานซึ่งมีการ รวมกลุมคนเพื่ออยูรวมกันราวพันคน คนกลุมนี้อายุไมยืน เพราะจากการตรวจ โครงกระดูกในหลุมฝงศพไดพบวามีมนุษยอายุประมาณ 30-40 ป เสียชีวิตเปน จํานวนมาก จากการศึกษาฟนของโครงกระดูกของมนุษยกอนประวัติศาสตร พบวามนุษยสมัยนี้รูจักการถอนฟน และแตงฟน แลว พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 25. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สําหรับแหลงอารยธรรมที่สําคัญในแถบตะวันออกนั้นคือ ประเทศจีน และดินแดน แหลมทองหรือสุวรรณภูมิ การสํารวจเรื่องราวกอนประวัติศาสตรของมนุษยสมัยหินใหม ในแผนดินไทยได พบวามีอยูหลายแหง แหลงโบราณคดีนี้สวนใหญพบโครงกระดูกและเครื่องมือหินชนิด ขวานหินขัด ที่เรียกกันวาขวานฟา ซึ่งพบจํานวนมากที่จังหวัดกาญจนบุรี ไดแกแหลง สํารวจที่ - บานเกา ตําบลจระเขเผือก อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ที่ กองผสมเทียม กรมการสัตวทหารบก ใกลโรงงานกระดาษกาญจนบุรี - ถ้ําเขาสามเหลี่ยม อําเภอเมือง - บริเวณริมหวยแมงลัก หวยหิน และใกลแมน้ําแควนอย เปนตน นอกจากนี้ยังสํารวจพบแหลงโบราณคดีในพื้นที่จังหวัดตางๆ ทั่วประเทศ เชน - จังหวัดราชบุรีพบที่บานหนองแชเสา ตําบลหินกอง อําเภอเมืองราชบุรี - จังหวัดนครสวรรคพบที่ ตําบลกลางแดด อําเภอเมืองนครสวรรค - จังหวัดลพบุรพบที่ บานโคกเจริญ ตําบลมะกอกหวาน อําเภอไชยบาดาล ี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 26. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย - จังหวัดสุราษฎรธานีพบที่ ถ้ําเบื้องแบบ อําเภอคิรีรัฐนิคม - จังหวัดกระบี่พบกระดูกสัตวเผาไฟ สําหรับเปนอาหารและขวานหินที่เขาขนาบน้ํา ถ้ําสระ เพิงผาหนาชิง ถ้ําเสือ และที่คลองทอม - จังหวัดอุบลราชธานี พบที่ผาแตม อําเภอโขงเจียม แหลงภาพเขียนสรบนเพิงผา - จังหวัดประจวบคิรีขันธพบขวานหิน โครงกระดูก และหมอดินเผา ในถ้ํา ที่ บาน วลัย อําเภอหนองพลับ อําเภอหัวหิน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 27. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สําหรับแหลงโบราณคดีที่บานโคกพนมดี อําเภอพนัสนิคม จังหวัดฉะเชิงเทรา นั้นไดมีการพบเปลือกหอยแครงและหอยทะเลจํานวนมาก อัดซอนอยูในชั้น ดิน เปนหลักฐานที่แสดงวาสถานที่นั้นเคยเปนทะเลมากอน และยังพบเศษภาชนะ ดินเผาลายเชือกทาบ ขวานหิน ลูกปด และกําไลขอมือหิน ที่แสดงถึงอารยธรรม ของคนสมัยหินที่เชื่อมตอมาถึงสมัยโลหะ นับเปนแหลงที่มนุษยใชทํามาหากินอยู ตามชายฝงทะเล เมื่อ 2,500 ปแลว พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 28. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สําหรับแผนดินภาคใตของประเทศไทยเมื่อประมาณ 3,000-5,000 ปที่ผานมา นั้น ไดพบวามีมนุษยกอนประวัติศาสตรอาศัยอยูเชนเดียวกัน ซึ่งพบหลักฐานวา มนุษยสมัยนั้นไดอาศัยอยูใน - ถ้ําผีหัวโต หรือถ้ําหัวกะโหลก อําเภออาวลึก จังหวัดกระบี่ - ถ้ําเขาเขียน และ เขาระยา ที่ตําบลเกาะปนหยี อําเภอเมือง จังหวัดพังงา พบภาพเขียนสียุคกอนประวัติศาสตรในถ้ําดังกลาว มีภาพเขียนเปนรูปมือ คน ปลา กุง นก วัว แพะ ตะกวด และภาพเขียนเปนลายเรขาคณิต รูปสัตวบางรูปเขียนแบบ เอกซเรยใส ขีดเปนเสนเหมือนกระดูกหรือกางปลา พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 29. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย ภาพเขียนลักษณะเชนนี้พบอีกหลายแหงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ ถ้ําผามือแดง เขาจอมนาง บานทาสมปอย ตําบลศรีบุญเรือง อําเภอเมือง จังหวัด มุกดาหาร ทีถ้ําฝามือ บานหินลอง ตําบลภูเวียง จังหวัดขอนแกน ถ้ํามือแดงและ ่ ถ้ําผาแตมจังหวัดนครพนม ที่เขาจันทรงาม ตําบลลาดบัวขาว อําเภอสีคิ้ว จังหวัด นครราชสีมา ที่ผาฆอง ถ้ําลายแทง ภูผานกเคา อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ที่ภูถ้ํามโหฬาร จังหวัดเลย ที่ถ้ําลายมือ ภูผาผึ้ง ใกลบานหวยมวง ตําบลหนองหาง อําเภอกุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ ถ้ําคน วัดพระพุทธบาทบัวบก ถ้ําลาย ถ้ําโนนเสาเอ อําเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี และภาพเขียนที่หนาผาบนเขาปลารา อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 30. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย นอกจากนี้ยังสํารวจพบภาพทรงเรขาคณิตจําหลักบนหินทรายผนังถ้ํา ที่ผา กระดานเลข เขาผาแดง อําเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และถ้ํามึ่ม ตําบล โนนสัง จังหวัดอุดรธานี พบภาพมือแดง เตา ปลาและสัตวตาง ๆ อายุกวา 3,000 ป ที่ผาแตม ภูผาขาม บานกุม ตําบลหวยไผ อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ในภาคกลาง พบภาพเขียนสีที่ถ้ํารูปเขาเขียว ตําบลลุมสุม อําเภอไทรโยค จังหวัด กาญจนบุรี เปนตน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 31. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย ภาชนะดินเผาสมัยหินใหม คือหมอดินเผาสามขาโบราณ (Tripods) นั้นพบใน ประเทศไทยที่แหลงโบราณคดีบานเกา กาญจนบุรี มีอายุระหวาง 4,000- 3,300 ป มีรูปแบบคลายคลึงกับภาชนะดินเผาที่พบในบริเวณลุงชานนอยด (Lungshanoid) ในจีน และมีการพบชิ้นสวนของหมอสามขา ที่เขาขนาบน้ํา อําเภอเมือง จังหวัด กระบี่ ที่ถ้ํากาซี อําเภอคิรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี ถ้ําเขาปนะ อําเภอเมือง จังหวัดตรัง และ เขารักเกียรติ อําเภอรัตตภูมิ จังหวัดสงขลาอีกดวย เปน หลักฐานที่แสดงถึงอารยธรรมที่มีการเดินทางมาจากแหลงเดียวกันหรือมี ความคิดสรางตรงกัน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 32. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สมัยโลหะ (METAL AGE) อายุ 5,000-3,000 ป มนุษยกอนประวัติศาสตรสมัยโลหะนั้น เปนสมัยที่มนุษยรูจักนําเอาแรธาตุโลหะ ขึ้นมาจากดินและสกัดจากหินมาถลุงหลอมใช เชน เหล็ก ทองแดง รูจักที่จะนําโลหะ หลายชนิด มาหลอมรวมกันดวยความรอนจนเกิดเปนโลหะชนิดใหมที่มีคุณสมบัติดขึ้น ี กวาเดิม คือ สําริด (ปจจุบันใชคําวา สัมฤทธิ์ ) ซึ่งเปนโลหะผสมของทองแดง 85 % กับดีบุก 15 % และอาจมีตะกั่วปนแทรกเขาไปในบางครั้ง คุณสมบัติของสําริดนั้น ทําใหมนุษยสามารถนํามาหลอหรือทุบตีเปนเครื่องมือ สําริดไดดีกวา เหล็กที่ใชอยูเดิม เครื่องมือสําริดจึงมีรูปลักษณะแตกตางกันเชนขวาน ทําเปนบองสําหรับใสดาม หอก กําไล เบ็ด ใบหอก ถวยหรือขัน และกลองมโหระทึก ที่มีการสรางตัวกบซอนกันและทําลวดลายบนตัวกลอง ถือเปนโลหะสําคัญที่ใชสราง เครื่องมือเครื่องใชสําหรับบุคคลสําคัญของชุมชน ซึ่งจะพบวามีการทําลวดลายกําไล เครื่องประดับสําริดเชน แหวน ลุกกระพรวน ตุมหู เปนตน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 33. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย สวนเครื่องมือที่ทําจากเหล็กนั้น ยังนิยมใชอยูโดยการถลุงแรเหล็กแลวนํามา ทําเปนเครื่องมือเครื่องใช โดยตรงเชน ใบหอก ดาบ มีด ขวาน ซึ่งมีคุณสมบัติ แข็งแกรงกวาสําริด และเหมาะสําหรับใชงานลาสัตวมากกวา มนุษยสมัยโลหะนิยมการฝงศพ โดยใหหันหัวไปทางทิศเหนือนอนหงายเหยียด ตรง รูจักขุดหลุมสรางบานใตถุนสูง มีหลักแหลงที่อยูคอนขางถาวรไมเดินทาง รอนเรเหมือนมนุษยสมัยเครื่องมือหิน รูจักเก็บเมล็ดพันธสําหรับเพาะปลูกขาวและ ปลูกฝายในที่ลุม รูจักการทอผา การหลอสําริด ทําลูกปดจากหินเปนเครื่องประดับ ทําเครื่องปนมีลวดลายเขียนสีสําหรับใชในพิธีฝงศพ รูจักเลี้ยงสัตวสําหรับใชงาน และเปนอาหาร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 34. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย แหลงที่เปนถิ่นฐานของมนุษยสมัยใชเครื่องมือโลหะในแผนดินไทยนัน พบวามีอยู ้ หลายแหง ไดแก แหลงโบราณคดีในจังหวัดกาญจนบุรพบโครงกระดูกของมนุษยที่มี ี อาวุธ กลองสัมริดและเครื่องประดับที่ทําดวยสําริด และพบโลงศพที่ขุดตนไมเปนรูปเรือ ที่ถ้ําองบะ อําเภอศรีสวัสดิ์ และบานดอนตาเพชร อําเภอพนมทวน (อายุราว 4,000 ป) จังหวัดลพบุรีพบแหลงถลุงเหล็กและทองแดงโบราณหลอขนาดใหญ ที่บานโคก เจริญ บานทาแค บานโนนปาหวาย โนนหมากลา นิลกําแหง เขาวงพระจันทร บานถลุง เหล็ก บานดีลัง และที่อางเก็บน้ําพิบูลสงคราม ซึ่งอยูในบริเวณศูนยการทหารปนใหญ ลพบุรี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 35. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย จังหวัดอุดรธานีพบโครงกระดูก ภาชนะดินเผาลายเขียนสี เครื่องใชทําดวย สําริดและเหล็ก ที่บานเชียง อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี โดยไดพบที่ฝงศพ บริเวณใตถุนบานหรือในบริเวณเดียวกับบาน มีภาชนะดินเผาลายเขียนสี และ เครื่องมือเครื่องใชทําดวยสําริดและเหล็ก อยูในที่ฝงศพ พบกระดูกสัตวตาง ๆ กวา ๖๐ พันธ เชนปลา กบ เตา หอย วัว ควาย เสือและเกง เปนตน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 36. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย จังหวัดสกลนคร พบกําไล หัวลูกศร ขวานและกระดึงสําริดที่บานดอนธงชัยและบาน พันนา อําเภอสวางแดนดิน จังหวัดหนองคายพบแหลงแรทองแดงที่ภูโลน ริมแมน้ําโขง อําเภอสังคม จังหวัดมุกดาหารพบกลองมโหระทึกสําริด อายุราว 2,000 ป ที่บานดอนตาล อําเภอ ดอนตาล จังหวัดขอนแกนพบโครงกระดูกมนุษยจํานวน 217 โครง และเครื่องประดับเครื่องใช ทําจากสําริดผสมดีบุก เชน กําไล ตุมหู ขวานมีบอง และเบาหลอมสําริดทําจากหินทราย อายุราว 4,500 ป ที่โนนนกทา ตําบลบานโคก อําเภอภูเวียง (มีแหลงทําสําริดโบราณ อายุราว 5,000 ป) จังหวัดเชียงใหม พบที่ ถ้ํางวงชาง อําเภอเชียงดาว จังหวัดราชบุรีพบที่บานโคกพลับ ตําบลโพธิ์หัก อําเภอบางแพ นอกจากแหลงสําริดดังกลาวแลวยังพบเครื่องมือรูปพราทําดวยสําริดทีจังหวัดนาน ่ พบขวานสําริดที่จังหวัดเลย และพบกลองมโหระทึกสําริดที่บานชีทวน อุบลราชธานี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 37. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย เครื่องมือหินกะเทาะ เปนขวานหินในชั้นวัฒนธรรมที่ 1 ซึ่งใชกันในยุคหินเกาตอนปลาย เครื่องมือ สะเก็ดหิน และสะเก็ดหิน เครื่องมือหินเหลานี้ใชลาสัตว และใชเปนเครื่องมือเพื่อทําเครื่องมือลาสัตว อื่น ๆ เชน ไมซาง หรือขอเลา - ลูกดอก ตลอดถึงเครื่องดักจับสัตวตาง ๆ อันเปนเครื่องมือไม 203.144.136.10/.../nation/oldcity/trang3.htm พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 38. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย เศษภาชนะดินเผาหมอสามขา จากถ้ําเขาปนะ ถ้ําเขาสามบาตร แสดงอารยธรรมมนุษย ยุคกอนประวัติศาสตร วามีการหุงตมใหสุกกอนบริโภค 203.144.136.10/.../nation/oldcity/trang3.htm พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 39. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย เครื่องมือหินโบราณที่ "ดอยภูซาง" ปรากฏหลักฐานเมื่อพบเครื่องมือหินกระเทาะแบบหยาบ ๆ ในสมัยหินเกาจากบริเวณเสาดิน บานน้ําหก ต.เชียงของ อ.นานอย และบานดูใต ต.ดูใต อ.เมือง ซึ่งนักโบราณคดี อายุราว 2 แสนถึง 7 พันป www.lannacorner.net/lanna/pic/29150-2.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 40. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย ขวานสําริดสมัยกอนประวัติศาสตร ยุคสําริด, อายุ 2,500-4,000 ป http://3.bp.blogspot.com/_t8dZJ1ykJqk/SgNRZwGqIaI/AAAAAAAABnI/eMjDcA0kU0w/s1600-h/P1020803+(Large).JPG พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 41. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย หลุมขุดคนบานโพธิ์ศรีใน บานเชียง อุดรธานี 3.bp.blogspot.com/.../s400/P1020803+(Large).JPG พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 42. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย หลักฐานทางโบราณคดีที่พบจากการขุดคนทางโบราณคดีบานโนนวัด http://3.bp.blogspot.com/_t8dZJ1ykJqk/SgZ9TNu- anI/AAAAAAAABrQ/ceyB8XXHsXk/s1600-h/bannonwat-6249.JPG พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 43. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย เครื่องมือหินกระเทาะ ยุคหินเกา http://pratimavcharkarn.blogspot.com พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 44. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย ผาแตม เมื่อดูจากแมน้ําโขง จะเห็นเปนหนาผาสูงที่สวยงามตามธรรมชาติ ในบริเวณที่เปนหนาผา จะปรากฏภาพเขียนสีโบราณโดยฝมือมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร เรียงรายตามความยาวของหนาผา ติดตอกันยาวประมาณ 180 เมตร มีไมต่ํากวา 300 ภาพ ซึ่งเปนจํานวนภาพเขียนสีโบราณ ที่มากที่สุด เทาที่เคยคนพบในประเทศไทยและในตางประเทศ http://www.sadood.boysabuy.com/scoop/data/upimages/top100/16_156_IMG_0689.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 45. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย http://www.sadood.boysabuy.com/scoop/data/upimages/top100/IMG_6668.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 46. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย http://www.voyagetravelmag.com/database/upload_files/what_going_on/%E 0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B 8%94%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%9 A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E http://www.igetweb.com/www/multigroup/gallery/126262.jpg 0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 47. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย http://www.igetweb.com/www/multigroup/gallery/126263.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 48. ประวัติศาสตร การแบงชวงเวลาทางประวัติศาสตรไทย แหลงที่มาของขอมูล 203.144.136.10/.../nation/oldcity/ http://1.bp.blogspot.com/ http://3.bp.blogspot.com/ http://kanchanapisek.or.th/ http://picdb.thaimisc.com/ http://pratimavcharkarn.blogspot.com http://th.wikipedia.org/wiki http://www.212cafe.com/freeguestbook/ http://www.igetweb.com/ http://www.igetweb.com/www/multigroup/ http://www.lannacorner.net/ http://www.mapculture.org/ http://www.openbase.in.th/ http://www.sadood.boysabuy.com/scoop/ http://www.thaitourzone.com/north/prae/sukhothai/ http://www.tourdoi.com/webboard2/ http://www.voyagetravelmag.com/database/ http://www.watyarn.net.nz/Siam_History/ http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร