SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 61
Descargar para leer sin conexión
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




                   การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
                       พุทธศักราช 2475



                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



           ภายหลังการปฏิรูปการปกครองและการปฏิรูปการศึกษาในรัชกาลที่ 5 พระองค
       ไดมีกระแสความคิดที่จะใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ
       สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมาย
       สูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเปนสถาบันหลักที่จะใหประชาชนมีสวน
       รวมในการปกครองมากขึ้นเปนลําดับ จนกระทั่งไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ
       ร.ศ.130 ซึ่งมีความคิดที่ปฏิบัติการใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว แตไมทันลงมือ
       กระทําการก็ถูกจับไดเสียกอนเมื่อ พ.ศ.2454 ในตนรัชกาลที่ 6




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



            อยางไรก็ตาม เสียงเรียกรองใหมีการเปลี่ยนแปลง
      การปกครองก็ยังคงมีออกมาเปนระยะๆ ทางหนา
      หนังสือพิมพ แตยังไมผลตอการเปลี่ยนแปลงใดๆ มาก
      นัก นอกจากการปรับตัวของรัฐบาลทางดานการเมือง
      การปกครองใหทันสมัยยิ่งขึ้นกวาเดิมเทานั้น แตก็ยัง
      ไมไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด
      ในการปกครองประเทศแตประการใด จนกระทั่งใน
      สมัยรัชกาลที่ 7 ไดมีคณะผูกอการภายใตการนําของ
      พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ซึ่งไดกอการ
      เปลี่ยนแปลงการปกครองเปนผลสําเร็จใน พ.ศ. 2475
             ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.
      2475 จึงเปนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สําคัญ
                                                                    http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/
                                                                    666/3666/images/pa1.jpg


      ของประวัติศาสตรชาติไทย

                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




       สภาพการณโดยทั่วไปของบานเมืองกอนเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
       1.สภาพการณทางสังคม
              สังคมไทยกําลังอยูในชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงเขาสูความทันสมัยตามแบบ
       ตะวันตกในทุกๆ ดาน อันเปนผลสืบเนื่องมาจากการปฏิรูปแผนดินเขาสูความ
       ทันสมัยในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453) ความจริงแลวสังคมไทยเริ่มปรับตัวให
       เขากับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ภายหลังไดทําสนธิสัญญา
       บาวริงกับอังกฤษใน พ.ศ.2398 และกับประเทศอื่นๆในภาคพื้นยุโรปอีกหลาย
       ประเทศ และทรงเปดรับรับประเพณีและวัฒนธรรมของตะวันตก เชน การจาง
       ชาวตะวันตกใหเปนครูสอนภาษาอังกฤษแกพระราชโอรสและพระราชธิดาใน
       พระบรมมหาราชวัง การใหขาราชการสวมเสื้อเขาเฝา การอนุญาตใหชาวตางประเทศ
       เขาเฝาพรอมกับขุนนางขาราชการไทยในงานพระบรมราชาภิเษก เปนตน


                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


            ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดทรงดําเนินพระบรมราโชบายปลดปลอยไพรใหเปนอิสระ
        และทรงประกาศเลิกทาสใหเปนไทแกตนเอง พรอมกันนั้นยังทรงปฏิรูปการศึกษา
        ตามแบบตะวันตก เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการศึกษาถึงขั้นอานออกเขียนไดและ
        คิดเลขเปน ไมวาจะเปนเจานาย บุตรหลานขุนนาง หรือราษฎรสามัญชนที่พนจาก
        ความเปนไพรหรือทาส ถาบุคคลใดมีสติปญญาเฉลียวฉลาดก็จะมีโอกาสเดินทางไป
        ศึกษาตอยังประเทศตะวันตกโดยพระบรมราชานุเคราะหจากผลการปฏิรูปการศึกษา
        ทําใหคนไทยบางกลุมที่ไดรับการศึกษาตามแบบตะวันตก เริ่มรับ เริ่มรับเอากระแส
        ความคิดเกี่ยวกับการเมืองสมัยใหม ที่ยึดถือรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการ
        ปกครองประเทศมาจากตะวันตก และมีความปรารถนาที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลง
        การปกครองเกิดขึ้นในประเทศไทย




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             ดังจะเห็นไดจากคํากราบบังคมทูลถวายถึง
        ความคิดเห็นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของ
        คณะเจานายและขาราชการใน พ.ศ.2427
        (ร.ศ.103) หรือการเรียกรองใหมีการปกครองใน
        ระบบรัฐสภาของ เทียนวรรณ (ต.ว.ส. วัณณาโภ)
        ในหนาหนังสือพิมพในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนตน
        และกระแสความคิดนี้ก็ดําเนินสืบเนื่องมาโดย
        ตลอดในหมูผูนําสมัยใหมที่ไดรับการศึกษาจาก
        ประเทศตะวันตก และจากผูที่ไดรับการศึกษาตาม
        แบบตะวันตก                                             http://www.uppicweb.com/x/i/io/spd_20050321
                                                               211400_b.jpg




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             อยางไรก็ตามกลุมผูนําสมัยใหมบางสวนที่ไดรับผลประโยชนจากระบบราชการ
        สมัยใหมที่ตนเองเขาไปมีหนาที่รับผิดชอบอยู ก็ถูกระบบราชการดูดกลืนจนปฏิเสธ
        ที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองสมัยใหมในระยะเวลาอันใกล เพราะมี
        ความเห็นวาประชาชนชาวไทยยังขาดความพรอมที่จะรับการเปลี่ยนแปลง




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




            สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปประเทศเขาสูความทันสมัย สังคมไทยก็เริ่มกาวเขาสู
       ความมีเสรีในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น โดยเริ่มเปดโอกาสสื่อมวลชนเสนอ
       ความคิดเห็นตอสาธารณชนไดคอนขางเสรี ดังนั้นจึงปรากฏวาสื่อมวลชนตางๆ เชน
       น.ส.พ.สยามประเภท, ตุลวิภาคพจนกิจ, ศิริพจนภาค, จีนโนสยามวารศัพท ซึ่ง
       ตีพิมพจําหนายในรัชกาลที่ 5 น.ส.พ. บางกอกการเมือง ซึ่งพิมพจําหนายในสมัย
       รัชกาลที่ 6 และ น.ส.พ.สยามรีวิว ซึ่งพิมพจําหนายในสมัยรัชกาลที่ 7 ไดเรียกรอง
       และชี้นําใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสูระบบรัฐสภา โดยมี
       รัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศอยางตอเนื่อง




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




              อยางไรก็ตาม เนื่องจากการปลดปลอยไพรและทาสใหเปนอิสระในสมัย
          รัชกาลที่ 5 ไดผานพนไปไดเพียง 20 ปเศษ ดังนั้นสภาพสังคมสวนใหญในสมัย
          รัชกาลที่ 7 กอนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงยังตกอยูภายใต
          อิทธิพลของวัฒนธรรมในระบบเจาขุนมูลนาย นอกจากนี้คนสวนนอยยังคงมี
          ฐานะ สิทธิ ผลประโยชนตางๆ เหนือคนไทยสวนใหญ คนสวนใหญมักมี
          ความเห็นคลอยตามความคิดที่สวนนอยซึ่งเปนชนชั้นนําของสังคมไทยชีนํา ถาจะ
                                                                           ้
          มีความขัดแยงในสังคมก็มักจะเปนความขัดแยงในทางความคิด และความ
          ขัดแยงในเชิงผลประโยชนในหมูชนชั้นนําของสังคมที่ไดรับการศึกษาจาก
          ประเทศตะวันตก มากกวาจะเปนความขัดแยงระหวางชนชั้นผูนําของสังคมไทย
          กับราษฎรทั่วไป




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




      2.สภาพการณทางเศรษฐกิจ
           ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไดเริ่มมีการสงขาวออกไปขายยังตางประเทศมากขึ้น เพราะ
      ระบบการคาที่เปลี่ยนแปลงไปและความตองการของตลาดโลก ชาวนาจึงหันมาปลูก
      ขาวเพื่อสงออกมาขึ้น ทําใหมีการปลูกพืชอื่นๆ นอยลง ผลผลิตที่เปนอุตสาหกรรมใน
      ครัวเรือนก็ลดลงดวยบางที่ก็เลิกผลิตไปเลย เพราะแรงงานสวนใหญจะนําไปใชในการ
      ผลิตขาวแทน




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


             สมัยรัชกาลที่ 5 พระองคทรงเห็นวาถึงแมรายไดของแผนดินจะเพิ่มพูนมากขึ้น
       อันเปนผลมาจากระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนไป แตการที่ระบบการคลังของแผนดินยังไม
       รัดกุมพอ ทําใหเกิดการรั่วไหลไดงาย จังทรงจัดการปฏิรูปการคลังโดยจัดตั้งหอ
       รัษฎากรพิพัฒนขึ้น เพื่อการปรับปรุงและการจัดระบบภาษีใหทันสมัยใน พ.ศ.2416
       มีการประกาศใชพระราชบัญญัติงบประมาณ พ.ศ.2434 เริ่มโครงการปฏิรูปเงินตรา
       ใหม พ.ศ.2442 จัดการสงเสริมการเกษตรและการผลิตเพื่อการสงออกใหมากขึ้น
       ปรับปรุงการคมนาคมใหทันสมัยโดยการสรางทางรถไฟ ตัดถนนสายตางๆ ขุดคลอง
       เพื่อใหเกิดความสะดวกในการคมนาคม การขนสงสินคาและผลผลิต ซึ่งผลการ
       ปฏิรูปเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหรายไดของประเทศเพิ่มมากขึ้น 15 ลานบาท
       ใน พ.ศ.2435 เปน 46 ลานบาทใน พ.ศ.2447 โดยไมไดเพิ่มอัตราภาษีและชนิด
       ของภาษีขึ้นอยางใด ทําใหเงินกองคลังของประเทศ ซึ่งเคยมีอยูประมาณ 7,500,000
       บาท ใน พ.ศ.2437 เพิ่มเปน 32,000,000 บาทใน พ.ศ.2444


                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



            สมัยรัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2453-2468) ไดมีการสงเสริมธุรกิจดานอุตสาหกรรม
       ปูนซีเมนต กิจการไฟฟา มีการจัดตั้งบริษัทพาณิชยนาวีสยาม สงเสริมดานชลประทาน
       และการบํารุงพันธุขาว จัดตั้งธนาคารออมสิน สรางทางรถไฟเพิ่มเติมจากเดิม ทั้งนี้
       เพื่อหวังผลทางเศรษฐกิจที่เจริญกาวหนายิ่งขึ้น แตเนื่องจากไดอุทกภัยใน พ.ศ.2460
       และเกิดฝนแลงใน พ.ศ. 2462 ทําใหการผลิตขาวอันเปนที่มาของรายไดหลักของ
       ประเทศประสบความเสียหายอยางหนัก สงผลกระทบตอภาวะการคลังของประเทศ
       อยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ทําใหงบประมาณรายจายสูงกวารายรับมาโดยตลอดระหวาง
       พ.ศ.2465-2468




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




              สมัยรัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468-2475) พระองคไดทรงแกปญหาเศรษฐกิจ
        อยางเต็มพระสติกําลังความสามารถ โดยทรงเสียสละดวยการตัดทอนรายจายใน
        ราชสํานัก เพื่อเปนตัวอยางแกหนวยราชการตางๆ โดยโปรดใหลดเงินงบประมาณ
        รายจายสวนพระองค จากเดิมปละ 9 ลานบาท เหลือปละ 6 ลานป พ.ศ.2469
        และมีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีศุลกากรใหมหลายอยาง ทําใหงบประมาณรายรับ
        รายจายเกิดความสมดุล พ.ศ.2472-2474 เศรษฐกิจโลกเริ่มตกต่ําอันเปนผล
        เนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงสงผลกระทบตอประเทศโดยตรง ทําให
        งบประมาณรายจายสูงกวารายรับเปนจํานวนมาก




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             รัชกาลที่ 7 ไดทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายอยางเขมงวดที่สุด รวมทั้ง
        ปลดขาราชการออกจากตําแหนงเปนจํานวนมากเพื่อการประหยัด ตลอดจน
        จัดการยุบมณฑลตางๆทั่วประเทศ งดจายเบี้ยเลี้ยงและเบี้ยกันดารแกขาราชการ
        ประกาศใหเงินตราของไทยออกจากมาตรฐานทองคํา และกําหนดคาเงินตราตาม
        เงินปอนดสเตอรลิง รวมทั้งการประกาศเพิ่มภาษีราษฎรโดยเฉพาะขาราชการซึ่ง
        จะตองเสียภาษีที่เรียกวา ภาษเงินเดือน แตถึงแมวาจะทรงดําเนินนโยบายแกไข
        ปญหาเศรษฐกิจดวยการประหยัดและตัดทอนรายจายตางๆ รวมทั้งการเพิ่มภาษี
        บางอยางแลว แตสถานการณทางเศรษฐกิจก็ยังไมไดเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


       3.สภาพการณทางการเมือง
             สภาพการณทางการเมืองและการปกครองของไทยกําลังอยูในระยะปรับตัวเขาสู
       แบบแผนการปกครองของตะวันตก เห็นไดจากพระบรมราโชบายของพระมหากษัตริย
       ไทยทุกพระองค ภายหลังที่ไทยไดมีการติดตอกับประเทศตะวันตกอยางกวางขวาง
       นับตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4-7สมัยรัชกาลที่ 4 ยังไมไดทรงดําเนินนโยบายปรับปรุงการ
       ปกครองใหเปนแบบตะวันตก แตก็ทรงมีแนวพระราชดําริโนมเอียงไปในทางเสรีนิยม
       เชน ประกาศใหเจานายและขาราชการเลือกตั้งตําแหนงมหาราชครูปุโรหิตและ
       ตําแหนงพระมหาราชครูมหิธร อันเปนตําแหนงตุลาการที่วางลง แทนที่จะทรงแตงตั้ง
       ผูพิพากษาตามพระราชอํานาจของพระองค และเปลี่ยนแปลงวิธีถวายน้ําพิพัฒนสัตยา
       ดวยการที่พระองคทรงเสวยน้ําพิพัฒนสัตยารวมกับขุนนางขาราชการและทรงปฏิญาณ
       ความซื่อสัตยของพระองคตอขุนนางขาราชการทั้งปวงดวย



                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




            สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการเมืองการปกครองครั้งใหญ เพื่อใหการปกครอง
       ของไทยไดเจริญกาวหนาทัดเทียมกับชาติตะวันตก โดยจัดตั้ง สภาที่ปรึกษาราชการ
       แผนดิน (Council of State) และสภาที่ปรึกษาสวนพระองค (Privy Council) ใน
       พ.ศ.2417 เพื่อถวายคําปรึกษาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินและในเรื่อง
       ตางๆ ที่พระองคของคําปรึกษาไป นอกจากนี้พระองคยังทรงปฏิรูปการปกครองที่
       สําคัญคือ การจัดตั้งกระทรวงแบบใหมจํานวน 12 กระทรวงขึ้นแทนจตุสดมภใน
       สวนกลางและจัดระบบการปกครองหัวเมืองตางๆในรูปมณฑลเทศาภิบาลในภูมภาค       ิ
       โดยเริ่มตั้งแต พ.ศ.2435 เปนตนมา นอกจากนี้พระองคทรงริเริ่มทดลองการจัดการ
       ปกครองทองถิ่นในรูป สุขาภิบาล จัดตั้ง รัฐมนตรีสภา เพื่อทําหนาที่ตามกฎหมาย
       ใน พ.ศ.2437 ตามแบบอยางตะวันตก



                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




               สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงริเริ่มทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยการ
        จัดตั้ง ดุสิตธานี เมืองประชาธิปไตยขึ้นในบริเวณพระราชวังดุสิต พ.ศ.2461 เพื่อ
        ทดลองฝกฝนใหบรรดาขาราชการไดทดลองปกครองตนเองในนครดุสิตธานี
        เหมือนกับการจดรูปแบบการปกครองทองถิ่นที่เรียกวา เทศบาล”
               นอกจากนี้ยังทรงจัดตั้งกระทรวงขึ้นมาใหมจากที่มีอยูเดิม และยุบเลิก
        กระทรวงบางกระทรวงเพื่อใหมีความทันสมัยมากขึ้น โดยทรงจัดตั้งมณฑลเพิ่มขึ้น
        และทรงปรับปรุงการบริหารงานของมณฑลดวยการยุบรวมมณฑลเปนหนวย
        ราชการที่เกี่ยวกับการปกครองเรียกวา มณฑลภาค เพื่อใหการปกครองแบบมณฑล
        เทศาภิบาลมีความคลองตัวมากขึ้น




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



              สมัยรัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2468-2475) ทรงเล็งเห็นความจําเปนที่จะตอง
        เปลี่ยนแปลงการปกครองใหทันสมัย และตองเตรียมการใหพรอมเพิ่มมิใหเกิด
        ความผิพลาดได โดยพระองคไดทรงจัดตั้งอภิรัฐมนตรีสภา เพื่อเปนที่ปรึกษา
        ราชการแผนดิน พ.ศ.2468 และทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีสภาวางระเบียบ
        สําหรับจัดตั้งสภากรรมการองคนตรี เพื่อเปนสภาที่ปรึกษาสวนพระองคอีกดวย
              นอกจากนี้ทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีวางรูปแบบการปกครองทองถิ่นใน
        รูปเทศบาล ดวยการแกไขปรับปรุงสุขาภิบาลที่มีอยูใหเปนเทศบาล แตไมมี
        โอกาสไดประกาศใช เพราะไดเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นกอน
              นอกจากนี้ยังทรงโปรดเกลาฯ ใหพระยาศรีวิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี.
        สตีเวนส ซึ่งเปนที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศชวยกันรางรัฐธรรมนูญ ตาม
        กระแสพระราชดําริใน พ.ศ.2474 มีสาระสําคัญดังนี้



                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             อํานาจนิติบัญญัติจะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทางออม โดยมี
        สมาชิก 2 ประเภท คือ มาจากการเลือกตั้งและการแตงตั้ง สวนผูที่มีสิทธิ์สมัคร
        เลือกตั้งจะตองมีอายุไมต่ํากวา 30 ป มีพื้นฐานความรูอานออกเขียนได สวน
        อํานาจบริหารใหพระมหากษัตริยทรงเลือกนายกรัฐมนตรี แตเนื่องจาก
        อภิรัฐมนตรีมีความเห็นประชาชนยังไมพรอม ดังนั้นการประกาศใชรัฐธรรมนูญ
        ควรระงับไวชั่วคราว จนกระทั่งไดเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียกอนจึง
        มิไดมีการประกาศใชแตอยางใด




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


       สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475
       1.ความเสื่อมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
              การที่คณะนายทหารหนุมภายใตการนําของ ร.อ.ขุนทวยหาญพิทักษ (เหล็ง
       ศรีจันทร) ไดวางแผนยึดอํานาจการปกครอง เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ
       สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบที่จํากัดพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยใหอยู
       ในฐานะประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญเมื่อ พ.ศ.2454 แตไมประสบ
       ความสําเร็จเพราะถูกจับกุมกอนลงมือปฏิบัติงาน แสดงใหเห็นถึงความเสื่อมของ
       ระบอบนี้อยางเห็นไดชัด ขณะเดียวกันในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดมีการวิพากษวิจารณกัน
       อยางกวางขวางเกี่ยวกับการใชจายเงินงบประมาณที่ไมดุลกับรายรับ ทําใหมีการกลาว
       โจมตีรัฐบาลวาใชจายฟุมเฟอยเกินไป ครั้งตอมาในสมัยรัชกาลที่ 7 พระองคก็ถูกโจมตี
       วาทรงตกอยูใตอิทธิพลของอภิรัฐมนตรีสภา ซึ่งเปนสภาที่ปรึกษาที่ประกอบดวยสมาชิก
       ที่เปนพระบรมวงศานุวงศชั้นสูง และบรรดาพระราชวงศก็มีบทบาทในการบริหาร
       บานเมืองมากเกินไป ควรจะใหบุคคลอื่นที่มีความสามารถเขามีสวนรวมในการบริหาร
       บานเมืองดวย
                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




      2.การไดรับการศึกษาตามแนวความคิดตะวันตกของบรรดาชนชั้นนําใน
      สังคมไทย
           อิทธิพลจากการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหคนไทยสวนหนึ่งที่ไป
      ศึกษายังประเทศตะวันตก ไดรับอิทธิพลแนวคิดทางการเมืองสมัยใหม และนํา
      กลับมาเผยแพรในประเทศไทย ทําใหคนไทยบางสวนที่ไมไดไปศึกษาตอใน
      ตางประเทศรับอิทธิพลแนวความคิดดังกลาวดวย อิทธิพลของปฏิรูปการศึกษาได
      สงผลกระตุนใหเกิดความคิดในการเปลี่ยนแลปงการปกครองมากขึ้น นับตั้งแต
      คณะเจานายและขาราชการเสนอคํากราบบังคมทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองใน
      พ.ศ.2427 นักหนังสือพิมพอยาง เทียนวรรณ (ต.ว.ส.วัณณาโภ) ก.ศ.ร. กุหลาบ
      (ตรุษ ตฤษณานนท) ไดเรียกรองใหปกครองบานเมืองในระบบรัฐสภา เพื่อให
      ประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง และยังไดกลาววิพากษวิจารณสังคม กระทบ
      กระเทียบชนชั้นสูงที่ทําตัวฟุงเฟอ ซึ่งตัวเทียนวรรณเองก็ไดกราบบังคมทูลถวาย
      โครงรางระบบการปกครองที่เปนประชาธิปไตยแดรัชกาลที่ 5
                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




           ตอมาในรัชกาลที่ 6 กลุมกบฏ ร.ศ.130 ที่วางแผนยึดอํานาจการเปลี่ยนแปลง
      การปกครอง ก็เปนบุคคลที่ไดรับการศึกษาแบบตะวันตกแตไมเคยไปศึกษาใน
      ตางประเทศ แตคณะผูกอการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 เปนคณะ
      บุคคลที่สวนใหญผานการศึกษามาจากประเทศตะวันตกแทบทั้งสิ้น แสดงใหเห็น
      ถึงอัทธิพลของความคิดในโลกตะวันตกที่มีตอชนชั้นผูนําของไทยเปนอยางยิ่ง เมื่อง
      คนเลหานี้เห็นความสําคัญของระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข
      การเปลี่ยนแปลงกรปกครองจึงเกิดขึ้น




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



       3.ความเคลื่อนไหวของบรรดาสื่อมวลชน
       สื่อมวลชนมีบทบาทในการกระตุนใหเกิดความตื่นตัวในการปกครองแบบใหม
       และปฏิเธระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย เชน น.ส.พ.ตุลวิภาคพจน
       กิจ (พ.ศ.2443-2449) น.ส.พ.ศิริพจนภาค (พ.ศ.2451) น.ส.พ.จีนโนสยาม
       วารศัพท (พ.ศ.2446-2450) น.ส.พ.บางกอกการเมือง (พ.ศ.2464) น.ส.พ.
       สยามรีวิว (พ.ศ.2430) น.ส.พ.ไทยใหม (พ.ศ.2474) ตางก็เรียกรองใหมีการ
       ปกครองในระบบรัฐสภาที่มีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศ โดย
       ชี้ใหเห็นถึงความดีงามของระบอบประชาธิปไตยที่จะเปนแรงผลักดันใหประชาชาติ
       มีความเจริญกาวหนามากกวาที่เปนอยู ดังเชนทีปรากฎเปนตัวอยางในหลายๆ
                                                      ่
       ประเทศที่มีการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญ การะแสเรียกรองของสื่อมวลชนใน
       สมัยนั้นไดมีสวนตอการสนับสนุนใหการดําเนินของคณะผูกอการในอันที่จะ
       เปลี่ยนแปลงการปกครองบรรลุผลสําเร็จไดเหมือนกัน


                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




     4.ความขัดแยงทางความคิดเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
            รัชกาลที่ 7 ทรงเล็งเห็นความสําคัญของการมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดใน
     การปกครองประเทศและทรงเต็มพระทัยที่จะสละพระราชอํานาจมาอยูภายใต
     รัฐธรรมนูญเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม แตเมื่อพระองคทรงมีกระแสรับสั่งใหพระยาศรี
     วิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี.สตีเวนสรางรัฐธรรมนูญขึ้นมาเพื่อประกาศใช
     พระองคไดทรงนําเรื่องนี้ไปปรึกษาอภิรัฐมนตรีสภา แตอภิรัฐมนตรีสภากลับไมเห็น
     ดวย โดยอางวาประชาชนยังขาดความพรอมและเกรงจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ทั้งๆ
     ที่รัชกาลที่ 7 ทรงเห็นดวยกับการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แตเมื่ออภิรัฐมนตรีสภาคัด
     คาน พระองคจึงมีน้ําพระทัยเปนประชาธิปไตยโดยทรงฟงเสียงทัดทานจากอภิรัฐมนตรี
     สภาสวนใหญ ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงยังไมมีโอกาสไดรับการประกาศใช เปนผลใหคณะ
     ผูกอการชิงลงมือทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ไดใน
     ที่สุด

                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


        5.สถานะการคลังของประเทศและการแกปญหา
               การคลังของประเทศเริ่มประสบปญหามาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 6 เพราะการผลิต
        ขาวประสบความลมเหลว เนื่องจากเกิดภาวะน้ําทวมและฝนแลงติดตอกันใน พ.ศ.
        2460 และ พ.ศ.2462 ซึ่งกอใหเกิดผลเสียหายตอการผลิตขาวอยางรุนแรง
        ภายในประเทศก็ขาดแคลนขาวที่จะใชในการบริโภค และไมสามารถสงขาวไปขายยัง
        ตางประเทศได ทําใหรัฐขาดรายไดเปนจํานวนมาก รัฐบาลจึงตองจัดสรรเงิน
        งบประมาณชวยเหลือชาวนา ขาราชการ และผูประสบกับภาวะคาครองชีพที่สูงขึ้น มี
        ทั้งรายจายอื่นๆ เพิ่มขึ้นจนเกินงบประมาณรายได ซึ่งใน พ.ศ. 2466 งบประมาณ
        ขาดดุลถึง 18 ลานบาท นอกจากนี้รัฐบาลไดนําเอาเงินคงคลังที่เก็บสะสมไวออกมา
        ใขจายจนหมดสิ้น ในขณะที่งบประมาณรายไดต่ํา รัชกาลที่ 6 ทรงแกปญหาดวยการ
        กูเงินจากตางประเทศ เพื่อใหมีเงินเพียงพอกับงบประมาณรายจาย ทําใหเกิดเสียง
        วิพากษวิจารณวารัฐบาลใชจายเงินงบประมาณอยางไมประหยัด ในขณะที่เศรษฐกิจ
        ของประเทศกําลังคับขัน

                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




               ตอมาสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายของรัฐบาลลด
       จํานวนขาราชการในกระทรวงตางๆใหนอยลง และทรงยินยอมตัดทอน
       งบประมาณรายจายสวนพระองคใหนอยลง เมื่อ พ.ศ.2469 ทําใหรัฐบาลมีรายได
       เพิ่มขึ้นปละ 3 ลานบาท แตเนื่องจากเศรษฐกิจของโลกเริ่มตกต่ํามาเปนลําดับ
       ตั้งแต พ.ศ. 2472 ทําใหมีผลกระทบตอประเทศไทยอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง
       รัฐบาลตองตัดทอนรายจายอยางเขมงวดที่สุด รวมทั้งปลดขาราชการออกจาก
       ตําแหนงเปนอันมาก จัดการยุบมณฑลตางๆทั่วประเทศ งดจายเบี้ยเลี้ยงและเบี้ย
       กันดารของขาราชการ รวมทั้งการประกาศใหเงินตราของไทยออกจากมาตรฐาน
       ทองคํา




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




                พ.ศ. 2475 รัฐบาลไดประกาศเพิ่มภาษีราษฎรโดยเฉพาะการเก็บภาษี
           เงินเดือนจากขาราชการ แตมาตรการดังกลาวมก็ไมสามารถจะกอบกูสถานะการ
                                                                          
           คลังของประเทศไดกระเตื้องขึ้นได จากปญหาเศรษฐกิจการคลังที่รัฐบาลไม
           สามารถแกไขใหมีสภาพเปนปกติได ทําใหคณะผูกอการใชเปนขออางในการ
           โจมตีประสิทธิภาพการบริหารงานของรัฐบาล จนเปนเงื่อนไขใหคณะผูกอการ
           ดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนผลสําเร็จ




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




      การยึดอํานาจการปกครอง
      1.วิธีการดําเนินงาน
           กลุมบุคคลซึ่งเปนผูริเริ่มความคิดที่จะ
      ดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองในครั้งแรก
      หรือที่เรียกวา คณะผูกอการ นั้นมี 7 คน ที่สําคัญ
      คือ นายปรีดี พนมยงค ร.ท.แปลก ขีตตะวังคะ
      ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี เปนตน


                                                                   http://chaloke2.chaloke.com/spaw/images/0
                                                                   90511_12.jpg




                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




              คณะบุคคลทั้ง 7 คนไดเริ่มเปดประชุมอยางเปนทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5
       กุมภาพันธ 2469 ที่พักแหงหนึ่งในถนน รู เดอ ซอมเมอรารด ณ กรุงปารีส การ
       ประชุมครั้งนั้นดําเนินตอเนื่องเปนเวลา 5 วัน โดยที่ประชุมไดมีมติเปนเอกฉันทใหนาย
       ปรีดี พนมยงค เปนประธานที่ประชุม และที่ประชุมตกลงดําเนินการจัดตั้งคณะ
       ผูกอการขึ้นมา เพื่อเปนศูนยรวมในการดําเนินงานตอไป โดยที่ประชุมไดมีมติเปนเอก
       ฉันทใหนายปรีดี พนมยงค เปนหัวหนาคณะผูกอการ จนกวาจะมีบุคคลที่เหมาะสม
       เปนหัวหนาคณะผูกอการตอไป ที่ประชุมไดตกลงในหลักการที่จะทําการเปลี่ยนแปลง
       การปกครองประเทศไทย จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการ
       ปกครองที่มีพระมหากษัตริยใหอยูภายใตกฎหมายหรือที่เรียกกันวา ระบอบ
       ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




        คณะผูกอการไดกําหนดหลักการในการปกครองประเทศไว 6 ประการ
                 1) รักษาความเปนเอกราชของชาติในทุกๆดาน เชน เอกราชทางการเมือง
        ทางเศรษฐกิจ ทางการศาล ฯลฯ ใหมีความมั่นคง
                 2) รักษาความปลอดภัยในประเทศ ใหมีการประทุษรายตอกันลดนอยลง
                 3) บํารุงความสุขของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะหางานให
        ราษฎรทําทุกคน โดยจะวางโครงการเศรษฐกิจแหงชาติและไมปลอยใหราษฎรอด
        อยาก
                 4) ใหราษฎรมีสิทธิเสมอภาคทัดเทียมกัน
                 5) ใหราษฎรมีเสรีภาพที่ไมขัดตอหลัก 4 ประการขางตน
                 6) ใหการศึกษาแกราษฎรทุกคนอยางเต็มที่




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             ภายหลังจากเสร็จการประชุมในครั้งนั้นแลว นายปรีดี พนมยงค ซึ่งขณะนั้น
       สําเร็จการศึกษาไดรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางกฎหมายแลว ไดเดินทางกลับสู
       ประเทศไทย ทางสมาชิกที่อยุในกรุงปารีสจึงไดเลือกเฟนผูที่สมควรเขารวมเปน
                                 
       สมาชิกตอไป และไดสมาชิกเพิ่มในคณะผูกอการอีก 8 คน ที่สําคัญ คือ พ.อ.พระยา
       ทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) ร.อ.สินธุ กมลนาวิน เปนตน




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




           ภายหลังเมื่อบรรดาสมาชิกของคณะผูกอการที่กรุงปารีสกลับคืนสูประเทศไทย
      แลว ก็ไดมีการชักชวนบุคคลที่มีความเห็นรวมกันเขารวมเปนสมาชิกคณะผูกอการอีก
      เปนจํานวนมาก จนกระทั่งปลายป พ.ศ.2474 จึงได พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
      เปนหัวหนาคณะผูกอการ ดังนั้นสมาชิกคณะผูกอการฝายทหารที่สําคัญ ไดแก พ.อ.
      พระยาทรงสุรเดช พ.อ.หลวงพิบูลสงคราม น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย ฯลฯ สําหรับ
                                                             
      สมาชิกคณะผูกอการหัวหนาฝายพลเรือนที่สําคัญคือ นายปรีดี พนมยงค นายทวี
      บุญยเกตุ นายควง อภัยวงค เปนตน




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




           คณะผูกอการไดวางแผนเปลี่ยนแปลงการปกครองดําเนินไปอยางละมุนละมอม
      และหลีกเลี่ยงการเสียเลือดเนื้อใหมากที่สุด โดยมีแผนจับกุมผูสําเร็จราชการรักษา
      พระนคร คือ สมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตเอาไวกอน ในขณะที่
      พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวประทับอยูที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน
      นอกจากนี้ยังมีแผนการจับกุมพระบรมวงศานุวงศองคอื่นๆ รวมทั้งเสนาบดี ปลัดทูล
      ฉลองกระทรวงตางๆ และผูบังคับบัญชาทหารที่สําคัญๆ อีกหลายคนดวยกัน เพื่อเปน
      ขอตอรองใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญใหแก
      ปวงชนชาวไทย




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




    2.ขั้นตอนการยึดอํานาจ
          คณะผูกอการไดเริ่มลงมือปฏิบัติงานในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 โดยมี พ.อ.
    พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหนาคณะผูกอการ เปนผูนําในการเปลี่ยนแปลงการ
    ปกครอง โดยการนําคณะนายทหารพรอมดวยกําลังหนวยทหารที่เตรียมการเอาไว เขา
    ยึดพระที่นั่งอนันตสมาคมเปนฐานบัญชาการ และไดสงกําลังทหารเขายึดวังบางขุน
    พรหม พรอมทั้งไดทูลเชิญสมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตเสด็จมาประทับ
    ยังพระที่นั่งอนันตสมาคมเปนผลสําเร็จ จากการที่คณะผูกอการไดพยายามดําเนินการ
    อยางละมุนละมอมดังกลาว ทําใหสถานการณตางๆ คลี่คลายไปในทางที่ดีซึ่งมีผลตอ
    ชาติบานเมืองโดยสวนรวม




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             สําหรับทางฝายพลเรือนนั้น สมาชิกคณะผูกอการกลุมหนึ่งภายใตการนํา
          ของหลวงโกวิทอภัยวงศ (นายควง อภัยวงศ) ไดออกตระเวนตัดสายโทรศัพท
          และโทรเลขทั้งในพระนครและธนบุรี เพื่อปองกันมิใหสมเด็จเจาฟากรมพระ
          นครสวรรควรพินิตและผูบังคับบัญชาหนวยทหารในกรุงเทพฯ ขณะนั้น
          โทรศัพทและโทรเลขติดตอกับพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ซึ่ง
          ประทับอยูที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน สวนนายปรีดี พนมยงค ไดจัดทํา
          ใบปลิว คําแถลงการณของคณะผูกอการออกแจกจายประชาชน




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




               คณะผูกอการสามารถยึดอํานาจและจับกุมบุคคลสําคัญฝายรัฐบาลไวไดโดย
          เรียบรอย และไดรวมกันจัดตั้ง คณะราษฎร ขึ้นมาเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบ
          รวมทั้งออกประกาศแถลงการณของคณะราษฎร เพื่อชี้แจงที่ตองเขายึดอํานาจ
          การปกครองใหประชาชนเขาใจ นอกจากนี้คณะราษฎรไดแตงตั้งผูรักษาการพระ
          นครฝายทหารขึ้น 3 นาย ไดแก พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา พ.อ.พระยาทรง
          สุรเดช พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย โดยใหทําหนาที่เปนผูบริหารราชการแผนดิน
                                 ์
          ขณะที่ยังไมมีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการบริหารประเทศ




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




      หลังจากนั้น คณะราษฎรไดมีหนังสือกราบบังคับทูลอันเชิญพระบาทสมเด็จ
      พระปกเกลาเจาอยูหัวเสด็จกลับคืนสูพระนคร เพื่อดํารงฐานะเปนพระมหากษัตริย
      ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรตอไป ดวยความที่พระองคทรงมีน้ําพระทัยที่
      เปนประชาธิปไตย และทรงพรอมที่จะเสียสละเพื่อประชาชนและประเทศชาติ
      พระองคทรงตอบรับคํากราบบังคับทูลอัญเชิญของคณะราษฎร โดยพระองคทรง
      ยินยอมที่จะสละพระราชอํานาจของพระองคดวยการพระราชทานรัฐธรรมนูญตามที่
      คณะราษฎรไดมีเปาหมายเอาไวในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และไดเสด็จพระ
      ราชดําเนินกลับคืนสูพระนครเพื่อพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทย




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


       การประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม
             การที่คณะราษฎรภายใตการนําของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดทําการ
       เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครอง
       ที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เปน
       ผลสําเร็จ โดยมิตองสูญเสียเลือดเนื้อแตประการใดนั้น เปนเพราะพระมหากรุณาธิคุณ
       ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวที่รงยอมรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดย
       มิไดทรงตอตานเพื่อคิดตอบโตคณะราษฎรดวยการใชกําลังทหารที่มีอยูแตประการใด
       และทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยตามที่คณะราษฎรไดเตรียมราง
       เอาไว เพื่อนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย นอกจากนี้พระองคก็ทรงมี
       พระราชประสงคมาแตเดิมแลววาจะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปนกฎหมายสูงสุดใน
       การปกครองประเทศแกประชาชนอยูแลว จึงเปนการสอดคลองกับแผนการของ
       คณะราษฎร ประกอบกับพระองคทรงเห็นแกความสงบเรียบรอยของบานเมืองและ
       ความสุขของประชาชนเปนสําคัญ ยิ่งกวาการดํารงไวซึ่งพระราชอํานาจของพระองค

                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



                รัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรไดนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อทรงลงพระ
           ปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม
           ชั่วคราว พ.ศ.2475 และ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475




                                                    http://library.stou.ac.th/king7/image/p7-1_1.jpg




                                                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




          1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ.
          2475
                ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาอยูเจา เสด็จพระราชดําเนินจาก
          พระราชวังไกลกังวล หัวหิน กลับคืนสูพระนครแลว คณะราษฎรไดนํา
          พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว ซึ่งนายปรีดี พนมยงค
          และคณะราษฎรบางคนไดรางเตรียมไวขึ้นทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทรงพระปรมาภิไธย
          พระองคไดพระราชทานกลับคืนมาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475 และไดมีพิธีเปด
          สภาผูแทนราษฎรครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ซึ่ง
          รัฐธรรมนูญนี้มีชื่อเรียกวา พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม
          ชั่วคราว



                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




               รัฐธรรมนูญชั่วคราวนี้กําหนดวา อํานาจสูงสุดในแผนดินประกอบดวย
          อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ ซึ่งแตเดิมเปนของ
          พระมหากษัตริย จึงไดเปลี่ยนเปนของปวงชนชาวไทยตามหลักการของระบอบ
          ประชาธิปไตยเกี่ยวกับการไดมาของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรนั้น ไดกําหนด
          แบงระยะเวลาออกเปน 3 สมัยคือ




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


                   1) สมัยที่ 1 นับแตวันใชรัฐธรรมนูญนี้เปนตนไป จนกวาจะถึงเวลาที่
        สมาชิกในสมัยที่ 2 จะเขารับตําแหนง ใหคณะราษฎรซึ่งมีผูรักษาพระนครฝายทหาร
        เปนผูใชอํานาจแทน และจัดตั้งผูแทนราษฎรชั่วคราวขึ้นเปนจํานวน 70 นาย เปน
        สมาชิกในสภา
                   2) สมัยที่ 2 ภายในเวลา 6 เดือน หรือจนกวาจะจัดประเทศเปนปกติ
        เรียบรอย สมาชิกในสภาจะตองมีบุคคล 2 ประเภท ทํากิจกรรมรวมกัน คือ ประเภท
        ที่หนึ่ง ไดแกผูแทนราษฎรซึ่งราษฎรไดเลือกขึ้นมาจังหวัดละ 1 นาย ตอราษฎร
        จํานวน 100,000 คน ประเภทที่สอง ผูเปนสมาชิกอยูในสมัยที่หนึ่งมีจํานวนเทากับ
        สมาชิกประเภทที่หนึ่ง ถาจํานวนเกินใหเลือกกันเองวาผูใดจะยังเปนสมาชิกตอไป ถา
        จํานวนขาดใหผูที่มีตัวอยูเลือกบุคคลใดๆเขาแทนจนครบ




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


                  3) สมัยที่ 3 เมื่อจํานวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรไดสอบไลวิชาประถมศึกษา
        ไดเปนจํานวน กวาครึ่ง และอยางชาตองไมเกิน 10 ป นับตั้งแตวันใชรัฐธรรมนูญนี้
        สมาชิกในสภาผูแทนราษฎรจะเปนผูที่ราษฎรไดเลือกตั้งขึ้นเองทั้งสิ้น สวนสมาชิก
        ประเภทที่สองเปนอันสิ้นสุดลง ผูแทนราษฎรชั่วคราวจํานวน 70 นาย ซึ่งผูรักษาการ
        พระนครฝายทหารจะเปนผูจัดตั้งขึ้นในระยะแรกนั้น ประกอบดวยสมาชิกคณะราษฎร
        ขาราชการชั้นผูใหญ ผูประกอบอาชีพสาขาตางๆ ซึ่งมีความปรารถนาจะชวยบานเมือง
        และกลุมกบฏ ร.ศ.130 บางคน ซึ่งสมาชิกทั้ง 70 คน ภายหลังจากการไดรับการ
        แตงตั้งแลว 6 เดือน ก็จะมีฐานะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประเภทที่ 2 ตามที่ระบุ
        ไวในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




             ทางดานอํานาจบริหารนั้นในรัฐธรรมนูญไดบัญญัติไวซึ่งตําแหนงบริหารที่
        สําคัญเอาไวคือ ประธานคณะกรรมการราษฎร (เทียบเทานายกรัฐมนตรี) ซึ่ง
        จะตองเปนบุคคลที่สามารถประสานความเขาใจระหวางคณะราษฎรกับ
        พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเปนอยางดี และเพื่อความราบรื่นในการ
        บริหารประเทศตอไป คณะราษฎรจึงตกลงเห็นชอบที่จะให พระยามโนปกรณนิติ
        ธาดา (กอน หุตะสิงห) เปนประธานคณะกรรมการราษฎร
             คณะกรรมการราษฎร (คณะรัฐมนตรี) ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติ
        ธาดา ซึ่งเปนคณะรัฐมนตรีชุดแรกที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการ
        ปกครองสยามชั่วคราว พ.ศ.2475 มีจํานวนทั้งสิ้น 15 นาย เปนผูบริหาร
        ราชการแผนดิน



                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




        2. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475
             ภายหลังที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงลงพระปรมาภิไธย
        ในรัฐธรรมนูญปกครองแผนดินสยามชั่วคราวแลวสภาผูแทนราษฎรไดแตงตั้ง
        อนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเพื่อใชเปนหลักในการ
        ปกครองประเทศสืบไป ในที่สุดสภาผูแทนราษฎรไดพิจารณาแกไขราง
        รัฐธรรมนูญครั้งสุดทายในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2475 และสภาผูแทนราษฎร
        ไดลงมติรับรองใหใชเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2475 โดยพระบาทสมเด็จ
        พระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแหง
        ราชอาณาจักรสยามเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 หลังจากนั้นไดทรงมีพระบรม
        ราชโองการโปรดเกลาฯแตงตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดา เปนนายกรัฐมนตรี
        ตอไป


                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475



        รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม 2475 มีสาระสําคัญพอสรุปไดดังนี้
             1.อํานาจนิติบัญญัติ กําหนดใหมีสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกซึ่ง
        ราษฎรเปนผูเลือกตั้ง แตมีบทเฉพาะกาลกําหนดไววา ถาราษฎรผูมีสิทธิออกเสียง
        เลือกตั้งสมาชิกผูแทนราษฎรตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ยังมีการศึกษาไมจบ
        ชั้นประถมศึกษามากกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนทั้งหมด และอยางชาตองไมเกิน 10 ป
        นับแตวันใชพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ.2475
             สภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิก 2 ประเภท มีจํานวนเทากันคือ สมาชิก
        ประเภทที่ 1 ไดแกผูที่ราษฎรเลือกตั้งสขึ้นมาตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้ง
        สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สวนสมาชิกประเภทที่ 2 ไดแก ผูที่พระมหากษัตริยทรง
        แตงตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกผูแทนราษฎร ในระหวางที่ใช
        บทบัญญัติเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม



                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475




        2.อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้นคณะหนึ่ง
        ประกอบดวยนายกรัฐมนตรี 1 นาย และรัฐมนตรีอีกอยางนอย 14 นาย อยางมาก
        24 นาย และในการแตงตั้งนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนาม
        รับสนองพระบรมราชโองการ กลาวโดยสรุปในภาพรวมของรัฐธรรมนูญทั้ง 2
        ฉบับ ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางการเมืองการปกครองและ
        สังคมไทยดังนี้คือ




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกพัน พัน
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาsupppad
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 

Destacado

การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535somdet mahasamithi
 
ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475democratia_up
 
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475Thongkum Virut
 
การปฏิวัติ 2475
การปฏิวัติ 2475การปฏิวัติ 2475
การปฏิวัติ 2475Alonso Lampard
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยsalintip pakdeekit
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองkoorimkhong
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 

Destacado (16)

การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย
 
ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475
 
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
 
การปฏิวัติ 2475
การปฏิวัติ 2475การปฏิวัติ 2475
การปฏิวัติ 2475
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
 
History of Thailand
History of ThailandHistory of Thailand
History of Thailand
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Similar a 15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองthongkum virut
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมPloynaput Kritsornluk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cake WhiteChocolate
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 

Similar a 15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475 (20)

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 

Más de JulPcc CR

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 

Más de JulPcc CR (20)

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 

15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475

  • 1. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช 2475 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ภายหลังการปฏิรูปการปกครองและการปฏิรูปการศึกษาในรัชกาลที่ 5 พระองค ไดมีกระแสความคิดที่จะใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมาย สูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเปนสถาบันหลักที่จะใหประชาชนมีสวน รวมในการปกครองมากขึ้นเปนลําดับ จนกระทั่งไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ ร.ศ.130 ซึ่งมีความคิดที่ปฏิบัติการใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว แตไมทันลงมือ กระทําการก็ถูกจับไดเสียกอนเมื่อ พ.ศ.2454 ในตนรัชกาลที่ 6 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยางไรก็ตาม เสียงเรียกรองใหมีการเปลี่ยนแปลง การปกครองก็ยังคงมีออกมาเปนระยะๆ ทางหนา หนังสือพิมพ แตยังไมผลตอการเปลี่ยนแปลงใดๆ มาก นัก นอกจากการปรับตัวของรัฐบาลทางดานการเมือง การปกครองใหทันสมัยยิ่งขึ้นกวาเดิมเทานั้น แตก็ยัง ไมไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด ในการปกครองประเทศแตประการใด จนกระทั่งใน สมัยรัชกาลที่ 7 ไดมีคณะผูกอการภายใตการนําของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ซึ่งไดกอการ เปลี่ยนแปลงการปกครองเปนผลสําเร็จใน พ.ศ. 2475 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 จึงเปนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สําคัญ http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/ 666/3666/images/pa1.jpg ของประวัติศาสตรชาติไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สภาพการณโดยทั่วไปของบานเมืองกอนเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 1.สภาพการณทางสังคม สังคมไทยกําลังอยูในชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงเขาสูความทันสมัยตามแบบ ตะวันตกในทุกๆ ดาน อันเปนผลสืบเนื่องมาจากการปฏิรูปแผนดินเขาสูความ ทันสมัยในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453) ความจริงแลวสังคมไทยเริ่มปรับตัวให เขากับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ภายหลังไดทําสนธิสัญญา บาวริงกับอังกฤษใน พ.ศ.2398 และกับประเทศอื่นๆในภาคพื้นยุโรปอีกหลาย ประเทศ และทรงเปดรับรับประเพณีและวัฒนธรรมของตะวันตก เชน การจาง ชาวตะวันตกใหเปนครูสอนภาษาอังกฤษแกพระราชโอรสและพระราชธิดาใน พระบรมมหาราชวัง การใหขาราชการสวมเสื้อเขาเฝา การอนุญาตใหชาวตางประเทศ เขาเฝาพรอมกับขุนนางขาราชการไทยในงานพระบรมราชาภิเษก เปนตน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดทรงดําเนินพระบรมราโชบายปลดปลอยไพรใหเปนอิสระ และทรงประกาศเลิกทาสใหเปนไทแกตนเอง พรอมกันนั้นยังทรงปฏิรูปการศึกษา ตามแบบตะวันตก เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการศึกษาถึงขั้นอานออกเขียนไดและ คิดเลขเปน ไมวาจะเปนเจานาย บุตรหลานขุนนาง หรือราษฎรสามัญชนที่พนจาก ความเปนไพรหรือทาส ถาบุคคลใดมีสติปญญาเฉลียวฉลาดก็จะมีโอกาสเดินทางไป ศึกษาตอยังประเทศตะวันตกโดยพระบรมราชานุเคราะหจากผลการปฏิรูปการศึกษา ทําใหคนไทยบางกลุมที่ไดรับการศึกษาตามแบบตะวันตก เริ่มรับ เริ่มรับเอากระแส ความคิดเกี่ยวกับการเมืองสมัยใหม ที่ยึดถือรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการ ปกครองประเทศมาจากตะวันตก และมีความปรารถนาที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลง การปกครองเกิดขึ้นในประเทศไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ดังจะเห็นไดจากคํากราบบังคมทูลถวายถึง ความคิดเห็นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของ คณะเจานายและขาราชการใน พ.ศ.2427 (ร.ศ.103) หรือการเรียกรองใหมีการปกครองใน ระบบรัฐสภาของ เทียนวรรณ (ต.ว.ส. วัณณาโภ) ในหนาหนังสือพิมพในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนตน และกระแสความคิดนี้ก็ดําเนินสืบเนื่องมาโดย ตลอดในหมูผูนําสมัยใหมที่ไดรับการศึกษาจาก ประเทศตะวันตก และจากผูที่ไดรับการศึกษาตาม แบบตะวันตก http://www.uppicweb.com/x/i/io/spd_20050321 211400_b.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยางไรก็ตามกลุมผูนําสมัยใหมบางสวนที่ไดรับผลประโยชนจากระบบราชการ สมัยใหมที่ตนเองเขาไปมีหนาที่รับผิดชอบอยู ก็ถูกระบบราชการดูดกลืนจนปฏิเสธ ที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองสมัยใหมในระยะเวลาอันใกล เพราะมี ความเห็นวาประชาชนชาวไทยยังขาดความพรอมที่จะรับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปประเทศเขาสูความทันสมัย สังคมไทยก็เริ่มกาวเขาสู ความมีเสรีในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น โดยเริ่มเปดโอกาสสื่อมวลชนเสนอ ความคิดเห็นตอสาธารณชนไดคอนขางเสรี ดังนั้นจึงปรากฏวาสื่อมวลชนตางๆ เชน น.ส.พ.สยามประเภท, ตุลวิภาคพจนกิจ, ศิริพจนภาค, จีนโนสยามวารศัพท ซึ่ง ตีพิมพจําหนายในรัชกาลที่ 5 น.ส.พ. บางกอกการเมือง ซึ่งพิมพจําหนายในสมัย รัชกาลที่ 6 และ น.ส.พ.สยามรีวิว ซึ่งพิมพจําหนายในสมัยรัชกาลที่ 7 ไดเรียกรอง และชี้นําใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสูระบบรัฐสภา โดยมี รัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศอยางตอเนื่อง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยางไรก็ตาม เนื่องจากการปลดปลอยไพรและทาสใหเปนอิสระในสมัย รัชกาลที่ 5 ไดผานพนไปไดเพียง 20 ปเศษ ดังนั้นสภาพสังคมสวนใหญในสมัย รัชกาลที่ 7 กอนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงยังตกอยูภายใต อิทธิพลของวัฒนธรรมในระบบเจาขุนมูลนาย นอกจากนี้คนสวนนอยยังคงมี ฐานะ สิทธิ ผลประโยชนตางๆ เหนือคนไทยสวนใหญ คนสวนใหญมักมี ความเห็นคลอยตามความคิดที่สวนนอยซึ่งเปนชนชั้นนําของสังคมไทยชีนํา ถาจะ ้ มีความขัดแยงในสังคมก็มักจะเปนความขัดแยงในทางความคิด และความ ขัดแยงในเชิงผลประโยชนในหมูชนชั้นนําของสังคมที่ไดรับการศึกษาจาก ประเทศตะวันตก มากกวาจะเปนความขัดแยงระหวางชนชั้นผูนําของสังคมไทย กับราษฎรทั่วไป พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2.สภาพการณทางเศรษฐกิจ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไดเริ่มมีการสงขาวออกไปขายยังตางประเทศมากขึ้น เพราะ ระบบการคาที่เปลี่ยนแปลงไปและความตองการของตลาดโลก ชาวนาจึงหันมาปลูก ขาวเพื่อสงออกมาขึ้น ทําใหมีการปลูกพืชอื่นๆ นอยลง ผลผลิตที่เปนอุตสาหกรรมใน ครัวเรือนก็ลดลงดวยบางที่ก็เลิกผลิตไปเลย เพราะแรงงานสวนใหญจะนําไปใชในการ ผลิตขาวแทน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 5 พระองคทรงเห็นวาถึงแมรายไดของแผนดินจะเพิ่มพูนมากขึ้น อันเปนผลมาจากระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนไป แตการที่ระบบการคลังของแผนดินยังไม รัดกุมพอ ทําใหเกิดการรั่วไหลไดงาย จังทรงจัดการปฏิรูปการคลังโดยจัดตั้งหอ รัษฎากรพิพัฒนขึ้น เพื่อการปรับปรุงและการจัดระบบภาษีใหทันสมัยใน พ.ศ.2416 มีการประกาศใชพระราชบัญญัติงบประมาณ พ.ศ.2434 เริ่มโครงการปฏิรูปเงินตรา ใหม พ.ศ.2442 จัดการสงเสริมการเกษตรและการผลิตเพื่อการสงออกใหมากขึ้น ปรับปรุงการคมนาคมใหทันสมัยโดยการสรางทางรถไฟ ตัดถนนสายตางๆ ขุดคลอง เพื่อใหเกิดความสะดวกในการคมนาคม การขนสงสินคาและผลผลิต ซึ่งผลการ ปฏิรูปเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหรายไดของประเทศเพิ่มมากขึ้น 15 ลานบาท ใน พ.ศ.2435 เปน 46 ลานบาทใน พ.ศ.2447 โดยไมไดเพิ่มอัตราภาษีและชนิด ของภาษีขึ้นอยางใด ทําใหเงินกองคลังของประเทศ ซึ่งเคยมีอยูประมาณ 7,500,000 บาท ใน พ.ศ.2437 เพิ่มเปน 32,000,000 บาทใน พ.ศ.2444 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2453-2468) ไดมีการสงเสริมธุรกิจดานอุตสาหกรรม ปูนซีเมนต กิจการไฟฟา มีการจัดตั้งบริษัทพาณิชยนาวีสยาม สงเสริมดานชลประทาน และการบํารุงพันธุขาว จัดตั้งธนาคารออมสิน สรางทางรถไฟเพิ่มเติมจากเดิม ทั้งนี้ เพื่อหวังผลทางเศรษฐกิจที่เจริญกาวหนายิ่งขึ้น แตเนื่องจากไดอุทกภัยใน พ.ศ.2460 และเกิดฝนแลงใน พ.ศ. 2462 ทําใหการผลิตขาวอันเปนที่มาของรายไดหลักของ ประเทศประสบความเสียหายอยางหนัก สงผลกระทบตอภาวะการคลังของประเทศ อยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ทําใหงบประมาณรายจายสูงกวารายรับมาโดยตลอดระหวาง พ.ศ.2465-2468 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 13. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468-2475) พระองคไดทรงแกปญหาเศรษฐกิจ อยางเต็มพระสติกําลังความสามารถ โดยทรงเสียสละดวยการตัดทอนรายจายใน ราชสํานัก เพื่อเปนตัวอยางแกหนวยราชการตางๆ โดยโปรดใหลดเงินงบประมาณ รายจายสวนพระองค จากเดิมปละ 9 ลานบาท เหลือปละ 6 ลานป พ.ศ.2469 และมีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีศุลกากรใหมหลายอยาง ทําใหงบประมาณรายรับ รายจายเกิดความสมดุล พ.ศ.2472-2474 เศรษฐกิจโลกเริ่มตกต่ําอันเปนผล เนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงสงผลกระทบตอประเทศโดยตรง ทําให งบประมาณรายจายสูงกวารายรับเปนจํานวนมาก พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 14. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัชกาลที่ 7 ไดทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายอยางเขมงวดที่สุด รวมทั้ง ปลดขาราชการออกจากตําแหนงเปนจํานวนมากเพื่อการประหยัด ตลอดจน จัดการยุบมณฑลตางๆทั่วประเทศ งดจายเบี้ยเลี้ยงและเบี้ยกันดารแกขาราชการ ประกาศใหเงินตราของไทยออกจากมาตรฐานทองคํา และกําหนดคาเงินตราตาม เงินปอนดสเตอรลิง รวมทั้งการประกาศเพิ่มภาษีราษฎรโดยเฉพาะขาราชการซึ่ง จะตองเสียภาษีที่เรียกวา ภาษเงินเดือน แตถึงแมวาจะทรงดําเนินนโยบายแกไข ปญหาเศรษฐกิจดวยการประหยัดและตัดทอนรายจายตางๆ รวมทั้งการเพิ่มภาษี บางอยางแลว แตสถานการณทางเศรษฐกิจก็ยังไมไดเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 15. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 3.สภาพการณทางการเมือง สภาพการณทางการเมืองและการปกครองของไทยกําลังอยูในระยะปรับตัวเขาสู แบบแผนการปกครองของตะวันตก เห็นไดจากพระบรมราโชบายของพระมหากษัตริย ไทยทุกพระองค ภายหลังที่ไทยไดมีการติดตอกับประเทศตะวันตกอยางกวางขวาง นับตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4-7สมัยรัชกาลที่ 4 ยังไมไดทรงดําเนินนโยบายปรับปรุงการ ปกครองใหเปนแบบตะวันตก แตก็ทรงมีแนวพระราชดําริโนมเอียงไปในทางเสรีนิยม เชน ประกาศใหเจานายและขาราชการเลือกตั้งตําแหนงมหาราชครูปุโรหิตและ ตําแหนงพระมหาราชครูมหิธร อันเปนตําแหนงตุลาการที่วางลง แทนที่จะทรงแตงตั้ง ผูพิพากษาตามพระราชอํานาจของพระองค และเปลี่ยนแปลงวิธีถวายน้ําพิพัฒนสัตยา ดวยการที่พระองคทรงเสวยน้ําพิพัฒนสัตยารวมกับขุนนางขาราชการและทรงปฏิญาณ ความซื่อสัตยของพระองคตอขุนนางขาราชการทั้งปวงดวย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 16. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการเมืองการปกครองครั้งใหญ เพื่อใหการปกครอง ของไทยไดเจริญกาวหนาทัดเทียมกับชาติตะวันตก โดยจัดตั้ง สภาที่ปรึกษาราชการ แผนดิน (Council of State) และสภาที่ปรึกษาสวนพระองค (Privy Council) ใน พ.ศ.2417 เพื่อถวายคําปรึกษาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินและในเรื่อง ตางๆ ที่พระองคของคําปรึกษาไป นอกจากนี้พระองคยังทรงปฏิรูปการปกครองที่ สําคัญคือ การจัดตั้งกระทรวงแบบใหมจํานวน 12 กระทรวงขึ้นแทนจตุสดมภใน สวนกลางและจัดระบบการปกครองหัวเมืองตางๆในรูปมณฑลเทศาภิบาลในภูมภาค ิ โดยเริ่มตั้งแต พ.ศ.2435 เปนตนมา นอกจากนี้พระองคทรงริเริ่มทดลองการจัดการ ปกครองทองถิ่นในรูป สุขาภิบาล จัดตั้ง รัฐมนตรีสภา เพื่อทําหนาที่ตามกฎหมาย ใน พ.ศ.2437 ตามแบบอยางตะวันตก พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 17. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงริเริ่มทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยการ จัดตั้ง ดุสิตธานี เมืองประชาธิปไตยขึ้นในบริเวณพระราชวังดุสิต พ.ศ.2461 เพื่อ ทดลองฝกฝนใหบรรดาขาราชการไดทดลองปกครองตนเองในนครดุสิตธานี เหมือนกับการจดรูปแบบการปกครองทองถิ่นที่เรียกวา เทศบาล” นอกจากนี้ยังทรงจัดตั้งกระทรวงขึ้นมาใหมจากที่มีอยูเดิม และยุบเลิก กระทรวงบางกระทรวงเพื่อใหมีความทันสมัยมากขึ้น โดยทรงจัดตั้งมณฑลเพิ่มขึ้น และทรงปรับปรุงการบริหารงานของมณฑลดวยการยุบรวมมณฑลเปนหนวย ราชการที่เกี่ยวกับการปกครองเรียกวา มณฑลภาค เพื่อใหการปกครองแบบมณฑล เทศาภิบาลมีความคลองตัวมากขึ้น พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 18. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2468-2475) ทรงเล็งเห็นความจําเปนที่จะตอง เปลี่ยนแปลงการปกครองใหทันสมัย และตองเตรียมการใหพรอมเพิ่มมิใหเกิด ความผิพลาดได โดยพระองคไดทรงจัดตั้งอภิรัฐมนตรีสภา เพื่อเปนที่ปรึกษา ราชการแผนดิน พ.ศ.2468 และทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีสภาวางระเบียบ สําหรับจัดตั้งสภากรรมการองคนตรี เพื่อเปนสภาที่ปรึกษาสวนพระองคอีกดวย นอกจากนี้ทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีวางรูปแบบการปกครองทองถิ่นใน รูปเทศบาล ดวยการแกไขปรับปรุงสุขาภิบาลที่มีอยูใหเปนเทศบาล แตไมมี โอกาสไดประกาศใช เพราะไดเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นกอน นอกจากนี้ยังทรงโปรดเกลาฯ ใหพระยาศรีวิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี. สตีเวนส ซึ่งเปนที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศชวยกันรางรัฐธรรมนูญ ตาม กระแสพระราชดําริใน พ.ศ.2474 มีสาระสําคัญดังนี้ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 19. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อํานาจนิติบัญญัติจะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทางออม โดยมี สมาชิก 2 ประเภท คือ มาจากการเลือกตั้งและการแตงตั้ง สวนผูที่มีสิทธิ์สมัคร เลือกตั้งจะตองมีอายุไมต่ํากวา 30 ป มีพื้นฐานความรูอานออกเขียนได สวน อํานาจบริหารใหพระมหากษัตริยทรงเลือกนายกรัฐมนตรี แตเนื่องจาก อภิรัฐมนตรีมีความเห็นประชาชนยังไมพรอม ดังนั้นการประกาศใชรัฐธรรมนูญ ควรระงับไวชั่วคราว จนกระทั่งไดเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียกอนจึง มิไดมีการประกาศใชแตอยางใด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 20. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 1.ความเสื่อมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย การที่คณะนายทหารหนุมภายใตการนําของ ร.อ.ขุนทวยหาญพิทักษ (เหล็ง ศรีจันทร) ไดวางแผนยึดอํานาจการปกครอง เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบที่จํากัดพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยใหอยู ในฐานะประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญเมื่อ พ.ศ.2454 แตไมประสบ ความสําเร็จเพราะถูกจับกุมกอนลงมือปฏิบัติงาน แสดงใหเห็นถึงความเสื่อมของ ระบอบนี้อยางเห็นไดชัด ขณะเดียวกันในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดมีการวิพากษวิจารณกัน อยางกวางขวางเกี่ยวกับการใชจายเงินงบประมาณที่ไมดุลกับรายรับ ทําใหมีการกลาว โจมตีรัฐบาลวาใชจายฟุมเฟอยเกินไป ครั้งตอมาในสมัยรัชกาลที่ 7 พระองคก็ถูกโจมตี วาทรงตกอยูใตอิทธิพลของอภิรัฐมนตรีสภา ซึ่งเปนสภาที่ปรึกษาที่ประกอบดวยสมาชิก ที่เปนพระบรมวงศานุวงศชั้นสูง และบรรดาพระราชวงศก็มีบทบาทในการบริหาร บานเมืองมากเกินไป ควรจะใหบุคคลอื่นที่มีความสามารถเขามีสวนรวมในการบริหาร บานเมืองดวย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 21. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2.การไดรับการศึกษาตามแนวความคิดตะวันตกของบรรดาชนชั้นนําใน สังคมไทย อิทธิพลจากการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหคนไทยสวนหนึ่งที่ไป ศึกษายังประเทศตะวันตก ไดรับอิทธิพลแนวคิดทางการเมืองสมัยใหม และนํา กลับมาเผยแพรในประเทศไทย ทําใหคนไทยบางสวนที่ไมไดไปศึกษาตอใน ตางประเทศรับอิทธิพลแนวความคิดดังกลาวดวย อิทธิพลของปฏิรูปการศึกษาได สงผลกระตุนใหเกิดความคิดในการเปลี่ยนแลปงการปกครองมากขึ้น นับตั้งแต คณะเจานายและขาราชการเสนอคํากราบบังคมทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2427 นักหนังสือพิมพอยาง เทียนวรรณ (ต.ว.ส.วัณณาโภ) ก.ศ.ร. กุหลาบ (ตรุษ ตฤษณานนท) ไดเรียกรองใหปกครองบานเมืองในระบบรัฐสภา เพื่อให ประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง และยังไดกลาววิพากษวิจารณสังคม กระทบ กระเทียบชนชั้นสูงที่ทําตัวฟุงเฟอ ซึ่งตัวเทียนวรรณเองก็ไดกราบบังคมทูลถวาย โครงรางระบบการปกครองที่เปนประชาธิปไตยแดรัชกาลที่ 5 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 22. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ตอมาในรัชกาลที่ 6 กลุมกบฏ ร.ศ.130 ที่วางแผนยึดอํานาจการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ก็เปนบุคคลที่ไดรับการศึกษาแบบตะวันตกแตไมเคยไปศึกษาใน ตางประเทศ แตคณะผูกอการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 เปนคณะ บุคคลที่สวนใหญผานการศึกษามาจากประเทศตะวันตกแทบทั้งสิ้น แสดงใหเห็น ถึงอัทธิพลของความคิดในโลกตะวันตกที่มีตอชนชั้นผูนําของไทยเปนอยางยิ่ง เมื่อง คนเลหานี้เห็นความสําคัญของระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข การเปลี่ยนแปลงกรปกครองจึงเกิดขึ้น พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 23. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 3.ความเคลื่อนไหวของบรรดาสื่อมวลชน สื่อมวลชนมีบทบาทในการกระตุนใหเกิดความตื่นตัวในการปกครองแบบใหม และปฏิเธระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย เชน น.ส.พ.ตุลวิภาคพจน กิจ (พ.ศ.2443-2449) น.ส.พ.ศิริพจนภาค (พ.ศ.2451) น.ส.พ.จีนโนสยาม วารศัพท (พ.ศ.2446-2450) น.ส.พ.บางกอกการเมือง (พ.ศ.2464) น.ส.พ. สยามรีวิว (พ.ศ.2430) น.ส.พ.ไทยใหม (พ.ศ.2474) ตางก็เรียกรองใหมีการ ปกครองในระบบรัฐสภาที่มีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศ โดย ชี้ใหเห็นถึงความดีงามของระบอบประชาธิปไตยที่จะเปนแรงผลักดันใหประชาชาติ มีความเจริญกาวหนามากกวาที่เปนอยู ดังเชนทีปรากฎเปนตัวอยางในหลายๆ ่ ประเทศที่มีการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญ การะแสเรียกรองของสื่อมวลชนใน สมัยนั้นไดมีสวนตอการสนับสนุนใหการดําเนินของคณะผูกอการในอันที่จะ เปลี่ยนแปลงการปกครองบรรลุผลสําเร็จไดเหมือนกัน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 24. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 4.ความขัดแยงทางความคิดเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัชกาลที่ 7 ทรงเล็งเห็นความสําคัญของการมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดใน การปกครองประเทศและทรงเต็มพระทัยที่จะสละพระราชอํานาจมาอยูภายใต รัฐธรรมนูญเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม แตเมื่อพระองคทรงมีกระแสรับสั่งใหพระยาศรี วิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี.สตีเวนสรางรัฐธรรมนูญขึ้นมาเพื่อประกาศใช พระองคไดทรงนําเรื่องนี้ไปปรึกษาอภิรัฐมนตรีสภา แตอภิรัฐมนตรีสภากลับไมเห็น ดวย โดยอางวาประชาชนยังขาดความพรอมและเกรงจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ทั้งๆ ที่รัชกาลที่ 7 ทรงเห็นดวยกับการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แตเมื่ออภิรัฐมนตรีสภาคัด คาน พระองคจึงมีน้ําพระทัยเปนประชาธิปไตยโดยทรงฟงเสียงทัดทานจากอภิรัฐมนตรี สภาสวนใหญ ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงยังไมมีโอกาสไดรับการประกาศใช เปนผลใหคณะ ผูกอการชิงลงมือทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ไดใน ที่สุด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 25. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 5.สถานะการคลังของประเทศและการแกปญหา การคลังของประเทศเริ่มประสบปญหามาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 6 เพราะการผลิต ขาวประสบความลมเหลว เนื่องจากเกิดภาวะน้ําทวมและฝนแลงติดตอกันใน พ.ศ. 2460 และ พ.ศ.2462 ซึ่งกอใหเกิดผลเสียหายตอการผลิตขาวอยางรุนแรง ภายในประเทศก็ขาดแคลนขาวที่จะใชในการบริโภค และไมสามารถสงขาวไปขายยัง ตางประเทศได ทําใหรัฐขาดรายไดเปนจํานวนมาก รัฐบาลจึงตองจัดสรรเงิน งบประมาณชวยเหลือชาวนา ขาราชการ และผูประสบกับภาวะคาครองชีพที่สูงขึ้น มี ทั้งรายจายอื่นๆ เพิ่มขึ้นจนเกินงบประมาณรายได ซึ่งใน พ.ศ. 2466 งบประมาณ ขาดดุลถึง 18 ลานบาท นอกจากนี้รัฐบาลไดนําเอาเงินคงคลังที่เก็บสะสมไวออกมา ใขจายจนหมดสิ้น ในขณะที่งบประมาณรายไดต่ํา รัชกาลที่ 6 ทรงแกปญหาดวยการ กูเงินจากตางประเทศ เพื่อใหมีเงินเพียงพอกับงบประมาณรายจาย ทําใหเกิดเสียง วิพากษวิจารณวารัฐบาลใชจายเงินงบประมาณอยางไมประหยัด ในขณะที่เศรษฐกิจ ของประเทศกําลังคับขัน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 26. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ตอมาสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายของรัฐบาลลด จํานวนขาราชการในกระทรวงตางๆใหนอยลง และทรงยินยอมตัดทอน งบประมาณรายจายสวนพระองคใหนอยลง เมื่อ พ.ศ.2469 ทําใหรัฐบาลมีรายได เพิ่มขึ้นปละ 3 ลานบาท แตเนื่องจากเศรษฐกิจของโลกเริ่มตกต่ํามาเปนลําดับ ตั้งแต พ.ศ. 2472 ทําใหมีผลกระทบตอประเทศไทยอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง รัฐบาลตองตัดทอนรายจายอยางเขมงวดที่สุด รวมทั้งปลดขาราชการออกจาก ตําแหนงเปนอันมาก จัดการยุบมณฑลตางๆทั่วประเทศ งดจายเบี้ยเลี้ยงและเบี้ย กันดารของขาราชการ รวมทั้งการประกาศใหเงินตราของไทยออกจากมาตรฐาน ทองคํา พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 27. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2475 รัฐบาลไดประกาศเพิ่มภาษีราษฎรโดยเฉพาะการเก็บภาษี เงินเดือนจากขาราชการ แตมาตรการดังกลาวมก็ไมสามารถจะกอบกูสถานะการ  คลังของประเทศไดกระเตื้องขึ้นได จากปญหาเศรษฐกิจการคลังที่รัฐบาลไม สามารถแกไขใหมีสภาพเปนปกติได ทําใหคณะผูกอการใชเปนขออางในการ โจมตีประสิทธิภาพการบริหารงานของรัฐบาล จนเปนเงื่อนไขใหคณะผูกอการ ดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนผลสําเร็จ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 28. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การยึดอํานาจการปกครอง 1.วิธีการดําเนินงาน กลุมบุคคลซึ่งเปนผูริเริ่มความคิดที่จะ ดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองในครั้งแรก หรือที่เรียกวา คณะผูกอการ นั้นมี 7 คน ที่สําคัญ คือ นายปรีดี พนมยงค ร.ท.แปลก ขีตตะวังคะ ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี เปนตน http://chaloke2.chaloke.com/spaw/images/0 90511_12.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 29. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะบุคคลทั้ง 7 คนไดเริ่มเปดประชุมอยางเปนทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2469 ที่พักแหงหนึ่งในถนน รู เดอ ซอมเมอรารด ณ กรุงปารีส การ ประชุมครั้งนั้นดําเนินตอเนื่องเปนเวลา 5 วัน โดยที่ประชุมไดมีมติเปนเอกฉันทใหนาย ปรีดี พนมยงค เปนประธานที่ประชุม และที่ประชุมตกลงดําเนินการจัดตั้งคณะ ผูกอการขึ้นมา เพื่อเปนศูนยรวมในการดําเนินงานตอไป โดยที่ประชุมไดมีมติเปนเอก ฉันทใหนายปรีดี พนมยงค เปนหัวหนาคณะผูกอการ จนกวาจะมีบุคคลที่เหมาะสม เปนหัวหนาคณะผูกอการตอไป ที่ประชุมไดตกลงในหลักการที่จะทําการเปลี่ยนแปลง การปกครองประเทศไทย จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการ ปกครองที่มีพระมหากษัตริยใหอยูภายใตกฎหมายหรือที่เรียกกันวา ระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 30. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะผูกอการไดกําหนดหลักการในการปกครองประเทศไว 6 ประการ 1) รักษาความเปนเอกราชของชาติในทุกๆดาน เชน เอกราชทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ ทางการศาล ฯลฯ ใหมีความมั่นคง 2) รักษาความปลอดภัยในประเทศ ใหมีการประทุษรายตอกันลดนอยลง 3) บํารุงความสุขของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะหางานให ราษฎรทําทุกคน โดยจะวางโครงการเศรษฐกิจแหงชาติและไมปลอยใหราษฎรอด อยาก 4) ใหราษฎรมีสิทธิเสมอภาคทัดเทียมกัน 5) ใหราษฎรมีเสรีภาพที่ไมขัดตอหลัก 4 ประการขางตน 6) ใหการศึกษาแกราษฎรทุกคนอยางเต็มที่ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 31. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ภายหลังจากเสร็จการประชุมในครั้งนั้นแลว นายปรีดี พนมยงค ซึ่งขณะนั้น สําเร็จการศึกษาไดรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางกฎหมายแลว ไดเดินทางกลับสู ประเทศไทย ทางสมาชิกที่อยุในกรุงปารีสจึงไดเลือกเฟนผูที่สมควรเขารวมเปน  สมาชิกตอไป และไดสมาชิกเพิ่มในคณะผูกอการอีก 8 คน ที่สําคัญ คือ พ.อ.พระยา ทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) ร.อ.สินธุ กมลนาวิน เปนตน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 32. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ภายหลังเมื่อบรรดาสมาชิกของคณะผูกอการที่กรุงปารีสกลับคืนสูประเทศไทย แลว ก็ไดมีการชักชวนบุคคลที่มีความเห็นรวมกันเขารวมเปนสมาชิกคณะผูกอการอีก เปนจํานวนมาก จนกระทั่งปลายป พ.ศ.2474 จึงได พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาคณะผูกอการ ดังนั้นสมาชิกคณะผูกอการฝายทหารที่สําคัญ ไดแก พ.อ. พระยาทรงสุรเดช พ.อ.หลวงพิบูลสงคราม น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย ฯลฯ สําหรับ  สมาชิกคณะผูกอการหัวหนาฝายพลเรือนที่สําคัญคือ นายปรีดี พนมยงค นายทวี บุญยเกตุ นายควง อภัยวงค เปนตน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 33. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะผูกอการไดวางแผนเปลี่ยนแปลงการปกครองดําเนินไปอยางละมุนละมอม และหลีกเลี่ยงการเสียเลือดเนื้อใหมากที่สุด โดยมีแผนจับกุมผูสําเร็จราชการรักษา พระนคร คือ สมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตเอาไวกอน ในขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวประทับอยูที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน นอกจากนี้ยังมีแผนการจับกุมพระบรมวงศานุวงศองคอื่นๆ รวมทั้งเสนาบดี ปลัดทูล ฉลองกระทรวงตางๆ และผูบังคับบัญชาทหารที่สําคัญๆ อีกหลายคนดวยกัน เพื่อเปน ขอตอรองใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญใหแก ปวงชนชาวไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 34. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2.ขั้นตอนการยึดอํานาจ คณะผูกอการไดเริ่มลงมือปฏิบัติงานในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 โดยมี พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหนาคณะผูกอการ เปนผูนําในการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง โดยการนําคณะนายทหารพรอมดวยกําลังหนวยทหารที่เตรียมการเอาไว เขา ยึดพระที่นั่งอนันตสมาคมเปนฐานบัญชาการ และไดสงกําลังทหารเขายึดวังบางขุน พรหม พรอมทั้งไดทูลเชิญสมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตเสด็จมาประทับ ยังพระที่นั่งอนันตสมาคมเปนผลสําเร็จ จากการที่คณะผูกอการไดพยายามดําเนินการ อยางละมุนละมอมดังกลาว ทําใหสถานการณตางๆ คลี่คลายไปในทางที่ดีซึ่งมีผลตอ ชาติบานเมืองโดยสวนรวม พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 35. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สําหรับทางฝายพลเรือนนั้น สมาชิกคณะผูกอการกลุมหนึ่งภายใตการนํา ของหลวงโกวิทอภัยวงศ (นายควง อภัยวงศ) ไดออกตระเวนตัดสายโทรศัพท และโทรเลขทั้งในพระนครและธนบุรี เพื่อปองกันมิใหสมเด็จเจาฟากรมพระ นครสวรรควรพินิตและผูบังคับบัญชาหนวยทหารในกรุงเทพฯ ขณะนั้น โทรศัพทและโทรเลขติดตอกับพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ซึ่ง ประทับอยูที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน สวนนายปรีดี พนมยงค ไดจัดทํา ใบปลิว คําแถลงการณของคณะผูกอการออกแจกจายประชาชน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 36. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะผูกอการสามารถยึดอํานาจและจับกุมบุคคลสําคัญฝายรัฐบาลไวไดโดย เรียบรอย และไดรวมกันจัดตั้ง คณะราษฎร ขึ้นมาเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบ รวมทั้งออกประกาศแถลงการณของคณะราษฎร เพื่อชี้แจงที่ตองเขายึดอํานาจ การปกครองใหประชาชนเขาใจ นอกจากนี้คณะราษฎรไดแตงตั้งผูรักษาการพระ นครฝายทหารขึ้น 3 นาย ไดแก พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา พ.อ.พระยาทรง สุรเดช พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย โดยใหทําหนาที่เปนผูบริหารราชการแผนดิน ์ ขณะที่ยังไมมีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการบริหารประเทศ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 37. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หลังจากนั้น คณะราษฎรไดมีหนังสือกราบบังคับทูลอันเชิญพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัวเสด็จกลับคืนสูพระนคร เพื่อดํารงฐานะเปนพระมหากษัตริย ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรตอไป ดวยความที่พระองคทรงมีน้ําพระทัยที่ เปนประชาธิปไตย และทรงพรอมที่จะเสียสละเพื่อประชาชนและประเทศชาติ พระองคทรงตอบรับคํากราบบังคับทูลอัญเชิญของคณะราษฎร โดยพระองคทรง ยินยอมที่จะสละพระราชอํานาจของพระองคดวยการพระราชทานรัฐธรรมนูญตามที่ คณะราษฎรไดมีเปาหมายเอาไวในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และไดเสด็จพระ ราชดําเนินกลับคืนสูพระนครเพื่อพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 38. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม การที่คณะราษฎรภายใตการนําของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดทําการ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครอง ที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เปน ผลสําเร็จ โดยมิตองสูญเสียเลือดเนื้อแตประการใดนั้น เปนเพราะพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวที่รงยอมรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดย มิไดทรงตอตานเพื่อคิดตอบโตคณะราษฎรดวยการใชกําลังทหารที่มีอยูแตประการใด และทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยตามที่คณะราษฎรไดเตรียมราง เอาไว เพื่อนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย นอกจากนี้พระองคก็ทรงมี พระราชประสงคมาแตเดิมแลววาจะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปนกฎหมายสูงสุดใน การปกครองประเทศแกประชาชนอยูแลว จึงเปนการสอดคลองกับแผนการของ คณะราษฎร ประกอบกับพระองคทรงเห็นแกความสงบเรียบรอยของบานเมืองและ ความสุขของประชาชนเปนสําคัญ ยิ่งกวาการดํารงไวซึ่งพระราชอํานาจของพระองค พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 39. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรไดนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อทรงลงพระ ปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม ชั่วคราว พ.ศ.2475 และ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 http://library.stou.ac.th/king7/image/p7-1_1.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 40. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาอยูเจา เสด็จพระราชดําเนินจาก พระราชวังไกลกังวล หัวหิน กลับคืนสูพระนครแลว คณะราษฎรไดนํา พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว ซึ่งนายปรีดี พนมยงค และคณะราษฎรบางคนไดรางเตรียมไวขึ้นทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทรงพระปรมาภิไธย พระองคไดพระราชทานกลับคืนมาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475 และไดมีพิธีเปด สภาผูแทนราษฎรครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ซึ่ง รัฐธรรมนูญนี้มีชื่อเรียกวา พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม ชั่วคราว พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 41. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐธรรมนูญชั่วคราวนี้กําหนดวา อํานาจสูงสุดในแผนดินประกอบดวย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ ซึ่งแตเดิมเปนของ พระมหากษัตริย จึงไดเปลี่ยนเปนของปวงชนชาวไทยตามหลักการของระบอบ ประชาธิปไตยเกี่ยวกับการไดมาของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรนั้น ไดกําหนด แบงระยะเวลาออกเปน 3 สมัยคือ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 42. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1) สมัยที่ 1 นับแตวันใชรัฐธรรมนูญนี้เปนตนไป จนกวาจะถึงเวลาที่ สมาชิกในสมัยที่ 2 จะเขารับตําแหนง ใหคณะราษฎรซึ่งมีผูรักษาพระนครฝายทหาร เปนผูใชอํานาจแทน และจัดตั้งผูแทนราษฎรชั่วคราวขึ้นเปนจํานวน 70 นาย เปน สมาชิกในสภา 2) สมัยที่ 2 ภายในเวลา 6 เดือน หรือจนกวาจะจัดประเทศเปนปกติ เรียบรอย สมาชิกในสภาจะตองมีบุคคล 2 ประเภท ทํากิจกรรมรวมกัน คือ ประเภท ที่หนึ่ง ไดแกผูแทนราษฎรซึ่งราษฎรไดเลือกขึ้นมาจังหวัดละ 1 นาย ตอราษฎร จํานวน 100,000 คน ประเภทที่สอง ผูเปนสมาชิกอยูในสมัยที่หนึ่งมีจํานวนเทากับ สมาชิกประเภทที่หนึ่ง ถาจํานวนเกินใหเลือกกันเองวาผูใดจะยังเปนสมาชิกตอไป ถา จํานวนขาดใหผูที่มีตัวอยูเลือกบุคคลใดๆเขาแทนจนครบ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 43. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 3) สมัยที่ 3 เมื่อจํานวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรไดสอบไลวิชาประถมศึกษา ไดเปนจํานวน กวาครึ่ง และอยางชาตองไมเกิน 10 ป นับตั้งแตวันใชรัฐธรรมนูญนี้ สมาชิกในสภาผูแทนราษฎรจะเปนผูที่ราษฎรไดเลือกตั้งขึ้นเองทั้งสิ้น สวนสมาชิก ประเภทที่สองเปนอันสิ้นสุดลง ผูแทนราษฎรชั่วคราวจํานวน 70 นาย ซึ่งผูรักษาการ พระนครฝายทหารจะเปนผูจัดตั้งขึ้นในระยะแรกนั้น ประกอบดวยสมาชิกคณะราษฎร ขาราชการชั้นผูใหญ ผูประกอบอาชีพสาขาตางๆ ซึ่งมีความปรารถนาจะชวยบานเมือง และกลุมกบฏ ร.ศ.130 บางคน ซึ่งสมาชิกทั้ง 70 คน ภายหลังจากการไดรับการ แตงตั้งแลว 6 เดือน ก็จะมีฐานะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประเภทที่ 2 ตามที่ระบุ ไวในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 44. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ทางดานอํานาจบริหารนั้นในรัฐธรรมนูญไดบัญญัติไวซึ่งตําแหนงบริหารที่ สําคัญเอาไวคือ ประธานคณะกรรมการราษฎร (เทียบเทานายกรัฐมนตรี) ซึ่ง จะตองเปนบุคคลที่สามารถประสานความเขาใจระหวางคณะราษฎรกับ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเปนอยางดี และเพื่อความราบรื่นในการ บริหารประเทศตอไป คณะราษฎรจึงตกลงเห็นชอบที่จะให พระยามโนปกรณนิติ ธาดา (กอน หุตะสิงห) เปนประธานคณะกรรมการราษฎร คณะกรรมการราษฎร (คณะรัฐมนตรี) ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติ ธาดา ซึ่งเปนคณะรัฐมนตรีชุดแรกที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการ ปกครองสยามชั่วคราว พ.ศ.2475 มีจํานวนทั้งสิ้น 15 นาย เปนผูบริหาร ราชการแผนดิน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 45. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 ภายหลังที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงลงพระปรมาภิไธย ในรัฐธรรมนูญปกครองแผนดินสยามชั่วคราวแลวสภาผูแทนราษฎรไดแตงตั้ง อนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเพื่อใชเปนหลักในการ ปกครองประเทศสืบไป ในที่สุดสภาผูแทนราษฎรไดพิจารณาแกไขราง รัฐธรรมนูญครั้งสุดทายในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2475 และสภาผูแทนราษฎร ไดลงมติรับรองใหใชเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2475 โดยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรสยามเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 หลังจากนั้นไดทรงมีพระบรม ราชโองการโปรดเกลาฯแตงตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดา เปนนายกรัฐมนตรี ตอไป พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 46. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม 2475 มีสาระสําคัญพอสรุปไดดังนี้ 1.อํานาจนิติบัญญัติ กําหนดใหมีสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกซึ่ง ราษฎรเปนผูเลือกตั้ง แตมีบทเฉพาะกาลกําหนดไววา ถาราษฎรผูมีสิทธิออกเสียง เลือกตั้งสมาชิกผูแทนราษฎรตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ยังมีการศึกษาไมจบ ชั้นประถมศึกษามากกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนทั้งหมด และอยางชาตองไมเกิน 10 ป นับแตวันใชพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ.2475 สภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิก 2 ประเภท มีจํานวนเทากันคือ สมาชิก ประเภทที่ 1 ไดแกผูที่ราษฎรเลือกตั้งสขึ้นมาตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สวนสมาชิกประเภทที่ 2 ไดแก ผูที่พระมหากษัตริยทรง แตงตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกผูแทนราษฎร ในระหวางที่ใช บทบัญญัติเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 47. ประวัติศาสตร / การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2.อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบดวยนายกรัฐมนตรี 1 นาย และรัฐมนตรีอีกอยางนอย 14 นาย อยางมาก 24 นาย และในการแตงตั้งนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนาม รับสนองพระบรมราชโองการ กลาวโดยสรุปในภาพรวมของรัฐธรรมนูญทั้ง 2 ฉบับ ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางการเมืองการปกครองและ สังคมไทยดังนี้คือ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร