SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้ที่ 1

       เศรษฐศาสตร์ (Economics) มาจากภาษากรีก แปลว่า การบริหารจัดการครัวเรือน
 เศรษฐศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จากัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการ
ตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จากัดให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด

การแบ่งประเภทของวิชาเศรษฐศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
           1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) หมายถึง การศึกษาเศรษฐศาสตร์เฉพาะในส่วนย่อย
ๆ ซึ่งเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล มักเกี่ยวข้องกับเป้าหมายทางด้านประสิทธิภาพในการ จัดสรรทรัพยากร
เช่น การกาหนดราคา
           2. เศรษฐศาตร์มหภาค (Macroeconomics) หมายถึง การศึกษาเศรษฐศาสตร์ในส่วนรวมทั้งระบบ
           เช่น รายได้ประชาชาติ การจ้างงานของประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาเศรษฐศาตร์ กับศาสตร์อื่น ๆ
         เศรษฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาแขนงหนึ่งของวิชาสังคมศาสตร์ ที่ว่าด้วยการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในสังคม
เนื่องจากสังคมศาสตร์เป็นวิชาที่กว้างและลึกซึ้งยากที่จะศึกษาได้ทุกแง่ทุกมุม จึงต้องแยกออกเป็นสาขาวิชา
ต่าง ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ รัฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์หมายถึง การปกครองประเทศให้มั่นคงต้องอาศัยความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจเป็น
รากฐานเพื่อความเป็นเสถียรภาพทั้งการเมืองและเศรษฐกิจควบคู่กัน
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในเชิงประวัติศาสตร์

ประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
        ประโยชน์ต่อตัวผู้เรียน
                  1. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาเศรษฐกิจมากขึ้น
                  2. เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของผู้เรียนเอง
                  3. ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนา
                  ประเทศมากขึ้น เช่น การเก็บภาษี การใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดิน
                  4. สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
                  5. รู้จักการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างคุ้มค่า
        ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ
        ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ผลิตสันค้าและบริการให้มี
ประสิทธิภาพและสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างเพียงพอ
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเกิดจากมีทรัพยากรอย่างจากัด ไม่เพียงพอกับความต้องการของคนใน
สังคม จึงทาให้เกิดปัญหา ได้แก่
                 1. ปัญหาผลิตอะไร เป็นการตัดสินว่าจะผลิตอะไร และบริการอย่างไรบ้าง จานวน
เท่าไร
                 2.ปัญหาผลิตอย่างไร เป็นการพิจารณาว่าจะใช้เทคนิคการผลิตแบบใด ใช้ปัจจัย
การผลิตอะไรและใช้ปริมาณเท่าไร
                 3. ปัญหาผลิตเพื่อใคร เป็นการพิจารณาว่าจะผลิตเพื่อใครหรือกลุ่มบุคคลใด

ระบบเศรษฐกิจ
      หมายถึง การดาเนินการหรือการจัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในสังคมที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการ
ปกครองและวัฒนธรรมประเพณี

ความสาคัญของระบบเศรษฐกิจ
      1. เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของประเทศ
      2. กาหนดการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และควบคุมสถาบันทางเศรษฐกิจ
ใบความรู้ที่ 2
                                           ระบบเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม (Capitalism)
       ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คือ ระบบเศรษฐกิจที่เอกชนมีการแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างเสรี มี
กรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินและตัดสินใจในการผลิต ซึ่งรัฐบาลมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยมาก
       ลักษณะสาคัญของระบบทุนนิยม
                 1. เอกชนมีสิทธิ์ เป็นเจ้าของทรัพย์สินตามกฎหมาย
                 2. เปิดโอกาสให้เอกชนมีการแข่งขันเพื่อแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดให้กับตนเอง
                 3. เอกชนสามารถตัดสินใจใช้ทรัพยากรได้ตามที่ตนเห็นสมควร
                 4. ราคาถูกกาหนดโดยกลไกแห่งราคา คือ เปลี่ยนแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทาน5. เอกชน
                 ดาเนินการผลิตด้วยตนเอง
       ข้อดีระบบทุนนิยม
                 1. เกิดแรงจูงใจในการทางานมากขึ้น
                 2. สินค้ามีคุณภาพและราคาถูกเนื่องจากมีการแข่งขันกันมากขึ้น เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภค
                 3. ผู้ผลิตมีความคิดสร้างสรรค์ได้เต็มที่

        ข้อเสียระบบทุนนิยม
                1. ใช้ทรัพยากรโดยสิ้นเปลือง
                2. การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน
                3. เกิดกลุ่มอิทธิพลในการผลิต

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism)
         ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม คือ ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลเข้าไปควบคุมหรือเป็นเจ้าของปัจจัยการ
ผลิตและกิจการที่สาคัญๆ เพื่อประโยชน์โดยส่วนรวม ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและสวัสดิการของสังคมซึ่ง
แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ
         2.1. ระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ คือ รัฐูเป็นเจ้าของและควบคุมกิจการทุกอย่าง เอกชนไม่มีสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินใด ๆ ทั้งสิ้น
         2..2. ระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย คือ รัฐเป็นเจ้าของหรือควบคุมกิจการเฉพาะอุตสาหกรรมพื้นฐาน
ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือกิจการขนาดใหญ่เท่านั้น
         ข้อดีระบบสังคมนิยม
                  1. เกิดความเป็นธรรมในสังคมด้านเศรษฐกิจ
                  2. ไม่สิ้นเปลืองทรัพยากรเพราะรัฐเข้าไปควบคม
         ข้อเสียระบบสังคมนิยม
                  1. เอกชนถูกจากัดเสรีภาพในด้านเศรษฐกิจ ทาให้การทางานขาดประสิทธิภาพ
                  2. ขาดแรงจูงใจในการทางานและการผลิต
3. รัฐต้องรับภาระในการจัดสวัสดิการให้ประชาชน

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
        คือ ระบบเศรษฐกิจที่ผสมระหว่างระบบทนนิยมกับระบบสังคมนิยมซึ่งเอกชนมีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ
และรัฐเข้าไปดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่าง เช่น การสาธารณูโภคต่าง ๆ ได้แก่ ไฟฟ้า ประปา
โทรศัพท์
        ข้อดีระบบแบบผสม
                1. เอกชนมีกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน
                2. เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
                3. เกิดความเป็นธรรมในสังคม
                4. ลดปัญหาการผูกขาดทางเศรษฐกิจ
        ข้อเสียระบบแบบผสม
                1. กิจการบางอย่างรัฐบาลเข้ามาผูกขาดและควบคุม
                2. ระบบการทางานของรัฐบาลล่าช้าและขาดประสิทธิภาพ
ใบความรู้ที่ 3
                                       กระบวนการทางเศรษฐกิจ

        กระบวนการทางเศรษฐกิจประกอบด้วย การผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน และการกระจายรายได้

การผลิต (Production)
       การผลิตหมายถึง การนาปัจจัยการผลิตมาใช้เพื่อให้เกิดอรรถประโยชน์ในรูปของสินค้าและบริการเพื่อ
สนองความต้องการของมนุษย์

ปัจจัยการผลิต
        ปัจจัยการผลิต หมายถึง ทรัพยากรที่นามาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ ประกอบด้วย
        1. ที่ดิน หมายถึง พื้นที่ดินอันเป็นที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ผลตอบแทน คือ ค่าเช่า
        2. ทุน หมายถึง สินค้าประเภททุนหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างเพื่อใช้ในการผลิต ผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ย
        3. แรงงาน หมายถึง ความพยายามของมนุษย์เพื่อแสวงหารายได้มาดารงชีพ ผลตอบแทน คือ ค่าจ้าง
        4. ผู้ประกอบการหมายถึง การจัดตั้งองค์กรการผลิตขึ้นเพื่อใช้ในการผลิต ผลตอบแทน คือ ผลกาไร

ลาดับขั้นของการผลิต
         1. การผลิตขั้นปฐมภูมิ เป็นการผลิตที่ได้จากการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติโดยตรง เช่น การ
เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ป่าไม้
         2. การผลิตขั้นทุติยภูมิ เป็นการผลิตที่ได้จากการนาผลผลิตขั้นต้นหรือขั้นปฐมภูมิมาแปรรูปให้เป็น
สินค้าและบริการใหม่ เช่น การหัตถกรรม การอุตสาหกรรม
         3. การผลิตขั้นตติยภูมิ เป็นการผลิตในลักษณะของการให้บริการ เช่น การขนส่ง การบริการ

หน่วยธุรกิจและการบริหารจัดการ
         หน่วยธุรกิจหมายถึง องค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจด้านการผลิตและบริการ
ได้แก่
         1. กิจการเจ้าของคนเดียว เป็นการประกอบการขนาดเล็กมีเจ้าของคนเดียว
         2. ห้างหุ้นส่วน คือ หน่วยธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปรวมกันในการดาเนินกิจการ แบ่งเป็น 2
แบบ คือ
                   - ห้างหุ้นส่วนจากัด คือ มีบุคคลร่วมกันรับผิดชอบตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถือหุ้นจากัดความ
         รับผิดชอบในกรณีขาดทุนหรือมีหนี้สิน
                   - ห้างหุ้นส่วนสามัญ คือ มีบุคคลร่วมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถือหุ้นแบบไม่จากัดความ
         รับผิดชอบในกรณีขาดทุนหรือมีหนี้สิน
         3. บริษัทจากัด คือ บุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไปร่วมกันก่อตั้งและต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลโดยผู้ถือ
หุ้นจะต้องรับผิดชอบในหนี้สินจากัดไม่เกินมูลค่าหุ้นที่ตนถืออยู่ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
                   - บริษัทเอกชน มีการจากัดจานวนผู้ถือหุ้น ในการโอนกรรมสิทธิ์ ในการถือหุ้นต้องได้รับการ
         ยินยอมจากบริษัท และการเสนอขายหุ้นต้องกระทาเป็นการภายใน
- บริษัทมหาชน เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปซื้อหุ้นของบริษัทได้ การเสนอขายหุ้นต้อง
        เป็นไปอย่างเปิดเผย โดยผ่านตลาดหลักทรัพย์
        4. สหกรณ์ คือ การจัดตั้งขึ้นโดยบุคคลตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ มีสมาชิกเป็นผู้ถือ
หุ้นและจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
        5. รัฐวิสาหกิจ คือ กิจการที่เป็นสินค้าและบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่รัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่
ไม่น้อยกว่า 50%
ใบความรู้ที่ 4
                                   การบริโภค และการแลกเปลียน
                                                          ่

การบริโภค (Consumption)
        คือ ความต้องการหรือการใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ แบ่ง
ออกเป็น 2 แบบ คือ
        1. การบริโภคแบบสิ้นเปลือง เป็นการบริโภคสินค้าและบริการที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น อาหาร เชื้อเพลิง
        2. การบริโภคแบบไม่สิ้นเปลือง เป็นการบริโภคสินค้าและบริการที่ค่อย ๆ เสื่อมสลายไป หรือหมด
เปลืองไป เช่น เสื้อผ้า รถยนต์

ปัจจัยที่กาหนดการบริโภค
          1. รายได้ของผู้บริโภค คือ ถ้ารายได้มากการบริโภคจะสูง แต่ถ้ารายได้น้อยการบริโภค ต้องการต่า
          2. ราคาของสินค้า ถ้าราคาสินค้าต่าความต้องการซื้อมาก แต่ถ้าราคาลนค้าสูงความต้องการซื้อน้อย
          3. รสนิยมของผู้บริโภค ความพอใจของผู้บริโภคขึ้นอยู่กับรสนิยมในการบริโภค ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้
          4. เทคนิคการขาย โฆษณา การลดราคา

การแลกเปลี่ยน (Exchange)
         หมายถึง การนาสินค้าและบริการมาแลกเปลี่ยนกันด้วยวิธีการต่าง ๆ ระหว่างบุคคล องค์กร หรือ
หน่วยงาน โดยใช้วิธีกลไกของการแลกเปลี่ยน เช่น เงินตรา สถาบันการเงิน พ่อค้าคนกลาง
เงิน คือ สิ่งที่สังคมยอมรับเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ได้แก่
         - เหรียญกษาปณ์หรือเงินเหรียญ
         - ธนบัตร
         - เงินฝากกระแสรายวัน
         - บัตรเครดิต

วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยน
         1. การแลกเปลี่ยนสิ่งของกับสิ่งของ (Barter System) เป็นการนาสั่งของหรือสินค้าที่แต่ละคนเป็น
เจ้าของมาแลกเปลี่ยนกัน เช่น น้าตาลแลกกับน้าปลา เป็นต้น
         2. การแลกเปลี่ยนโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง (Money system) เป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
โดยใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เช่น เงิน เบี้ย หอย
         การแลกเปลี่ยนโดยการใช้บัตรเครดิต (Credit System) เป็นการแลกเปลี่ยนโดยอาศัยความเชื่อถือ
เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เช่น เช็ค

กลไกของการแลกเปลี่ยน
      ตลาด (Market) หมายถึง สภาวะการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าและบริการโดยที่ผู้ซื้อและผู้ขาย
สามารถตกลงแลกเปลี่ยนสินค้าซื้อขายกันได้ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
      1. ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์ หรือตลาดในอุดมคติ มีลักษณะดังนี้
             - สินค้ามีคุณภาพเหมือนกัน
- มีจานวนผู้ซื้อและผู้ขายมาก
              - การติดต่อซื้อขายทาได้อย่างเสรี
              - ราคาสินค้าจะเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามอุปสงค์และอุปทาน
       2. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ มีลักษณะดังนี้
              - เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อและผู้ขายน้อยราย
              - ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ลักษณะสินค้าแตกต่างกันเล็กน้อย หรือสามารถใช้
แทนกันได้
ใบความรู้ที่ 5
                             อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply)

อุปสงค์ (Demand)
           คือ ความต้องการของผู้บริโภคที่จะซื้อสินค้าและบริการ ในช่วงเวลาหนึ่งและราคาหนึ่ง รวมทั้งสถานที่
ที่ผู้บริโภคต้องการ
           กฎของอุปสงค์
           กฎของอุปสงค์กล่าวไว้ว่า “ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อจะ
แปรผกผันกับราคาของสินค้าและบริการนั้น” หมายความว่า ถ้าราคาสินค้าและบริการสูงปริมาณการเสนอซื้อ
จะต่า แต่ถ้าราคาสินค้าและบริการต่าปริมาณการเสนอซื้อจะสูง
           ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์
           1. รายได้       2. ราคา         3. รสนิยม

อุปทาน (Supply)
          คือ ความต้องการขายสินค้าและบริการที่ผู้ขายต้องการขายในเวลาใด เวลาหนึ่ง และราคาหนึ่งที่
ผู้ขายต้องการ
         กฎของอุปทาน
         กฎของอุปทานกล่าวไว้ว่า "ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายต้องการขายจะ
แปรผกผันโดยตรงกับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้น” หมายความว่า เมื่อราคาสินค้าและบริการลดต่าลง
ผู้ขายจะขายสินค้าน้อยลง และเมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นผู้ขายจะขายสินค้าเพิ่มมากขึ้น
         ปัจจัยที่กาหนดอุปทาน
         1. ต้นทุนการผลิต       2. ฤดูกาลในการผลิต
         3. เทคนิคการผลิต       4. ข้อจากัดทางการค้า
         5. สภาพตลาดหรือภาวะเศรษฐกิจ
ใบความรู้ที่ 6


ราคา (Price)
       หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการที่คิดเป็นจานวนเงินเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายแลกเปลี่ยน
กลไกแห่งราคา หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปตามแรงผลักดันของอุปสงค์และอุปทาน
       - ถ้าความต้องการซื้อมาก ความต้องการขายน้อย ราคาจะสูงขึ้น
       - ถ้าความต้องการซื้อน้อย ความต้องการขายจะเพิ่มขึ้น ราคาจะลดลง
       - ถ้าความต้องการซื้อเท่ากับความต้องการขาย ราคาจะเป็นราคาดุลยภาพ

ราคาดุลยภาพหมายถึง ราคาของสินค้าในระดับที่ปริมาณการซื้อเท่ากับปริมาณการขาย ซึ่งจะเกิดขึ้นในตลาด
ที่มีการแข่งขันสมบูรณ์
ใบความรู้ที่ 7

การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
      หมายถึง กระบวนการที่ทาให้รายได้ประชาชาติ และรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลเพิ่มขึ้น รวมทั้งการปรับปรุง
คุณภาพชีวิตของประชากรให้ดีขึ้น

จุดมุ่งหมายของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
         1. เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
         2. เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
         3. เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการเมืองการปกครอง

ความสาคัญของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
      1. ช่วยให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
      2. ช่วยให้ประชาชนมีมาตรูฐานการครองชีพที่สูงขึ้น
      3. ช่วยให้เกิดการกระจายรายได้
      4. ช่วยเพิ่มรายได้ประชาชาติ
      5. ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศมั่นคง

ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
         1. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ เช่น การสะสมทุน เทคโนโลยี
         2. ปัจจัยทางการเมือง เช่น ภาวะสงคราม
         3. ปัจจัยทางสังคม เช่น การออมทรัพย์ ความขยัน
         4. ปัจจัยทางเทคโนโลยี เช่น ความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ใบความรู้ที่ 8

หลักเกณฑ์ที่ใช้วัดการพัฒนาเศรษฐกิจ
       1. รายได้ประชาชาติ (NI)
       รายได้ประชาชาติ หมายถึง มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประชาชาติผลิตขึ้นใน
ระยะเวลา 1 ปี
       ประเภทของรายได้ประชาชาติ
                 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้น
       ในระยะเวลาหนึ่งปี
                 2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) หมายถึง มูลค่ารวมของสิน ค้าและบริการขั้น
       สุดท้ายที่ประชาชาติของประเทศผลิตขึ้นในประเทศบวกรายได้สุทธิที่ได้รับจากต่างประเทศใน
       ระยะเวลาหนึ่งปี
       สูตรการคานวณหารายได้ประชาชาติ
       - รายได้ประชาชาติ (NI) = GNP - ค่าเสื่อมราคา - ภาษีทางอ้อม
       - ค่าเสื่อมราคา คือ ค่าเสื่อมของราคาทรัพย์สินที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ
       - ภาษีทางอ้อม คือ ภาษีที่รัฐบาลเก็บจากธรกิจประเภทต่าง ๆ เช่น ภาษีศุลกากร สรรพสามิต ภาษี
การค้า

       2. รายได้เฉลี่ยบุคคล
       คิดจากรายได้ประชาชาติ หารด้วยจานวนประชากร ถ้ารายได้เฉลี่ยต่อบุคคลสูง แสดงว่าระดับการ
พัฒนาเศรษฐกิจสูง แต่ถ้ารายได้เฉลี่ยบุคคลต่า แสดงว่าระดับการพัฒนา เศรษฐกิจตกต่า
ใบความรู้ที่ 9

การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
           หมายถึง กระบวนการจัดทาแผนล่วงหน้าของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้บรรลุตาม
เป้าหมาย ภายในระยะเวลาที่กาหนดขึ้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทยเกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475 โดยนายปรีดี พนมยงค์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ได้จัดตั้งสภาเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้น และใน
ปี พ.ศ. 2502 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้จัดตั้งสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ปัจจุบันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติมีทั้งหมด 9 ฉบับ ดังนี้
           ฉบับที่ 1 ปี พ ศ 2504-2509 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
           ฉบับที่ 2 ปี พ.ศ. 2510-2514 เพื่อเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่กับการก่อสร้างโครงการพื้นฐานที่
จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต กระจายผลการพัฒนาสู่ชนบท
           ฉบับที่ 3 ปี พ.ศ. 2515-2519 เพื่อสร้างประโยชน์จากโครงการพื้นฐานและกระจายการพัฒนาไปสู่
ชนบท และกาหนดนโยบายประชากรขึ้นเป็นครั้งแรก มีการปฏิรูปที่ดินตามพระราชบัญญัติปฏิรูปที่ดิน
           ฉบับที่ 4 ปี พ.ศ. 2520-2524 คือ ปรับปรุงการบริหารทรัพยากรหลักของชาติ ฟื้นฟูเศรษฐกิจและ
ขยายการส่งออก กระจายรายได้ให้กับประชาชน
           ฉบับที่ 5 ปี พ.ศ. 2525-2529 เน้นการพัฒนาแก้ไขปัญหาความยากจนกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาคที่
ยากจนและล้าหลัง
           ฉบับที่ 6 ปี พ.ศ. 2530-2534 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และรักษา
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจรวมทั้งการกระจายรายได้ให้เหมาะสม
           ฉบับที่ 7 ปี พ.ศ. 2535-2539 เพื่อการกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาค และ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์
           ฉบับที่ 8 ปี พ.ศ. 2540-2544 เพื่อระดมการออม ลดความยากจน อนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ และ
สิ่งแวดล้อม และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในเมืองและคนชนบท เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยระดม
ความคิดจากประชาชนและให้สื่อมวลชนเข้ามาร่วมพิจารณาวางแผนพัฒนาประเทศ
           ฉบับที่ 9 ปี พ.ศ. 2545-2549 เป็นแผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราช
ดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยยึดหลักทาง
สายกลาง
           ฉบับที่ 10ปี พ.ศ 2550 –2554 เน้นเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความรู้คู่คุณธรรมเพื่อนาไปสู่การพัฒนา
ที่ยั่งยืน
           ฉบับที่ 11 ปี พ.ศ 2555 - 2559 เน้นการ "ตั้งรับ" มากกว่า "รุก" โดยเน้นการป้องกันปัญหาจาก
วิกฤตการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพราะเราเพิ่งผ่านวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก และวิกฤตการณ์ทางการเมือง
ภายในประเทศมาหมาดๆ
การเน้น "ภูมิคุ้มกัน" นั้นเป็นเพียงเป้าหมายขั้นต่าเหมือนคนที่ปลอดโรค เพราะมีภูมิต้านทานโรค แต่ไม่ได้บอก
ว่าสุขภาพแข็งแรงมีกาลังวังชาดีเพียงไร เชื่อว่าพวกเราไม่ได้ต้องการเพียงให้ประชาชนพอมีกินประชาชนควร
จะ "กินดีอยู่ดี" และมี "คุณภาพชีวิต" ที่ดีขึ้นกว่าเดิม อีกนัยหนึ่ง ผลโดยรวมประเทศไม่ควรมีสถานะเพียงเกณฑ์
เฉลี่ยของประเทศอาเซียนด้วยกันหรือเพียงแต่ดีกว่า พม่า ลาว กัมพูชา บ้าง แต่เราควรจะตั้งเป้าหมายให้
ประเทศไทยมีความ "มั่งคั่ง" อยู่ในชั้นแนวหน้าของอาเซียน ที่จะแข่งขันกับประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ
สิงคโปร์ได้ และตัวอย่างที่ดีๆ ของประเทศนอกอาเซียนอื่นๆ เช่น เกาหลี และจีน เป็นต้น
ใบความรู้ที่ 10

เศรษฐกิจระหว่างประเทศและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
       หมายถึง การดาเนินการติดต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประกอบด้วย การค้า การ
ลงทุน การเงิน การรวมกลุ่มระหว่างประเทศ

        สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ
        1. ประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่างกันในด้านทรัพยากร
        2. ประเทศต่าง ๆ มีความสามารถในการผลิตไม่เหมือนกัน
        3. ประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่างกันในด้านลักษณะทางกายภาพ เช่น สภาพดิน สภาพอากาศ และ
ภูมิประเทศต่างกัน

       ประโยชน์ การค้าระหว่างประเทศ
       1. เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคภายในประเทศ
       2. ทาให้เกิดการแบ่งงานกันทา
       3. เกิดการแข่งขันกันด้านคุณภาพของสินค้าและบริการ
       4. เกิดความชานาญเฉพาะอย่างในการผลิตสินค้าที่ถนัดอย่างต่อเนื่อง
ใบความรู้ที่ 11

นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
         1. นโยบายการค้าแบบเสรี
          หมายถึง นโยบายที่รัฐบาลสนับสนุนให้มีการค้าระหว่างประเทศแบบไม่มีข้อจากัด เช่น ไม่มีการตั้ง
กาแพงภาษีขาเข้า ไม่มีข้อจากัดทางการค้า
         2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
         หมายถึง นโยบายการค้าที่รัฐบาลมีมาตรการต่าง ๆ เพื่อจากัดการนาเข้าและส่งออกของสินค้า เช่น
การตั้งกาแพงภาษี การกาหนดโควตาการนาเข้าและส่งออกการสนับสนุนเพื่อลดต้นทุนการผลิต และการผลิต
ลนค้าหลาย ๆ อย่างเพื่อใช้ภายในประเทศเอง

นโยบายการค้าของไทย
        1. นโยบายทดแทนการนาเข้า
        เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นในการผลิตสินค้าและบริการภายในประเทศเพื่อที่จะไม่ต้องพึ่งพาสินค้าจาก
ต่างประเทศ
        2. นโยบายส่งเสริมการส่งออก
        เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นการส่งออกมากที่สุด และส่งเสริมอุตสาหกรรมภายในประเทศให้สามารถแข่งขัน
กับต่างประเทศได้

ภาวะการค้าต่างประเทศของไทย
         1. การส่งออก ประเทศไทยเคยส่งออกข้าวและยางพาราเป็นลนค้าสาคัญ ปัจจุบันลนค้าที่ส่งออก
สาคัญ ได้แก่ เสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอ อัญมณี เครื่องประดับ เป็นต้น
         2. การนาเข้า ประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันการนาเข้าไม่มีการเปลี่ยนแปลง สินค้าที่นาเข้าส่วน
ใหญ่ ได้แก่ สินค้าประเภททุนและวัตถุดิบ
         3. ประเทศคู่ค้าที่สาคัญของไทย ในการส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ยุโรป อาเซียน
ส่วนประเทศที่นาเข้าประเทศไทยมากที่สุด ได้แก่ ญี่ปุ่น
ใบความรู้ที่ 12

ดุลการค้าระหว่างประเทศ
       หมายถึง การเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าส่งออกกับมูลค่าสินค้านาเข้าของประเทศในระยะเวลา 1 ปี

ประเภทของดุลการค้า
      1. ดุลการค้าเกินดุล หมายถึง มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่าสินค้านาเข้า
      2. ดุลการค้าขาดดุล หมายถึง มูลค่าสินค้า ส่งออกน้อยกว่ามูลค่าสินค้านาเข้า
      3. ดุลการค้าสมดุล หมายถึง มูลค่าสินค้านาเข้าเท่ากับมูลค่าสินค้าส่งออก

ดุลการชาระเงิน
       หมายถึง บัญชีที่แสดงรายรับและรายจ่ายเงินตราต่างประเทศภายในเวลา1 ปี แบ่งเป็น 4 บัญชี คือ
       1. บัญชีเดินสะพัด คือ บัญชีที่แสดงรายการรับ-จ่าย เกี่ยวกับสินค้าและบริการ เช่น
                - ดุลการค้า คือ มูลค่าสินค้าเข้าและมูลค่าสินค้าออก
                - ดุลบริการ คือ รายรับและรายจ่าย จากค่าขนส่ง บริการ ค่าประกันภัย
       2. บัญชีเงินโอนและบริจาค เป็นบัญชีแสดงรายรับและรายจ่ายเกี่ยวกับเงินได้เปล่าของรัฐบาลและ
เอกชน
       3. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย เป็นบัญชีที่แสดงการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ
       4. บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีแสดงยอดสุทธิระหว่างรายรับและรายจ่ายของประเทศ

ลักษณะดุลการชาระเงิน
         1. ดุลการชาระเกินดุล หมายถึง รา0ปรับมากกว่ารายจ่าย
         2. ดุลการชาระขาดดุล หมายถึง รายรับน้อยกว่ารายจ่าย
         3. ดุลการชาระเงินสมดุล หมายถึง รายรับเท่ากับรายจ่าย
ความสาคัญของดุลการชาระเงิน และทุนสารองระหว่างประเทศ
         1. มีผลต่อทุนสารองระหว่างประเทศ คือ ถ้าดุลการชาระเกินดุล ทุนสารองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น
แต่ถ้าดุลการชาระขาดดุล ทุนสารองระหว่างประเทศลดลง
         2. ทุนสารองระหว่างประเทศ ได้แก่ ทองคา เงินตราต่างประเทศ หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางถือไว้
และทุนสารองกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ( I.M.F.)
การแก้ไขดุลการชาระเงินขาดดุล
       1. ลดการนาสันค้าเข้า
       2. ส่งเสริมให้มีสันค้าออกมากที่สุด
       3. ส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างประเทศ
       4. ประชาชนไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
       5. ส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวจากต่างประเทศ
       6. รัฐบาลควรลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็น
       7. กู้เงินจากต่างประเทศ
                                            ใบความรู้ที่ 13

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
        การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ คือ การรวมตัวตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไปเพื่อประสานผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจในระหว่างกลุ่มเดียวกัน แบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่
        1. เขตการค้าเสรี หมายถึงประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิกไม่มีการเก็บภาษีนาเข้า ไม่กาหนดโควตา แต่
สามารถกาหนดอัตราภาษีแก่ประเทศที่ไม่เป็นสมาชิกได้
        2. สหภาพศุลกากร หมายถึง ประเทศสมาชิกเปิดการค้าเสรี แต่ประเทศนอกกลุ่มต้องตั้งกาแพงภาษี
เหมือนกันหมด
        3. ตลาดร่วม หมายถึง ประเทศสมาชิกทุกประเทศจะมีการเคลื่อนย้ายทุน สินค้า แรงงาน บริการ ได้
โดยเสรี
        4. สหภาพเศรษฐกิจ หมายถึง ประเทศสมาชิกต้องใช้นโยบายเศรษฐกิจการค้า การลงทุน ร่วมกัน
        5. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ หมายถึง การรวมตัวด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และ
การเมืองเหมือนกัน
ใบความรู้ที่ 14
                                   การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน

 องค์การการค้าโลก หรือ WTO
        ได้พัฒนาขึ้นจากองค์การแกตต์ หรือข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
        วัตถุประสงค์
        1. เพื่อลดอุปสรรคทางด้านภาษีศุลกากรของการค้าระหว่างประเทศ
        2. เป็นเครื่องมือไห้ประเทศภาคีสมาชิกปฏิบัติตาม
        3. เป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เจรจาไกล่เกลี่ยทางการค้าของประเทศภาคีสมาชิกประเทศที่เป็น
สมาชิกมีประมาณ 185 ประเทศ ประเทศไทยเป็นสมาชิกอันดับที่ 87

เขตการค้าเสรีอาเซียน หรืออาฟต้า (AFTA)
        เป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน สาหรับกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งขึ้นโดยอดีต
นายกรัฐมนตรีของไทยนายอานันท์ ปันยารชุน
       วัตถุประสงค์
       เพื่อให้ประเทศสมาชิกลดอัตราภาษีสินค้าอุตสาหกรรมให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายใน 15 ปี เริ่มจาก 1
มกราคม พ.ศ. 2537 ถึง 1 มกราคม พ.ศ. 2551
ประเทศสมาชิกประกอบด้วย อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปชิฟิก หรือเอเปค (APEC)
        ก่อตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ในการค้าเสรีและการลงทุนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก
        วัตถุประสงค์
        1. ส่งเสริมการเปิดการค้าเสรีและการลงทุนในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก สาหรับประเทศพัฒนาแล้วจะ
ดาเนินการเปิดการค้าเสรีให้เสร็จในปี ค.ศ. 2010 และประเทศที่กาลังพัฒนาจะดาเนินการเปิดการค้าเสรีให้
เสร็จในปี ค.ศ. 2020
        2. ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ เพื่อขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประเทศสมาชิกปัจจุบันมี
ทั้งหมด 21 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลีใต้ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์
สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เม็กซิโก ปาปัวนิวกินี ชิลี เปรู รัสเซีย เวียดนาม และไทย
สหภาพยุโรป หรือ EU
     สหภาพยุโรป หรือ EU เป็นการรวมตัวของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจยุโรป เรียกว่า สหภาพยุโรป
     วัตถุประสงค์
     ประชาคมยุโรป 15 ประเทศได้รวมตัวเป็นตลาดเดียว เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้
              - เพื่อการเคลื่อนย้ายสินค้าของประเทศสมาชิกได้โดยเสรี
              - เพื่อประชากรของประเทศสมาชิกสามารถประกอบอาชีพข้ามชาติได้ เดินทางและตั้งถิ่น
     ฐานในต่างชาติได้
              - มีการลงทุนในประเทศสมาชิกโดยเสรี
              - ใช้ระบบเงินสกุลเดียวกัน คือ เอกู ประเทศสมาชิกประกอบด้วย ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี
     เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สเปน กรีซโปรตุเกส สวีเดน
     ฟินแลนด์ ออสเตรเลีย
ใบความรู้ที่ 15
                               ปัญหาเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย

สาเหตุของการขาดดุลการค้าระหว่างประเทศของไทย
       1. มีมูลค่าการนาเข้าสินค้าปริมาณมากกว่ามูลค่าการส่งออก
       2. การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมภายในประเทศยังต้องพึ่งพิงสินค้านาเข้าจากต่างประเทศ
       3. ประชาชนนิยมบริโภคสินค้าจากต่างประเทศมากขึ้น

ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
        สาเหตุของการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
        1. การอ่อนตัวลงของค่าเงินบาท เมื่อเทียบกับเงินเยนและเงินดอลลาร์ ทาให้สินค้านาเข้ามี
ราคาสูงขึ้น
        2. มีการนาเข้าสินค้าในปริมาณสูงขึ้นโนสินค้าประเภททุน รถยนต์ และอะไหล่ของรถยนต์
        3. มีการนาเข้าสินค้าพิเศษ เช่น อาวุธ เครื่องบิน
        1. ขาดเงินออมในประเทศที่ไม่เพียงพอกับการลงทุนที่สูงขึ้น จาเป็นต้องกู้ยืมเงินจากต่าง
ประเทศ

ผลกระทบของการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
      1. แสดงถึงเสถียรภาพของค่าเงินบาทในตลาดโลก
      2. ส่งผลกระทบต่อความมั่นใจในการลงทุนจากต่างประเทศ
      3. แสดงฐานะการเงินของประเทศให้เห็นว่าประเทศไทยเป็นหนี้ต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าCoco Tan
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานPraphaphun Kaewmuan
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 

La actualidad más candente (20)

เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 

Destacado

ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียน
ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียนทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียน
ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียนIbeam
 
กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2krunimsocial
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 
เบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้าเบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้าkrunimsocial
 
แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104krunimsocial
 
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ladda3
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Destacado (13)

ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียน
ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียนทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียน
ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียน
 
North america
North americaNorth america
North america
 
กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
เบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้าเบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้า
 
South america
South americaSouth america
South america
 
แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104
 
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
 
Geography ppt-m3
Geography ppt-m3Geography ppt-m3
Geography ppt-m3
 
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 

Similar a ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์

ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจPonpirun Homsuwan
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์sunisasa
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Patchara Patipant
 
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาดkroowachirongkham
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ssusere8a8f7
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 

Similar a ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ (20)

ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
1
11
1
 
ิีbs
ิีbsิีbs
ิีbs
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 

Más de krunimsocial

กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6krunimsocial
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850krunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขkrunimsocial
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขkrunimsocial
 

Más de krunimsocial (15)

กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่ม
 
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
 

ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เศรษฐศาสตร์ (Economics) มาจากภาษากรีก แปลว่า การบริหารจัดการครัวเรือน เศรษฐศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จากัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการ ตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จากัดให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด การแบ่งประเภทของวิชาเศรษฐศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) หมายถึง การศึกษาเศรษฐศาสตร์เฉพาะในส่วนย่อย ๆ ซึ่งเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล มักเกี่ยวข้องกับเป้าหมายทางด้านประสิทธิภาพในการ จัดสรรทรัพยากร เช่น การกาหนดราคา 2. เศรษฐศาตร์มหภาค (Macroeconomics) หมายถึง การศึกษาเศรษฐศาสตร์ในส่วนรวมทั้งระบบ เช่น รายได้ประชาชาติ การจ้างงานของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาเศรษฐศาตร์ กับศาสตร์อื่น ๆ เศรษฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาแขนงหนึ่งของวิชาสังคมศาสตร์ ที่ว่าด้วยการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในสังคม เนื่องจากสังคมศาสตร์เป็นวิชาที่กว้างและลึกซึ้งยากที่จะศึกษาได้ทุกแง่ทุกมุม จึงต้องแยกออกเป็นสาขาวิชา ต่าง ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์หมายถึง การปกครองประเทศให้มั่นคงต้องอาศัยความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจเป็น รากฐานเพื่อความเป็นเสถียรภาพทั้งการเมืองและเศรษฐกิจควบคู่กัน ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในเชิงประวัติศาสตร์ ประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ประโยชน์ต่อตัวผู้เรียน 1. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาเศรษฐกิจมากขึ้น 2. เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของผู้เรียนเอง 3. ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนา ประเทศมากขึ้น เช่น การเก็บภาษี การใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดิน 4. สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 5. รู้จักการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างคุ้มค่า ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ผลิตสันค้าและบริการให้มี ประสิทธิภาพและสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างเพียงพอ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
  • 2. ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเกิดจากมีทรัพยากรอย่างจากัด ไม่เพียงพอกับความต้องการของคนใน สังคม จึงทาให้เกิดปัญหา ได้แก่ 1. ปัญหาผลิตอะไร เป็นการตัดสินว่าจะผลิตอะไร และบริการอย่างไรบ้าง จานวน เท่าไร 2.ปัญหาผลิตอย่างไร เป็นการพิจารณาว่าจะใช้เทคนิคการผลิตแบบใด ใช้ปัจจัย การผลิตอะไรและใช้ปริมาณเท่าไร 3. ปัญหาผลิตเพื่อใคร เป็นการพิจารณาว่าจะผลิตเพื่อใครหรือกลุ่มบุคคลใด ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง การดาเนินการหรือการจัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในสังคมที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการ ปกครองและวัฒนธรรมประเพณี ความสาคัญของระบบเศรษฐกิจ 1. เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของประเทศ 2. กาหนดการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และควบคุมสถาบันทางเศรษฐกิจ
  • 3. ใบความรู้ที่ 2 ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม (Capitalism) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คือ ระบบเศรษฐกิจที่เอกชนมีการแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างเสรี มี กรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินและตัดสินใจในการผลิต ซึ่งรัฐบาลมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยมาก ลักษณะสาคัญของระบบทุนนิยม 1. เอกชนมีสิทธิ์ เป็นเจ้าของทรัพย์สินตามกฎหมาย 2. เปิดโอกาสให้เอกชนมีการแข่งขันเพื่อแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดให้กับตนเอง 3. เอกชนสามารถตัดสินใจใช้ทรัพยากรได้ตามที่ตนเห็นสมควร 4. ราคาถูกกาหนดโดยกลไกแห่งราคา คือ เปลี่ยนแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทาน5. เอกชน ดาเนินการผลิตด้วยตนเอง ข้อดีระบบทุนนิยม 1. เกิดแรงจูงใจในการทางานมากขึ้น 2. สินค้ามีคุณภาพและราคาถูกเนื่องจากมีการแข่งขันกันมากขึ้น เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภค 3. ผู้ผลิตมีความคิดสร้างสรรค์ได้เต็มที่ ข้อเสียระบบทุนนิยม 1. ใช้ทรัพยากรโดยสิ้นเปลือง 2. การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน 3. เกิดกลุ่มอิทธิพลในการผลิต ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม คือ ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลเข้าไปควบคุมหรือเป็นเจ้าของปัจจัยการ ผลิตและกิจการที่สาคัญๆ เพื่อประโยชน์โดยส่วนรวม ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและสวัสดิการของสังคมซึ่ง แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ 2.1. ระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ คือ รัฐูเป็นเจ้าของและควบคุมกิจการทุกอย่าง เอกชนไม่มีสิทธิ์ใน ทรัพย์สินใด ๆ ทั้งสิ้น 2..2. ระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย คือ รัฐเป็นเจ้าของหรือควบคุมกิจการเฉพาะอุตสาหกรรมพื้นฐาน ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือกิจการขนาดใหญ่เท่านั้น ข้อดีระบบสังคมนิยม 1. เกิดความเป็นธรรมในสังคมด้านเศรษฐกิจ 2. ไม่สิ้นเปลืองทรัพยากรเพราะรัฐเข้าไปควบคม ข้อเสียระบบสังคมนิยม 1. เอกชนถูกจากัดเสรีภาพในด้านเศรษฐกิจ ทาให้การทางานขาดประสิทธิภาพ 2. ขาดแรงจูงใจในการทางานและการผลิต
  • 4. 3. รัฐต้องรับภาระในการจัดสวัสดิการให้ประชาชน ระบบเศรษฐกิจแบบผสม คือ ระบบเศรษฐกิจที่ผสมระหว่างระบบทนนิยมกับระบบสังคมนิยมซึ่งเอกชนมีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ และรัฐเข้าไปดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่าง เช่น การสาธารณูโภคต่าง ๆ ได้แก่ ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ข้อดีระบบแบบผสม 1. เอกชนมีกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน 2. เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ 3. เกิดความเป็นธรรมในสังคม 4. ลดปัญหาการผูกขาดทางเศรษฐกิจ ข้อเสียระบบแบบผสม 1. กิจการบางอย่างรัฐบาลเข้ามาผูกขาดและควบคุม 2. ระบบการทางานของรัฐบาลล่าช้าและขาดประสิทธิภาพ
  • 5. ใบความรู้ที่ 3 กระบวนการทางเศรษฐกิจ กระบวนการทางเศรษฐกิจประกอบด้วย การผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน และการกระจายรายได้ การผลิต (Production) การผลิตหมายถึง การนาปัจจัยการผลิตมาใช้เพื่อให้เกิดอรรถประโยชน์ในรูปของสินค้าและบริการเพื่อ สนองความต้องการของมนุษย์ ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต หมายถึง ทรัพยากรที่นามาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ ประกอบด้วย 1. ที่ดิน หมายถึง พื้นที่ดินอันเป็นที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ผลตอบแทน คือ ค่าเช่า 2. ทุน หมายถึง สินค้าประเภททุนหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างเพื่อใช้ในการผลิต ผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ย 3. แรงงาน หมายถึง ความพยายามของมนุษย์เพื่อแสวงหารายได้มาดารงชีพ ผลตอบแทน คือ ค่าจ้าง 4. ผู้ประกอบการหมายถึง การจัดตั้งองค์กรการผลิตขึ้นเพื่อใช้ในการผลิต ผลตอบแทน คือ ผลกาไร ลาดับขั้นของการผลิต 1. การผลิตขั้นปฐมภูมิ เป็นการผลิตที่ได้จากการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติโดยตรง เช่น การ เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ป่าไม้ 2. การผลิตขั้นทุติยภูมิ เป็นการผลิตที่ได้จากการนาผลผลิตขั้นต้นหรือขั้นปฐมภูมิมาแปรรูปให้เป็น สินค้าและบริการใหม่ เช่น การหัตถกรรม การอุตสาหกรรม 3. การผลิตขั้นตติยภูมิ เป็นการผลิตในลักษณะของการให้บริการ เช่น การขนส่ง การบริการ หน่วยธุรกิจและการบริหารจัดการ หน่วยธุรกิจหมายถึง องค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจด้านการผลิตและบริการ ได้แก่ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว เป็นการประกอบการขนาดเล็กมีเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน คือ หน่วยธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปรวมกันในการดาเนินกิจการ แบ่งเป็น 2 แบบ คือ - ห้างหุ้นส่วนจากัด คือ มีบุคคลร่วมกันรับผิดชอบตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถือหุ้นจากัดความ รับผิดชอบในกรณีขาดทุนหรือมีหนี้สิน - ห้างหุ้นส่วนสามัญ คือ มีบุคคลร่วมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถือหุ้นแบบไม่จากัดความ รับผิดชอบในกรณีขาดทุนหรือมีหนี้สิน 3. บริษัทจากัด คือ บุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไปร่วมกันก่อตั้งและต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลโดยผู้ถือ หุ้นจะต้องรับผิดชอบในหนี้สินจากัดไม่เกินมูลค่าหุ้นที่ตนถืออยู่ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - บริษัทเอกชน มีการจากัดจานวนผู้ถือหุ้น ในการโอนกรรมสิทธิ์ ในการถือหุ้นต้องได้รับการ ยินยอมจากบริษัท และการเสนอขายหุ้นต้องกระทาเป็นการภายใน
  • 6. - บริษัทมหาชน เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปซื้อหุ้นของบริษัทได้ การเสนอขายหุ้นต้อง เป็นไปอย่างเปิดเผย โดยผ่านตลาดหลักทรัพย์ 4. สหกรณ์ คือ การจัดตั้งขึ้นโดยบุคคลตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ มีสมาชิกเป็นผู้ถือ หุ้นและจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 5. รัฐวิสาหกิจ คือ กิจการที่เป็นสินค้าและบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่รัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ไม่น้อยกว่า 50%
  • 7. ใบความรู้ที่ 4 การบริโภค และการแลกเปลียน ่ การบริโภค (Consumption) คือ ความต้องการหรือการใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ แบ่ง ออกเป็น 2 แบบ คือ 1. การบริโภคแบบสิ้นเปลือง เป็นการบริโภคสินค้าและบริการที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น อาหาร เชื้อเพลิง 2. การบริโภคแบบไม่สิ้นเปลือง เป็นการบริโภคสินค้าและบริการที่ค่อย ๆ เสื่อมสลายไป หรือหมด เปลืองไป เช่น เสื้อผ้า รถยนต์ ปัจจัยที่กาหนดการบริโภค 1. รายได้ของผู้บริโภค คือ ถ้ารายได้มากการบริโภคจะสูง แต่ถ้ารายได้น้อยการบริโภค ต้องการต่า 2. ราคาของสินค้า ถ้าราคาสินค้าต่าความต้องการซื้อมาก แต่ถ้าราคาลนค้าสูงความต้องการซื้อน้อย 3. รสนิยมของผู้บริโภค ความพอใจของผู้บริโภคขึ้นอยู่กับรสนิยมในการบริโภค ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ 4. เทคนิคการขาย โฆษณา การลดราคา การแลกเปลี่ยน (Exchange) หมายถึง การนาสินค้าและบริการมาแลกเปลี่ยนกันด้วยวิธีการต่าง ๆ ระหว่างบุคคล องค์กร หรือ หน่วยงาน โดยใช้วิธีกลไกของการแลกเปลี่ยน เช่น เงินตรา สถาบันการเงิน พ่อค้าคนกลาง เงิน คือ สิ่งที่สังคมยอมรับเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ได้แก่ - เหรียญกษาปณ์หรือเงินเหรียญ - ธนบัตร - เงินฝากกระแสรายวัน - บัตรเครดิต วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยน 1. การแลกเปลี่ยนสิ่งของกับสิ่งของ (Barter System) เป็นการนาสั่งของหรือสินค้าที่แต่ละคนเป็น เจ้าของมาแลกเปลี่ยนกัน เช่น น้าตาลแลกกับน้าปลา เป็นต้น 2. การแลกเปลี่ยนโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง (Money system) เป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ โดยใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เช่น เงิน เบี้ย หอย การแลกเปลี่ยนโดยการใช้บัตรเครดิต (Credit System) เป็นการแลกเปลี่ยนโดยอาศัยความเชื่อถือ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เช่น เช็ค กลไกของการแลกเปลี่ยน ตลาด (Market) หมายถึง สภาวะการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าและบริการโดยที่ผู้ซื้อและผู้ขาย สามารถตกลงแลกเปลี่ยนสินค้าซื้อขายกันได้ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์ หรือตลาดในอุดมคติ มีลักษณะดังนี้ - สินค้ามีคุณภาพเหมือนกัน
  • 8. - มีจานวนผู้ซื้อและผู้ขายมาก - การติดต่อซื้อขายทาได้อย่างเสรี - ราคาสินค้าจะเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามอุปสงค์และอุปทาน 2. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ มีลักษณะดังนี้ - เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อและผู้ขายน้อยราย - ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ลักษณะสินค้าแตกต่างกันเล็กน้อย หรือสามารถใช้ แทนกันได้
  • 9. ใบความรู้ที่ 5 อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply) อุปสงค์ (Demand) คือ ความต้องการของผู้บริโภคที่จะซื้อสินค้าและบริการ ในช่วงเวลาหนึ่งและราคาหนึ่ง รวมทั้งสถานที่ ที่ผู้บริโภคต้องการ กฎของอุปสงค์ กฎของอุปสงค์กล่าวไว้ว่า “ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อจะ แปรผกผันกับราคาของสินค้าและบริการนั้น” หมายความว่า ถ้าราคาสินค้าและบริการสูงปริมาณการเสนอซื้อ จะต่า แต่ถ้าราคาสินค้าและบริการต่าปริมาณการเสนอซื้อจะสูง ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ 1. รายได้ 2. ราคา 3. รสนิยม อุปทาน (Supply) คือ ความต้องการขายสินค้าและบริการที่ผู้ขายต้องการขายในเวลาใด เวลาหนึ่ง และราคาหนึ่งที่ ผู้ขายต้องการ กฎของอุปทาน กฎของอุปทานกล่าวไว้ว่า "ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ขายต้องการขายจะ แปรผกผันโดยตรงกับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้น” หมายความว่า เมื่อราคาสินค้าและบริการลดต่าลง ผู้ขายจะขายสินค้าน้อยลง และเมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นผู้ขายจะขายสินค้าเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยที่กาหนดอุปทาน 1. ต้นทุนการผลิต 2. ฤดูกาลในการผลิต 3. เทคนิคการผลิต 4. ข้อจากัดทางการค้า 5. สภาพตลาดหรือภาวะเศรษฐกิจ
  • 10. ใบความรู้ที่ 6 ราคา (Price) หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการที่คิดเป็นจานวนเงินเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายแลกเปลี่ยน กลไกแห่งราคา หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปตามแรงผลักดันของอุปสงค์และอุปทาน - ถ้าความต้องการซื้อมาก ความต้องการขายน้อย ราคาจะสูงขึ้น - ถ้าความต้องการซื้อน้อย ความต้องการขายจะเพิ่มขึ้น ราคาจะลดลง - ถ้าความต้องการซื้อเท่ากับความต้องการขาย ราคาจะเป็นราคาดุลยภาพ ราคาดุลยภาพหมายถึง ราคาของสินค้าในระดับที่ปริมาณการซื้อเท่ากับปริมาณการขาย ซึ่งจะเกิดขึ้นในตลาด ที่มีการแข่งขันสมบูรณ์
  • 11. ใบความรู้ที่ 7 การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ หมายถึง กระบวนการที่ทาให้รายได้ประชาชาติ และรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลเพิ่มขึ้น รวมทั้งการปรับปรุง คุณภาพชีวิตของประชากรให้ดีขึ้น จุดมุ่งหมายของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 2. เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3. เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการเมืองการปกครอง ความสาคัญของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ 1. ช่วยให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ช่วยให้ประชาชนมีมาตรูฐานการครองชีพที่สูงขึ้น 3. ช่วยให้เกิดการกระจายรายได้ 4. ช่วยเพิ่มรายได้ประชาชาติ 5. ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศมั่นคง ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ 1. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ เช่น การสะสมทุน เทคโนโลยี 2. ปัจจัยทางการเมือง เช่น ภาวะสงคราม 3. ปัจจัยทางสังคม เช่น การออมทรัพย์ ความขยัน 4. ปัจจัยทางเทคโนโลยี เช่น ความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 12. ใบความรู้ที่ 8 หลักเกณฑ์ที่ใช้วัดการพัฒนาเศรษฐกิจ 1. รายได้ประชาชาติ (NI) รายได้ประชาชาติ หมายถึง มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประชาชาติผลิตขึ้นใน ระยะเวลา 1 ปี ประเภทของรายได้ประชาชาติ 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้น ในระยะเวลาหนึ่งปี 2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) หมายถึง มูลค่ารวมของสิน ค้าและบริการขั้น สุดท้ายที่ประชาชาติของประเทศผลิตขึ้นในประเทศบวกรายได้สุทธิที่ได้รับจากต่างประเทศใน ระยะเวลาหนึ่งปี สูตรการคานวณหารายได้ประชาชาติ - รายได้ประชาชาติ (NI) = GNP - ค่าเสื่อมราคา - ภาษีทางอ้อม - ค่าเสื่อมราคา คือ ค่าเสื่อมของราคาทรัพย์สินที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ - ภาษีทางอ้อม คือ ภาษีที่รัฐบาลเก็บจากธรกิจประเภทต่าง ๆ เช่น ภาษีศุลกากร สรรพสามิต ภาษี การค้า 2. รายได้เฉลี่ยบุคคล คิดจากรายได้ประชาชาติ หารด้วยจานวนประชากร ถ้ารายได้เฉลี่ยต่อบุคคลสูง แสดงว่าระดับการ พัฒนาเศรษฐกิจสูง แต่ถ้ารายได้เฉลี่ยบุคคลต่า แสดงว่าระดับการพัฒนา เศรษฐกิจตกต่า
  • 13. ใบความรู้ที่ 9 การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย หมายถึง กระบวนการจัดทาแผนล่วงหน้าของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้บรรลุตาม เป้าหมาย ภายในระยะเวลาที่กาหนดขึ้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทยเกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ. 2475 โดยนายปรีดี พนมยงค์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ได้จัดตั้งสภาเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้น และใน ปี พ.ศ. 2502 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้จัดตั้งสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ปัจจุบันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติมีทั้งหมด 9 ฉบับ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ปี พ ศ 2504-2509 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ฉบับที่ 2 ปี พ.ศ. 2510-2514 เพื่อเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่กับการก่อสร้างโครงการพื้นฐานที่ จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต กระจายผลการพัฒนาสู่ชนบท ฉบับที่ 3 ปี พ.ศ. 2515-2519 เพื่อสร้างประโยชน์จากโครงการพื้นฐานและกระจายการพัฒนาไปสู่ ชนบท และกาหนดนโยบายประชากรขึ้นเป็นครั้งแรก มีการปฏิรูปที่ดินตามพระราชบัญญัติปฏิรูปที่ดิน ฉบับที่ 4 ปี พ.ศ. 2520-2524 คือ ปรับปรุงการบริหารทรัพยากรหลักของชาติ ฟื้นฟูเศรษฐกิจและ ขยายการส่งออก กระจายรายได้ให้กับประชาชน ฉบับที่ 5 ปี พ.ศ. 2525-2529 เน้นการพัฒนาแก้ไขปัญหาความยากจนกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาคที่ ยากจนและล้าหลัง ฉบับที่ 6 ปี พ.ศ. 2530-2534 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และรักษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจรวมทั้งการกระจายรายได้ให้เหมาะสม ฉบับที่ 7 ปี พ.ศ. 2535-2539 เพื่อการกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาค และ การพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ ฉบับที่ 8 ปี พ.ศ. 2540-2544 เพื่อระดมการออม ลดความยากจน อนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ และ สิ่งแวดล้อม และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในเมืองและคนชนบท เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยระดม ความคิดจากประชาชนและให้สื่อมวลชนเข้ามาร่วมพิจารณาวางแผนพัฒนาประเทศ ฉบับที่ 9 ปี พ.ศ. 2545-2549 เป็นแผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราช ดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยยึดหลักทาง สายกลาง ฉบับที่ 10ปี พ.ศ 2550 –2554 เน้นเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความรู้คู่คุณธรรมเพื่อนาไปสู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน ฉบับที่ 11 ปี พ.ศ 2555 - 2559 เน้นการ "ตั้งรับ" มากกว่า "รุก" โดยเน้นการป้องกันปัญหาจาก วิกฤตการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพราะเราเพิ่งผ่านวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก และวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศมาหมาดๆ การเน้น "ภูมิคุ้มกัน" นั้นเป็นเพียงเป้าหมายขั้นต่าเหมือนคนที่ปลอดโรค เพราะมีภูมิต้านทานโรค แต่ไม่ได้บอก ว่าสุขภาพแข็งแรงมีกาลังวังชาดีเพียงไร เชื่อว่าพวกเราไม่ได้ต้องการเพียงให้ประชาชนพอมีกินประชาชนควร จะ "กินดีอยู่ดี" และมี "คุณภาพชีวิต" ที่ดีขึ้นกว่าเดิม อีกนัยหนึ่ง ผลโดยรวมประเทศไม่ควรมีสถานะเพียงเกณฑ์ เฉลี่ยของประเทศอาเซียนด้วยกันหรือเพียงแต่ดีกว่า พม่า ลาว กัมพูชา บ้าง แต่เราควรจะตั้งเป้าหมายให้ ประเทศไทยมีความ "มั่งคั่ง" อยู่ในชั้นแนวหน้าของอาเซียน ที่จะแข่งขันกับประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ สิงคโปร์ได้ และตัวอย่างที่ดีๆ ของประเทศนอกอาเซียนอื่นๆ เช่น เกาหลี และจีน เป็นต้น
  • 14. ใบความรู้ที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ หมายถึง การดาเนินการติดต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประกอบด้วย การค้า การ ลงทุน การเงิน การรวมกลุ่มระหว่างประเทศ สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ 1. ประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่างกันในด้านทรัพยากร 2. ประเทศต่าง ๆ มีความสามารถในการผลิตไม่เหมือนกัน 3. ประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่างกันในด้านลักษณะทางกายภาพ เช่น สภาพดิน สภาพอากาศ และ ภูมิประเทศต่างกัน ประโยชน์ การค้าระหว่างประเทศ 1. เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคภายในประเทศ 2. ทาให้เกิดการแบ่งงานกันทา 3. เกิดการแข่งขันกันด้านคุณภาพของสินค้าและบริการ 4. เกิดความชานาญเฉพาะอย่างในการผลิตสินค้าที่ถนัดอย่างต่อเนื่อง
  • 15. ใบความรู้ที่ 11 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ 1. นโยบายการค้าแบบเสรี หมายถึง นโยบายที่รัฐบาลสนับสนุนให้มีการค้าระหว่างประเทศแบบไม่มีข้อจากัด เช่น ไม่มีการตั้ง กาแพงภาษีขาเข้า ไม่มีข้อจากัดทางการค้า 2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน หมายถึง นโยบายการค้าที่รัฐบาลมีมาตรการต่าง ๆ เพื่อจากัดการนาเข้าและส่งออกของสินค้า เช่น การตั้งกาแพงภาษี การกาหนดโควตาการนาเข้าและส่งออกการสนับสนุนเพื่อลดต้นทุนการผลิต และการผลิต ลนค้าหลาย ๆ อย่างเพื่อใช้ภายในประเทศเอง นโยบายการค้าของไทย 1. นโยบายทดแทนการนาเข้า เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นในการผลิตสินค้าและบริการภายในประเทศเพื่อที่จะไม่ต้องพึ่งพาสินค้าจาก ต่างประเทศ 2. นโยบายส่งเสริมการส่งออก เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นการส่งออกมากที่สุด และส่งเสริมอุตสาหกรรมภายในประเทศให้สามารถแข่งขัน กับต่างประเทศได้ ภาวะการค้าต่างประเทศของไทย 1. การส่งออก ประเทศไทยเคยส่งออกข้าวและยางพาราเป็นลนค้าสาคัญ ปัจจุบันลนค้าที่ส่งออก สาคัญ ได้แก่ เสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอ อัญมณี เครื่องประดับ เป็นต้น 2. การนาเข้า ประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันการนาเข้าไม่มีการเปลี่ยนแปลง สินค้าที่นาเข้าส่วน ใหญ่ ได้แก่ สินค้าประเภททุนและวัตถุดิบ 3. ประเทศคู่ค้าที่สาคัญของไทย ในการส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ยุโรป อาเซียน ส่วนประเทศที่นาเข้าประเทศไทยมากที่สุด ได้แก่ ญี่ปุ่น
  • 16. ใบความรู้ที่ 12 ดุลการค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าส่งออกกับมูลค่าสินค้านาเข้าของประเทศในระยะเวลา 1 ปี ประเภทของดุลการค้า 1. ดุลการค้าเกินดุล หมายถึง มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่าสินค้านาเข้า 2. ดุลการค้าขาดดุล หมายถึง มูลค่าสินค้า ส่งออกน้อยกว่ามูลค่าสินค้านาเข้า 3. ดุลการค้าสมดุล หมายถึง มูลค่าสินค้านาเข้าเท่ากับมูลค่าสินค้าส่งออก ดุลการชาระเงิน หมายถึง บัญชีที่แสดงรายรับและรายจ่ายเงินตราต่างประเทศภายในเวลา1 ปี แบ่งเป็น 4 บัญชี คือ 1. บัญชีเดินสะพัด คือ บัญชีที่แสดงรายการรับ-จ่าย เกี่ยวกับสินค้าและบริการ เช่น - ดุลการค้า คือ มูลค่าสินค้าเข้าและมูลค่าสินค้าออก - ดุลบริการ คือ รายรับและรายจ่าย จากค่าขนส่ง บริการ ค่าประกันภัย 2. บัญชีเงินโอนและบริจาค เป็นบัญชีแสดงรายรับและรายจ่ายเกี่ยวกับเงินได้เปล่าของรัฐบาลและ เอกชน 3. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย เป็นบัญชีที่แสดงการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ 4. บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีแสดงยอดสุทธิระหว่างรายรับและรายจ่ายของประเทศ ลักษณะดุลการชาระเงิน 1. ดุลการชาระเกินดุล หมายถึง รา0ปรับมากกว่ารายจ่าย 2. ดุลการชาระขาดดุล หมายถึง รายรับน้อยกว่ารายจ่าย 3. ดุลการชาระเงินสมดุล หมายถึง รายรับเท่ากับรายจ่าย ความสาคัญของดุลการชาระเงิน และทุนสารองระหว่างประเทศ 1. มีผลต่อทุนสารองระหว่างประเทศ คือ ถ้าดุลการชาระเกินดุล ทุนสารองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น แต่ถ้าดุลการชาระขาดดุล ทุนสารองระหว่างประเทศลดลง 2. ทุนสารองระหว่างประเทศ ได้แก่ ทองคา เงินตราต่างประเทศ หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางถือไว้ และทุนสารองกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ( I.M.F.)
  • 17. การแก้ไขดุลการชาระเงินขาดดุล 1. ลดการนาสันค้าเข้า 2. ส่งเสริมให้มีสันค้าออกมากที่สุด 3. ส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างประเทศ 4. ประชาชนไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย 5. ส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวจากต่างประเทศ 6. รัฐบาลควรลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็น 7. กู้เงินจากต่างประเทศ ใบความรู้ที่ 13 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ คือ การรวมตัวตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไปเพื่อประสานผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจในระหว่างกลุ่มเดียวกัน แบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่ 1. เขตการค้าเสรี หมายถึงประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิกไม่มีการเก็บภาษีนาเข้า ไม่กาหนดโควตา แต่ สามารถกาหนดอัตราภาษีแก่ประเทศที่ไม่เป็นสมาชิกได้ 2. สหภาพศุลกากร หมายถึง ประเทศสมาชิกเปิดการค้าเสรี แต่ประเทศนอกกลุ่มต้องตั้งกาแพงภาษี เหมือนกันหมด 3. ตลาดร่วม หมายถึง ประเทศสมาชิกทุกประเทศจะมีการเคลื่อนย้ายทุน สินค้า แรงงาน บริการ ได้ โดยเสรี 4. สหภาพเศรษฐกิจ หมายถึง ประเทศสมาชิกต้องใช้นโยบายเศรษฐกิจการค้า การลงทุน ร่วมกัน 5. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ หมายถึง การรวมตัวด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และ การเมืองเหมือนกัน
  • 18. ใบความรู้ที่ 14 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน องค์การการค้าโลก หรือ WTO ได้พัฒนาขึ้นจากองค์การแกตต์ หรือข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดอุปสรรคทางด้านภาษีศุลกากรของการค้าระหว่างประเทศ 2. เป็นเครื่องมือไห้ประเทศภาคีสมาชิกปฏิบัติตาม 3. เป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เจรจาไกล่เกลี่ยทางการค้าของประเทศภาคีสมาชิกประเทศที่เป็น สมาชิกมีประมาณ 185 ประเทศ ประเทศไทยเป็นสมาชิกอันดับที่ 87 เขตการค้าเสรีอาเซียน หรืออาฟต้า (AFTA) เป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน สาหรับกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งขึ้นโดยอดีต นายกรัฐมนตรีของไทยนายอานันท์ ปันยารชุน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประเทศสมาชิกลดอัตราภาษีสินค้าอุตสาหกรรมให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายใน 15 ปี เริ่มจาก 1 มกราคม พ.ศ. 2537 ถึง 1 มกราคม พ.ศ. 2551 ประเทศสมาชิกประกอบด้วย อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปชิฟิก หรือเอเปค (APEC) ก่อตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ในการค้าเสรีและการลงทุนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการเปิดการค้าเสรีและการลงทุนในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก สาหรับประเทศพัฒนาแล้วจะ ดาเนินการเปิดการค้าเสรีให้เสร็จในปี ค.ศ. 2010 และประเทศที่กาลังพัฒนาจะดาเนินการเปิดการค้าเสรีให้ เสร็จในปี ค.ศ. 2020 2. ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ เพื่อขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประเทศสมาชิกปัจจุบันมี ทั้งหมด 21 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลีใต้ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เม็กซิโก ปาปัวนิวกินี ชิลี เปรู รัสเซีย เวียดนาม และไทย
  • 19. สหภาพยุโรป หรือ EU สหภาพยุโรป หรือ EU เป็นการรวมตัวของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจยุโรป เรียกว่า สหภาพยุโรป วัตถุประสงค์ ประชาคมยุโรป 15 ประเทศได้รวมตัวเป็นตลาดเดียว เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ - เพื่อการเคลื่อนย้ายสินค้าของประเทศสมาชิกได้โดยเสรี - เพื่อประชากรของประเทศสมาชิกสามารถประกอบอาชีพข้ามชาติได้ เดินทางและตั้งถิ่น ฐานในต่างชาติได้ - มีการลงทุนในประเทศสมาชิกโดยเสรี - ใช้ระบบเงินสกุลเดียวกัน คือ เอกู ประเทศสมาชิกประกอบด้วย ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สเปน กรีซโปรตุเกส สวีเดน ฟินแลนด์ ออสเตรเลีย
  • 20. ใบความรู้ที่ 15 ปัญหาเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย สาเหตุของการขาดดุลการค้าระหว่างประเทศของไทย 1. มีมูลค่าการนาเข้าสินค้าปริมาณมากกว่ามูลค่าการส่งออก 2. การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมภายในประเทศยังต้องพึ่งพิงสินค้านาเข้าจากต่างประเทศ 3. ประชาชนนิยมบริโภคสินค้าจากต่างประเทศมากขึ้น ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด สาเหตุของการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 1. การอ่อนตัวลงของค่าเงินบาท เมื่อเทียบกับเงินเยนและเงินดอลลาร์ ทาให้สินค้านาเข้ามี ราคาสูงขึ้น 2. มีการนาเข้าสินค้าในปริมาณสูงขึ้นโนสินค้าประเภททุน รถยนต์ และอะไหล่ของรถยนต์ 3. มีการนาเข้าสินค้าพิเศษ เช่น อาวุธ เครื่องบิน 1. ขาดเงินออมในประเทศที่ไม่เพียงพอกับการลงทุนที่สูงขึ้น จาเป็นต้องกู้ยืมเงินจากต่าง ประเทศ ผลกระทบของการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 1. แสดงถึงเสถียรภาพของค่าเงินบาทในตลาดโลก 2. ส่งผลกระทบต่อความมั่นใจในการลงทุนจากต่างประเทศ 3. แสดงฐานะการเงินของประเทศให้เห็นว่าประเทศไทยเป็นหนี้ต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น