SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
Descargar para leer sin conexión
โครงงานภาษาไทย
          โดย ครูณฐญา กาลันสีมา
                  ั
ครู ช้านาญการ โรงเรียนถ้าปินวิทยาคม สพม.36
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระภาษาไทย
- กาเมียงลับแลแป๋ เป็ นไทย(ภาษาถิ่นลับแลแปลเป็ นภาษาไทยกลาง) โรงเรียน
  เทศบาลวัดคลองโพธิ์
  - คิดสนุกวรรณยุกต์พาเพลิน โรงเรียนเทศบาลท่าอิฐ
  - ปริศนาคาทาย ฉายความหมาย โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด(กวีธรรมสาร)
  - การใช้ภาษาของกลุมบุคคลในวงการเมือง วงการธุรกิจและวงการบันเทิง จาก
                      ่
  หนังสือพิมพ์ โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา
ความหมาย
       โครงงานหมายถึง กิจกรรมทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ศึกษา
 ค้นคว้าและลงมือปฏิบติดวยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และ
                    ั ้
 ความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่น
 ใดไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่องนันๆ ้
ประเภทของโครงงาน
๑.๑ โครงงานประเภทสารวจ
              โครงงานประเภทสารวจ เป็ นโครงงานประเภทเก็บ
  รวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปั ญหาหรือสารวจความคิด
               ่                                ่
  เห็น ข้อมูลทีรวบรวมได้บางอย่างอาจเป็ นปั ญหาทีนาไปสูการ
                                                      ่
                                     ่ ้
  ทดลองหรือค้นพบสาเหตุ ของปั ญหาทีตองหาวิธีแก้ไขปรับปรุง
                                   ่ ั
  ร่วมกัน เช่น โครงงานการสารวจคาทีมกเขียนผิด โครงงาน
  สารวจการใช้คาคะนองในหนังสือพิมพ์ เป็ นต้น
 ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง
            โครงงานประเภทการทดลอง เป็ นโครงงานที่ตองออกแบบ
                                                  ้
 ทดลอง เพื่อการศึกษาผลการทดลองว่าเป็ นไปตามที่ตงสมมติฐานไว้
                                               ั้
 หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ตองสรุปความรูหรือผลการทดลองเป็ น
                          ้            ้
 หลักการหรือแนวทางการ ปฏิบติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุง
                             ั
 จากพืชสมุนไพร โครงงานการทดลองปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ย
 วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น
 ๑.๓                   ่
       โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์
            โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็ นโครงงานทีประยุกต์
                                                         ่
 หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่กระบวนการปฏิบติ โดยอาศัยเครื่องมือ
                                                  ั
 วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ช้ ินงานใหม่ อาจเป็ นของใช้ เครื่องประดับ
 จากวัสดุเหลือใช้ หรือนาวัสดุทองถิ่นทีมีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์
                                 ้     ่
 เช่น โครงงานการประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการ
 ประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
 โครงงานประเภททฤษฎี
                                                   ่ ั
               โครงงานประเภททฤษฎี เป็ นโครงงานทีมีลกษณะเป็ นการ
  หาความรูใ้ หม่ โดยการรวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์จากสถิติแล้ว
  อภิปราย หรือเป็ นโครงงานทีศึกษาค้นคว้าข้อมูลทีเ่ กิดจากข้อสงสัย
                               ่
  อาจเป็ นการนาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู ้
  ในแง่มุม ที่กว้างและลึกกว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคาซ้อนใน
  วรรณคดีรอยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่องพระมโหสถชาดก
             ้
  เป็ นต้น
ขันตอนการทาโครงงาน
  ้
         การทาโครงงานมีขนตอนการปฏิบติ ดังนี้
                        ั้         ั
                                   ่                                  ่
     ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรือง ผูเ้ รียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรืองของ
    โครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรืองของ  ่
    โครงงานมักจะได้มาจากปั ญหา คาถามหรือความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับเรือง
                                                           ้              ่
    ต่างๆ ของผูเ้ รียนเอง หัวเรืองของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใคร
                                ่
         ่ ่ ่                           ่
    ได้อานชือเรืองแล้วควรเข้าใจและรูเ้ รืองว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัว
       ่                          ่
    เรืองของโครงงานนันมีแหล่งทีจะช่วยกระตุนให้เกิดความคิดและ ความสนใจหลาย
                        ้                      ้
    แหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยียมชมสถานที่
                                                                   ่
    ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวด
    โครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกต
    ปรากฏการณ์ตางๆ รอบตัว เป็ นต้น
                     ่
นอกจากนี้ ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
          - ความเหมาะสมของระดับความรู ้ ความสามารถของผูเ้ รียน
                               ่
             - วัสดุ อุปกรณ์ ทีใช้
             - งบประมาณ
             - ระยะเวลา
             - ความปลอดภัย
             - แหล่งความรู ้
 ๒.๒     การวางแผน
               การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครง
 ของโครงงาน ซึงต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการ
                  ่
 เป็ นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สบสน แล้วนาเสนอต่อผูสอนหรือ
                                  ั                    ้
 ครูทปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขัน ต่อไป การเขียน
       ี่                                      ้
 เค้าโครงของโครงงาน โดยทัวไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และ
                           ่
 ขันตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
   ้
                  ๑) ชือโครงงาน ควรเป็ นข้อความทีกะทัดรัด ชัดเจน สื่อ
                         ่                               ่
    ความหมายได้ตรง
                           ่ ้
                   ๒) ชือผูทาโครงงาน
                        ่ ่
                   ๓) ชือทีปรึกษาโครงงาน
                   ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็ นการอธิบายว่าเหตุใด
                               ่
    จึงเลือกทาโครงงานเรืองนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไร
    ทีเ่ กี่ยวข้อง เรืองทีทาเป็ นเรืองใหม่หรือมีผูอนได้ศึกษาค้นคว้าเรืองนี้ไว้บาง
                      ่ ่           ่             ้ ื่                ่         ้
    แล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรืองทีทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องทีผูอน
                                  ่ ่                                         ่ ้ ่ื
    ทาไว้อย่างไร หรือเป็ นการทาซาเพื่อตรวจสอบผล
                                       ้
                   ๕) จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และ
                             ่
                                                       ่
    สามารถวัดได้ เป็ นการบอกขอบเขตของงานทีจะทาได้ชดเจนขึ้น   ั
                ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็ นคาตอบ
                     ่               ่
    หรือคาอธิบายทีคาดไว้ล่วงหน้า ซึงอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควร
                                             ่                        ่
    มีเหตุมผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และทีสาคัญ คือ เป็ นข้อความทีมองเห็น
           ี
    แนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัว
    แปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
                ๗) วิธดาเนินงานและขันตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะ
                       ี               ้
    ออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทังระบุวสดุอุปกรณ์ท่ี
                                                             ้    ั
    จาเป็ นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
                ๘) แผนปฏิบตงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตังแต่เริมต้นจนเสร็จ
                              ัิ                               ้    ่
    สิ้นการดาเนินงานในแต่ละขันตอน้
                         ่
                ๙) ผลทีคาดว่าจะได้รบ
                                   ั
                ๑๐) เอกสารอ้างอิง
 ๒.๓    การดาเนินงาน เมื่อทีปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครง
                             ่
                                 ้        ั          ้     ่
 ของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็ นขันลงมือปฏิบติงานตามขันตอนทีระบุไว้
 ผูเ้ รียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และ
          ่
 สถานทีให้พร้อมปฏิบติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความ
                      ั
 ประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ
 ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร
 พยายามบันทึกให้เป็ นระเบียบและครบถ้วน
 ๒.๔  การเขียนรายงาน
               การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็ นวิธีสื่อความหมาย
 วิธีหนึ่งทีจะให้ผูอื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลทีได้
            ่      ้                                           ่
 ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ทีเ่ กี่ยวกับโครงงานนัน การ ้
                                 ่่
 เขียนโครงงานควรใช้ภาษาทีอานแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุม
 ประเด็นสาคัญๆ ทังหมดของโครงงาน
                        ้
 ๒.๕ การนาเสนอผลงาน
              การนาเสนอผลงาน เป็ นขันตอนสุดท้ายของการทา
                                    ้
 โครงงานและเข้าใจถึงผลงานนัน การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลาย
                              ้
 รูปแบบ ขึ้นอยูกบความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา
                 ่ ั
 ระดับของผูเ้ รียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียน
                                                        ่
 รายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึงอาจมีทง      ั้
 การจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การ
 บรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนันดึงดูดความ
                                                  ้
 สนใจของผูชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา
            ้
๓. การเขียนรายงานโครงงาน
     การเขียนรายงานโครงงาน เป็ นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอ
                   ่
 ผลงานของโครงงานทีผูเ้ รียนได้ศึกษาค้นคว้า ตังแต่ตนจนจบ การ
                                             ้ ้
 กาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกัน
 ทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับ
 ประเภทของโครงงานและระดับชันของ ผูเ้ รียน องค์ประกอบของการ
                              ้
 เขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็ น ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย
                    ่
             ๑) ชือโครงงาน
                        ่ ้                                ี่ ั
             ๒) ชือผูทาโครงงาน ชัน โรงเรียน และวันเดือนปี ทจดทา
                                  ้
                      ่        ี่
             ๓) ชืออาจารย์ทปรึกษา
             ๔) คานา
             ๕) สารบัญ
             ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
                            ้ ่                        ่             ่
             ๗) บทคัดย่อสันๆ ทีบอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึงประกอบด้วย เรือง
  วัตถุประสงค์ วิธการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล
                  ี
             ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงาน
    ่
  ทีให้ความช่วยเหลือหรือมีสวนเกี่ยวข้อง
                             ่
่
 ๒. ส่วนเนื้อเรือง
          ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
          ๑) บทนา บอกความเป็ นมา ความสาคัญของโครงงาน
บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน
          ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
          ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็ นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การ
                              ่
 ดาเนินงานเป็ นไปตามหัวข้อเรือง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และ
                                           ่
 พิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นทีกาหนด ดังตัวอย่างการเขียน
 แผนผังโครงงานต่อไปนี้
            ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย
                                   ่ ่ ่ ้
 มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้วาสิงทีตองการทราบ คือ หัวข้อย่อย
 หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละ
 หัวข้อ พร้อมทังบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตาม
               ้
                        ่ ่ ้
 แผนผังให้ครบทุกข้อ สิงทีตองการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่ง
                                         ่             ่ ้
 ศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรืองของโครงงานทีตองการหา
 คาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต
 ศึกษาโดยการดู-ฟั ง จากสือชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
                          ่
๕) สรุปผลการศึกษา เป็ นการอธิบายคาตอบทีได้จาก
                                               ่
การศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ตองการทราบ ว่าเป็ นไปตาม
                                 ้
สมมติฐานหรือไม่
         ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานทีได้่
และบอกข้อจากัดหรือปั ญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทังบอก
                                                ้
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
๓. ส่วนท้าย

              ส่วนท้าย ประกอบด้วย
                ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารทีใช้คนคว้า ซึ่งมีหลาย
                                                                   ่ ้
                                                        ่
   ประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึงจะมีวธีการเขียนบรรณานุกรม
                                                              ิ
   ต่างกัน เช่น
                           ่              ่                 ่                     ่
                หนังสือ ชือ นามสกุล. ชือหนังสือ. สถานทีพิมพ์ : สานักพิมพ์, ปี ทีพิมพ์
                บทความในวารสาร ชือผูเ้ ขียน "ชือบทความ," ชือวารสาร. ปี ทีหรือเล่มที่
                                        ่           ่           ่               ่
   : หน้า ;วัน เดือน ปี .
                คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ ชือผูเ้ ขียน "ชือคอลัมน์ : ชือเรื่องในคอลัมน์"
                                            ่             ่            ่
     ่
   ชือหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี . หน้า.
                ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บท
   สัมภาษณ์
เข้าใจแล้ว ก็ลงมือทาโครงงานภาษาไทยได้เลยจ้า

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
Methaporn Meeyai
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Sattawat Backer
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
Lakkana Wuittiket
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
พัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 

Similar a โครงงานภาษาไทย

การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
Pongtong Kannacham
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
powe1234
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6
nay220
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
natjira
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
pompameiei
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
pompameiei
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Atthaphon45614
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
Singto Theethat
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
Tanawan Janrasa
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
yutict
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
wipawanmmiiww
 

Similar a โครงงานภาษาไทย (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
001
001001
001
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 

Más de โก๋แก่ มันทุกเม็ด (7)

การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญาใหม่
 
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2
ย้ายคืนถิ่นครูณัฐญา2
 
การสร้างงาน Adobe flash cs3
การสร้างงาน Adobe flash cs3การสร้างงาน Adobe flash cs3
การสร้างงาน Adobe flash cs3
 
Obec Award
Obec AwardObec Award
Obec Award
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 

โครงงานภาษาไทย

  • 1. โครงงานภาษาไทย โดย ครูณฐญา กาลันสีมา ั ครู ช้านาญการ โรงเรียนถ้าปินวิทยาคม สพม.36
  • 2. ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระภาษาไทย - กาเมียงลับแลแป๋ เป็ นไทย(ภาษาถิ่นลับแลแปลเป็ นภาษาไทยกลาง) โรงเรียน เทศบาลวัดคลองโพธิ์ - คิดสนุกวรรณยุกต์พาเพลิน โรงเรียนเทศบาลท่าอิฐ - ปริศนาคาทาย ฉายความหมาย โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด(กวีธรรมสาร) - การใช้ภาษาของกลุมบุคคลในวงการเมือง วงการธุรกิจและวงการบันเทิง จาก ่ หนังสือพิมพ์ โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา
  • 3.
  • 4. ความหมาย โครงงานหมายถึง กิจกรรมทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบติดวยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และ ั ้ ความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่น ใดไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่องนันๆ ้
  • 5. ประเภทของโครงงาน ๑.๑ โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทสารวจ เป็ นโครงงานประเภทเก็บ รวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปั ญหาหรือสารวจความคิด ่ ่ เห็น ข้อมูลทีรวบรวมได้บางอย่างอาจเป็ นปั ญหาทีนาไปสูการ ่ ่ ้ ทดลองหรือค้นพบสาเหตุ ของปั ญหาทีตองหาวิธีแก้ไขปรับปรุง ่ ั ร่วมกัน เช่น โครงงานการสารวจคาทีมกเขียนผิด โครงงาน สารวจการใช้คาคะนองในหนังสือพิมพ์ เป็ นต้น
  • 6.  ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทการทดลอง เป็ นโครงงานที่ตองออกแบบ ้ ทดลอง เพื่อการศึกษาผลการทดลองว่าเป็ นไปตามที่ตงสมมติฐานไว้ ั้ หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ตองสรุปความรูหรือผลการทดลองเป็ น ้ ้ หลักการหรือแนวทางการ ปฏิบติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุง ั จากพืชสมุนไพร โครงงานการทดลองปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ย วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น
  • 7.  ๑.๓ ่ โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็ นโครงงานทีประยุกต์ ่ หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่กระบวนการปฏิบติ โดยอาศัยเครื่องมือ ั วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ช้ ินงานใหม่ อาจเป็ นของใช้ เครื่องประดับ จากวัสดุเหลือใช้ หรือนาวัสดุทองถิ่นทีมีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ้ ่ เช่น โครงงานการประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการ ประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
  • 8.  โครงงานประเภททฤษฎี ่ ั โครงงานประเภททฤษฎี เป็ นโครงงานทีมีลกษณะเป็ นการ หาความรูใ้ หม่ โดยการรวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์จากสถิติแล้ว อภิปราย หรือเป็ นโครงงานทีศึกษาค้นคว้าข้อมูลทีเ่ กิดจากข้อสงสัย ่ อาจเป็ นการนาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู ้ ในแง่มุม ที่กว้างและลึกกว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคาซ้อนใน วรรณคดีรอยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่องพระมโหสถชาดก ้ เป็ นต้น
  • 9. ขันตอนการทาโครงงาน ้ การทาโครงงานมีขนตอนการปฏิบติ ดังนี้ ั้ ั  ่ ่ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรือง ผูเ้ รียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรืองของ โครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรืองของ ่ โครงงานมักจะได้มาจากปั ญหา คาถามหรือความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับเรือง ้ ่ ต่างๆ ของผูเ้ รียนเอง หัวเรืองของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใคร ่ ่ ่ ่ ่ ได้อานชือเรืองแล้วควรเข้าใจและรูเ้ รืองว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัว ่ ่ เรืองของโครงงานนันมีแหล่งทีจะช่วยกระตุนให้เกิดความคิดและ ความสนใจหลาย ้ ้ แหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยียมชมสถานที่ ่ ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวด โครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกต ปรากฏการณ์ตางๆ รอบตัว เป็ นต้น ่
  • 10. นอกจากนี้ ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้  - ความเหมาะสมของระดับความรู ้ ความสามารถของผูเ้ รียน ่ - วัสดุ อุปกรณ์ ทีใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู ้
  • 11.  ๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครง ของโครงงาน ซึงต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการ ่ เป็ นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สบสน แล้วนาเสนอต่อผูสอนหรือ ั ้ ครูทปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขัน ต่อไป การเขียน ี่ ้ เค้าโครงของโครงงาน โดยทัวไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และ ่ ขันตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ้
  • 12. ๑) ชือโครงงาน ควรเป็ นข้อความทีกะทัดรัด ชัดเจน สื่อ ่ ่ ความหมายได้ตรง ่ ้ ๒) ชือผูทาโครงงาน ่ ่ ๓) ชือทีปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็ นการอธิบายว่าเหตุใด ่ จึงเลือกทาโครงงานเรืองนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไร ทีเ่ กี่ยวข้อง เรืองทีทาเป็ นเรืองใหม่หรือมีผูอนได้ศึกษาค้นคว้าเรืองนี้ไว้บาง ่ ่ ่ ้ ื่ ่ ้ แล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรืองทีทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องทีผูอน ่ ่ ่ ้ ่ื ทาไว้อย่างไร หรือเป็ นการทาซาเพื่อตรวจสอบผล ้ ๕) จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และ ่ ่ สามารถวัดได้ เป็ นการบอกขอบเขตของงานทีจะทาได้ชดเจนขึ้น ั
  • 13. ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็ นคาตอบ ่ ่ หรือคาอธิบายทีคาดไว้ล่วงหน้า ซึงอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควร ่ ่ มีเหตุมผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และทีสาคัญ คือ เป็ นข้อความทีมองเห็น ี แนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธดาเนินงานและขันตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะ ี ้ ออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทังระบุวสดุอุปกรณ์ท่ี ้ ั จาเป็ นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบตงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตังแต่เริมต้นจนเสร็จ ัิ ้ ่ สิ้นการดาเนินงานในแต่ละขันตอน้ ่ ๙) ผลทีคาดว่าจะได้รบ ั ๑๐) เอกสารอ้างอิง
  • 14.  ๒.๓ การดาเนินงาน เมื่อทีปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครง ่ ้ ั ้ ่ ของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็ นขันลงมือปฏิบติงานตามขันตอนทีระบุไว้ ผูเ้ รียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และ ่ สถานทีให้พร้อมปฏิบติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความ ั ประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็ นระเบียบและครบถ้วน
  • 15.  ๒.๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็ นวิธีสื่อความหมาย วิธีหนึ่งทีจะให้ผูอื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลทีได้ ่ ้ ่ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ทีเ่ กี่ยวกับโครงงานนัน การ ้ ่่ เขียนโครงงานควรใช้ภาษาทีอานแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุม ประเด็นสาคัญๆ ทังหมดของโครงงาน ้
  • 16.  ๒.๕ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็ นขันตอนสุดท้ายของการทา ้ โครงงานและเข้าใจถึงผลงานนัน การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลาย ้ รูปแบบ ขึ้นอยูกบความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ่ ั ระดับของผูเ้ รียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียน ่ รายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึงอาจมีทง ั้ การจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การ บรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนันดึงดูดความ ้ สนใจของผูชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา ้
  • 17. ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน เป็ นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอ ่ ผลงานของโครงงานทีผูเ้ รียนได้ศึกษาค้นคว้า ตังแต่ตนจนจบ การ ้ ้ กาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกัน ทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับ ประเภทของโครงงานและระดับชันของ ผูเ้ รียน องค์ประกอบของการ ้ เขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็ น ๓ ส่วน ดังนี้
  • 18. ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ่ ๑) ชือโครงงาน ่ ้ ี่ ั ๒) ชือผูทาโครงงาน ชัน โรงเรียน และวันเดือนปี ทจดทา ้ ่ ี่ ๓) ชืออาจารย์ทปรึกษา ๔) คานา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ้ ่ ่ ่ ๗) บทคัดย่อสันๆ ทีบอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึงประกอบด้วย เรือง วัตถุประสงค์ วิธการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล ี ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงาน ่ ทีให้ความช่วยเหลือหรือมีสวนเกี่ยวข้อง ่
  • 19. ่ ๒. ส่วนเนื้อเรือง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็ นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
  • 20. ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็ นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การ ่ ดาเนินงานเป็ นไปตามหัวข้อเรือง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และ ่ พิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นทีกาหนด ดังตัวอย่างการเขียน แผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย ่ ่ ่ ้ มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้วาสิงทีตองการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละ หัวข้อ พร้อมทังบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตาม ้ ่ ่ ้ แผนผังให้ครบทุกข้อ สิงทีตองการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่ง ่ ่ ้ ศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรืองของโครงงานทีตองการหา คาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟั ง จากสือชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ่
  • 21. ๕) สรุปผลการศึกษา เป็ นการอธิบายคาตอบทีได้จาก ่ การศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ตองการทราบ ว่าเป็ นไปตาม ้ สมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานทีได้่ และบอกข้อจากัดหรือปั ญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทังบอก ้ ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
  • 22. ๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารทีใช้คนคว้า ซึ่งมีหลาย ่ ้ ่ ประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึงจะมีวธีการเขียนบรรณานุกรม ิ ต่างกัน เช่น ่ ่ ่ ่ หนังสือ ชือ นามสกุล. ชือหนังสือ. สถานทีพิมพ์ : สานักพิมพ์, ปี ทีพิมพ์ บทความในวารสาร ชือผูเ้ ขียน "ชือบทความ," ชือวารสาร. ปี ทีหรือเล่มที่ ่ ่ ่ ่ : หน้า ;วัน เดือน ปี . คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ ชือผูเ้ ขียน "ชือคอลัมน์ : ชือเรื่องในคอลัมน์" ่ ่ ่ ่ ชือหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี . หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บท สัมภาษณ์