SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
1
ใบกิจกรรม 2.1
1. ในการสอบปลายปีของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต 450 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 75 คะแนน ในการตัดสินถือเกณฑ์ว่าต้องได้ 500 คะแนน จึงจะสอบได้ถามว่าคนที่สอบได้นั้นจะต้อง
ได้ค่ามาตรฐานอย่างต่าที่สุดเท่าใด ตอบ จะต้องได้ค่ามาตรฐานอย่างต่าที่สุด 0.67
2. กรรมกรกลุ่มหนึ่งมีความสูงเฉลี่ยเป็น 150 ซม. และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความสูงของกรรมกรกลุ่มนี้มีค่า
เป็น 10 ซม. ถ้ากาหนดการคัดเลือกให้ทางานอย่างหนึ่งโดยถือเกณฑ์ว่า จะต้องได้ค่ามาตรฐานความสูงเป็น 2.5
กรรมกรที่มีความสูงตั้งแต่เท่าไรขึ้นไปจึงจะได้รับการคัดเลือก ตอบ มีความสูงตั้งแต่ 175 เซนติเมตรขึ้นไป
3.ในการสอบวิชาหนึ่งปรากฏว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เป็น 18 คะแนน เกณฑ์
การตัดสินต้องได้คะแนนคิดเป็นค่ามาตรฐานไม่ต่ากว่า 1.5 ปรากฏว่าผู้ที่ได้คะแนนต่ากว่า 117 คะแนนถือว่า
สอบตก ถามว่าในการสอบคราวนี้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เป็นเท่าใด
ตอบ X = 90 คะแนน
4.ในการสอบคราวหนึ่งของนักเรียนห้องหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ยเป็น 575 คะแนน ถ้า นาย ก. เป็นนักเรียนห้อง
นี้ และสอบได้คะแนน 705 คะแนน ซึ่งคิดเป็นค่ามาตรฐานได้เท่ากับ 2 ถามว่า ในการสอบคราวนี้ ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับเท่าใด ตอบ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 65 คะแนน
5.ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนที่นายฉลาดทาได้เท่ากับ 30 คะแนน คิดเป็น
ค่ามาตรฐาน 1 ส่วนคะแนนที่นายขยันทาได้เท่ากับ 15 คะแนน คิดเป็นค่ามาตรฐาน -2 จงคานวณว่า ในการสอบคราว
นี้นักเรียนห้องนั้นทาคะแนนเฉลี่ยได้เป็นเท่าใด และค่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นเท่าใด
ตอบ S = 5 , X = 25
6.ก. และ ข. สอบวิชาเดียวกัน แต่ข้อสอบต่างกัน ก. สอบได้คะแนน 85 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตห้องที่ ก. สอบเป็น 90
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 8 ส่วน ข. สอบได้คะแนน 50 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนห้องที่ ข. สอบเป็น 75
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 50 จงพิจารณาผลการสอบว่าของใครดีกว่ากัน
ตอบ Zก = - 0.60 , Zข = - 0.50 จะได้ว่า ข เรียนดีกว่า ก
7.โรงเรียนมาลาวิทยา มีการประเมินผลโดยใช้คะแนนมาตรฐานในการสอบ ปรากฏว่า น.ส.ใจดี ขยันจริง สอบได้
คะแนนมาตรฐานเป็น 2.00 ในการสอบครั้งนั้น ค้าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเป็น 300 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน
มารตฐานเป็น 33 คะแนน ถ้าคะแนนเต็มในการสอบเท่ากับ 600 คะแนน จงหาว่า น.ส.ใจดี ขยันจริง สอบได้กี่
เปอร์เซ็นต์ ตอบ น.ส.ใจดี สอบได้ 61 %
8.ในการสอบคัดเลือกเข้าทางานแห่งหนึ่ง มีวิชาที่ต้องสอบ 2 วิชา ปรากฏว่าจากผู้สมัครทั้งหมดมีผู้ที่ได้คะแนนกัน
สูงสุด 3 คน คือ นายสมศักดิ์ น.ส. ฉวีวรรณ และนายนิพนธ์ ซึ่งได้คะแนนในแต่ละวิชา ดังนี้
วิชาที่ 1 วิชาที่2
นายสมศักดิ์ 70 72
น.ส. ฉวีวรรณ 80 65
นายนิพนธ์ 72 73
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 75 70
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 10
2
ถ้าหน่วยงานแห่งนี้ต้องการรับเพียงคนเดียวและสารองหนึ่งคน ผู้ที่จะได้รับการคัดเลือกไว้เป็นตัวจริงและ
ตัวสารองคือใคร ตอบ Z สมศักดิ์ = - 0.4 , Z ฉวีวรรณ = - 0.5 , Z นิพนธ์ = - 0.15
Z ของฉวีวรรณมากที่สุด และรองลงมาคือนิพนธ์ ตัวจริงคือ ฉวีวรรณ สารองคือ นิพนธ์
9.ตารางต่อไปนี้ เป็นผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนโรงเรียนแห่งหนึ่ง
จานวนผู้สมัคร คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คณิตศาสตร์
ฝรั่งเศส
200
100
76
80
10
20
ถ้านายขยันสอบ วิชา คณิตศาสตร์ได้ 82 คะแนน และวิชาฝรั่งเศสได้ 90 คะแนน นายขยันเรียนวิชาอะไรดีกว่ากัน
ตอบ Zคณิต = 0.6 , Zฝรั่งเศส = 0.5 ดังนั้น นายขยันเรียนวิชาคณิตศาสตร์ดีกว่าฝรั่งเศส
10.ในการสอบคราวหนึ่ง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2 ถ้านาย ก. สอบได้คะแนนคิด
เป็นค่ามาตรฐานต่างกับนาย ข. อยู่ 1 อยากทราบว่าคะแนนดิบที่แต่ละคนสอบได้คะแนนต่างกันเท่าใด และถ้าทั้งสอง
คนสอบได้คะแนนดิบต่างกัน 5 คะแนน ค่ามาตรฐานของคะแนนทั้งสองต่างกันเท่าไร ตอบ Zก – Zข = 2.5
11.ในการสอบคราวหนึ่ง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 10 ถ้านายดา และนายแดง สอบได้
คะแนนคิดเป็นค่ามาตรฐานแล้วรวมกันเป็น 3 จงหาผลรวมของคะแนนทั้งสองคนสอบได้รวมกัน
ตอบ Xดา + Xแดง = 130
12.จงตัดสินว่าผลการสอบของนักเรียน 3 คน ได้คะแนนตามตารางข้างล่างนี้ ใครดีกว่ากัน
วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์
นายเอกชัย
นายสุรินทร์
นายนิพนธ์
คะแนนเฉลี่ยทั้งสองห้อง
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
70
75
68
70
5
60
55
72
65
10
83
79
67
75
8
85
88
75
70
15
ตอบ เอกชัยZ = 0.375 สุรินทร์
Z = 0.425 นิพนธ์
Z = - 0.1
สุรินทร์
Z มีค่ามากที่สุด ดังนั้น สรินทร์เก่งที่สุดรองลงมาคือ เอกชัยและนิพนธ์ ตามลาดับ
ใบกิจกรรมที่ 2.2
1. ด.ช. วิชัย สอบได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้น ม. 3 และ ม.4 เป็น 75 คะแนน และ 80 คะแนน
ตามลาดับ ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนทุกคนใน
ชั้น ม.3 ที่ ด.ช. วิชัย เรียนอยู่เท่ากับ 70 และ 15 คะแนน และของนักเรียนทุกคนในชั้น ม. 4 เท่ากับ 80 และ 20
คะแนน ตามลาดับ ด.ช.วิชัย เรียนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นไหนได้ดีกว่ากัน
ตอบ 3mZ =
15
7075
=
15
5
= 0.33
4mZ =
20
8080
= 0
3
2. ในการทดสอบเวลาที่ใช้วิ่งแข่งระยะทาง 100 เมตร ของนักกีฬาในโรงเรียนแห่งหนึ่ง เพื่อคัดเลือก
ตัวแทนไปทาการแข่งขันกับโรงเรียนอื่นจะถือว่าผู้ที่ผ่านการทดสอบจะต้องได้ค่ามาตรฐานของเวลาที่ใช้
ไม่สูงกว่า 1.0 ถ้าจากผลการทดสอบ ปรากฏว่านักกีฬาที่ใช้เวลามากกว่า 12 วินาที ไม่ผ่านการทดสอบ ถามว่า
ในการทดสอบคราวนี้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเป็นเท่าไร ถ้าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาเป็น 1.1 วินาที
ตอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาเท่ากับ 13.1 วินาที
3. ถ้าคะแนนสอบวิชาต่างๆ ของ ด.ญ.จิตรา ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแต่ละ
วิชาของนักเรียนทั้งหมดในชั้นที่ ด.ญ.จิตรา เรียนอยู่เป็นดังนี้
วิชา คะแนนที่สอบได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตร์
80
60
70
85
75
65
15
20
5
ด.ญ. จิตรา เรียนวิชาไหนดีกว่ากัน
ตอบ Zไทย =
15
8580
= -
15
5
= -0.33
Zอังกฤษ =
20
7560
=
20
15
 = - 0.75
Zวิทย์ =
5
6570
=
5
5
= 1
ด.ญ. จิตรา เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ได้ดีกว่าวิชาอื่น
4. ในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการรับสมัครคนงานที่เป็นชาย โดยมีข้อแม้ว่าคนงานที่บริษัท
จะรับเข้าทางานจะต้องมีค่ามาตรฐานของอายุตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของอายุคนงานทั้งหมดที่มาสมัครเข้าทางาน เป็น 25 ปีและ 2 ปี ตามลาดับ คนงานที่มีอายุตั้งแต่
เท่าไรขึ้นไป จึงมีโอกาสได้รับเลือกเข้าเป็นคนงานของโรงงานอุตสาหกรรมนั้น
ตอบ กZ =
3
330500 .. 
=
3
170.
= 0.057
ขZ =
3
121 
= 0
5.ในการสอบคัดเลือกเข้าทางานในหน่วยงานแห่งหนึ่ง ซึ่งมีวิชาที่จะต้องสอบ 3 วิชา ถ้าผู้สมัคร
เข้าสอบคัดเลือกจานวน 2 คน คือ นาย ก และนางสาว ข ได้คะแนนในแต่ละวิชาดังนี้
วิชาที่ 1 วิชาที่ 2 วิชาที่ 3
นาย ก
นางสาว ข
70
75
75
50
75
95
จงหาว่า นาย ก หรือนางสาว ข จะได้ตาแหน่งที่ในการสอบคัดเลือกดีกว่ากัน ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ
วิชาที่ 1 วิชาที่ 2 และวิชาที่ 3 ของคะแนนผู้สมัครสอบทั้งหมดเป็น 70,70 และ 80 คะแนนและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 5 , 10 และ 15 คะแนนตามลาดับ ถ้าหน่วยงานแห่งนี้ตั้งหลักเกณฑ์ไว้ว่า ผู้ที่จะ
สอบคัดเลือกได้ต้องได้ค่ามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา ไม่ต่ากว่า 0 ถามว่า นาย ก และนางสาว ข
จะสอบคัดเลือกได้หรือไม่
4
ตอบ กZ =
3
330500 .. 
=
3
170.
= 0.057
ขZ =
3
121 
= 0
นาย ก และนางสาว ข ผ่านการสอบคัดเลือก นาย กได้คะแนนดีกว่า นางสาว ข
6. ในการสอบแข่งขันชิงทุนการศึกษา นายประพันธ์ ซึ่งสอบได้ที่ 1 ได้คะแนน 650 คะแนน และ
น.ส. มะลิวัลย์ซึ่งสอบได้ที่ 10 ได้คะแนน 540 ถ้าคะแนนมาตรฐานของนายประพันธ์ และ น.ส. มะลิวัลย์
เป็น 3 และ 1.9 ตามลาดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้
ตอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 620 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน
7. ในการตรวจผู้ป่วยโรคหัวใจและมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาให้ข้อมูลประชากร 100,000 คนต่อปี
ของ 50 รัฐ พบว่ามีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว โดยแสดงเป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ดังนี้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
โรคหัวใจ
โรคมะเร็ง
289
200
54
31
(1) ถ้าในรัฐอลาสกา (Alaska) มีผู้ป่วยโรคหัวใจเสียชีวิตจานวน 90 คน ต่อประชากร 100,000 คน
โรคหัวใจในรัฐอลาสกาจะมีความรุนแรงมากหรือน้อยกว่ารัฐอื่นๆหรือไม่
(2) ถ้าในรัฐแคลิเฟอร์เนีย (California) มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ 240 คน และโรคมะเร็ง 166
คน ต่อประชากร 100,000
8. จงหาค่า x จากสูตรของค่ามาตรฐาน โดยใช้ข้อมูลต่อไปนี้
Z =
S
XX 
จะได้ว่า ZS + X = X
1) Z = 2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 ตอบ 30
2) Z = -1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3 ตอบ 22
3) Z = -1.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 100 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 ตอบ 88.5
4) Z = 2.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต -10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0 ตอบ - 10
ใบกิจกรรม 2.3
1. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 400 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 100
จงหา เปอร์เซ็นต์ของข้อมูลซึ่งมีค่า
(1) มากกว่า 538
ตอบ Z > 1.38 พื้นที่ = 0.5 – 0.4162 = 0.0838 หรือ 8.38 เปอร์เซ็นต์
(2) มากกว่า 179
ตอบ Z > - 2.21 พื้นที่ = 0.5 + 0.4864 = 0.9864 หรือ 98.64 เปอร์เซ็นต์
(3) น้อยกว่า 356
ตอบ Z < - 0.44 พื้นที่ = 0.5 – 0.1700 = 0.33 หรือ 33 เปอร์เซ็นต์
(4) น้อยกว่า 621
ตอบ Z < - 2.21 พื้นที่ = 0.5 - 0.4864 = 0.0136 หรือ 1.36 เปอร์เซ็นต์
5
(5) ระหว่าง 318 และ 671
ตอบ - 0.82 < Z < 2.71 พื้นที่ = 0.2939 + 0.4966 = 0.7905 หรือ 79.05 เปอร์เซ็นต์
(6) ระหว่าง 484 และ 565
ตอบ 0.84 < Z < 1.65 พื้นที่ = 0.4505 + 0.2995 = 0.75 หรือ 75 เปอร์เซ็นต์
(7) ระหว่าง 249 และ 297
ตอบ - 1.51 < Z < - 1.03 พื้นที่ = 0.4345 - 0.3485 = 0.086 หรือ 8.6 เปอร์เซ็นต์
2. ในการบรรจุกาแฟชนิดหนึ่งลงขวดให้มีน้าหนักสุทธิ 115 กรัม ถ้าน้าหนักของกาแฟที่บรรจุมีการแจกแจงปกติโดย
มีน้าหนักโดยเฉลี่ยเท่ากับ 115.5 กรัม และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.3 กรัม จงหาว่ามีกี่เปอร์เซ็นต์ที่
กาแฟในแต่ละขวดมีน้าหนัก
(1) ระหว่าง 115 กรัม และ 115.5 กรัม
(2) ระหว่าง 114.9 กรัม และ 115.5 กรัม
(3) ระหว่าง 115.2 กรัม และ 115.9 กรัม
(4) ระหว่าง 114.7 กรัม และ 115 กรัม
(5) ระหว่าง 115.5 กรัม
(6) ระหว่าง 115 กรัม
3. คะแนนทดสอบความถนัดทางคณิตศาสตร์ (Mathematics Attitude Test) สาหรับกลุ่มนักเรียนหญิง
มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 คะแนน และกลุ่มนักเรียนชาย มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต
64 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8 คะแนน ถ้าคะแนนของแต่ละกลุ่มมีการแจกแจงปกติ จงหาว่า
(1) ถ้านายไทสอบได้62 คะแนน คะแนนของเค้าเป็นตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรของคะแนนในกลุ่ม
นักเรียนชาย
วิธีทา Zช =

X
=
8
6462
= - 0.25
ตอบ Z < - 0.25 พื้นที่ = 0.5 – 0.0987 = 0.4013 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 40.13
(2) ถ้านางสาวอาภัสราสอบได้ 73 คะแนน คะแนนของเขาเป็นตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรใน
กลุ่มนักเรียนหญิง และตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรในกลุ่มนักเรียนชาย
วิธีทา 2.1 ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรในกลุ่มนักเรียนหญิง
Zญ =

X
=
10
6073
= 1.3
ตอบ Z < 1.3 พื้นที่ = 0.5+ 0.4032 = 0.9032 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 90.32
2.2 ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรในกลุ่มนักเรียนชาย
Zช =

X
=
8
6473
= 1.125  1.13
ตอบ Z < 1.13 พื้นที่ = 0.5+ 0.3708 = 0.8708 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 87.08
4. การแจกแจงของคะแนนสอบครั้งหนึ่งเป็นการแจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 72 คะแนน และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 12 คะแนน จงหา
(1) คะแนนที่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ตอบ 63.9 คะแนน
(2) คะแนนที่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ตอบ 87.39 คะแนน
6
5. ในการผลิตแผ่นพลาสติกของบริษัทแห่งหนึ่ง ปรากฏว่า ความหนาของแผ่นพลาสติกมีการแจกแจงแบบปกติโดย
มีความหนาโดยเฉลี่ย 0.0625 เซนติเมตร ความแปรปรวนเป็น 0.00000625 เซนติเมตร2
จงหาว่าแผ่นพลาสติกที่
ผลิตได้มีความหนาอยู่ระหว่าง 0.0595 เซนติเมตร และ 0.0659 เซนติเมตร มีกี่เปอร์เซ็นต์
6. ให้ x เป็นความคาดเคลื่อนในรอบ 24 ชั่วโมงของนาฬิกาที่ผลิตโดยโรงงานแห่งหนึ่ง ถ้าความ คาดเคลื่อนมีการ
แจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 0.00 วินาที และความแปรปรวน 0.160 วินาที2
จงหา x ซึ่งทาให้ 50.04%
ของนาฬิกาทั้งหมด ที่ผลิตได้จะมีความคาดเคลื่อนระหว่าง x กับ 0.136 วินาที
7. น้าหนักสุทธิของกระป๋ องบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทแห่งหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ โดยมีน้าหนักสุทธิเฉลี่ยเป็น
12.00 กรัม ถ้ากระป๋ องที่มีน้าหนักสุทธิน้อยกว่า 11.88 กรัม มีอยู่ 11.51% จงหาความแปรปรวนของน้าหนักสุทธิ
ของกระป๋ องบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทนี้
8. ถ้า x แทนคะแนนที่สนใจศึกษาและ p แทนพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติของคะแนนที่ต่ากว่า x จงหาว่า a , b , c และ d
จากข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ(P)
3
10
a
10
1
2
3
b
2
c
6
12
d
0.18
0.09
0.60
9. คะแนนสอบ SAT (SAT Scores) มีการแจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 505 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 111
จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติในข้อต่อไปนี้
(1) คะแนน SAT อยู่ระหว่าง 400 และ 600 (2) คะแนน SAT มากกว่า 700
(3) คะแนน SAT น้อยกว่า 450
ใบกิจกรรม 2.4
1. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม. 6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มีการแจกแจกปกติ
โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน
จงหาตาแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ของนักเรียนที่สอบได้คะแนนต่อไปนี้
1) ต่ากว่า 45 คะแนน
ตอบ Z < -1.5 พื้นที่ = 0.5 – 0.4332 = 0.0668 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 6.68
2) ต่ากว่า 70 คะแนน
ตอบ Z < 1 พื้นที่ = 0.5 + 0.3413 = 0.8413 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 84.13
3) สูงกว่า 75 คะแนน
ตอบ Z > 1.5 พื้นที่ = 0.5 – 0.4332 = 0.0668 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 6.68
4) สูงกว่า 50 คะแนน
ตอบ Z > -1 พื้นที่ = 0.5 + 0.3413 = 0.8413 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 84.13
5) ระหว่าง คะแนน45 และ 65 คะแนน
ตอบ -1.5 < Z < 0.5 พื้นที่ = 0.4332 + 0.1915 = 0.6247 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 62.47
6) ระหว่างคะแนน 40 และ 50 คะแนน
ตอบ -2 < Z < -1 พื้นที่ = 0.4773 - 0.3413 = 0.1360 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 13.60
7
7) ระหว่าง คะแนน 65 และ 80 คะแนน
ตอบ 0.5 < Z < 2 พื้นที่ = 0.4773 - 0.1915 = 0.2858 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 28.58
8) ระหว่างคะแนน 70 และ 85 คะแนน
ตอบ 1 < Z < 2.5 พื้นที่ = 0.4938 - 0.3413 = 0.1525 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 15.25
2. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 60 คะแนน และ 10 คะแนน ตามลาดับ จงหาคะแนนที่เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 11.51
ของการสอบครั้งนี้
ตอบ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 11.51 ตรงกับ 48 คะแนน
3. คะแนนทดสอบความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ
โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 64 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8 คะแนน นาย ก เป็นนักเรียนคนหนึ่งในชั้น
นี้สอบได้ 62 คะแนน จงหาคะแนนที่ นาย ก สอบได้ตรงกับเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่เท่าไร
ตอบ
4. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 200 คน มีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ยเลข
คณิตเท่ากับ 60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถ้าในการสอบครั้งนี้ สมศรีสอบได้ 70 คะแนน
และสมบัติสอบได้85 คะแนน จงหาว่ามีนักเรียนประมาณกี่คนที่สอบได้คะแนนต่ากว่าสมศรี
ตอบ
5. คะแนนทดสอบไอคิวของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 90 คะแนน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 20 คะแนน ถ้าให้ x เป็นคะแนนของนักเรียนคนหนึ่ง ถ้าเปอร์เซ็นต์ของคะแนน
ระหว่าง x ถึง 90 คะแนน เท่ากับ 38.30 % แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าไร
ตอบ
6. ในการบรรจุกาแฟลงในขวดที่มีขนาดน้าหนักสุทธิโดยเฉลี่ย 300 กรัม มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 กรัม
บริษัทกาหนดไว้ว่ากล่องที่มีมาตรฐาน จะต้องมีน้าหนักเฉลี่ยสุทธิอยู่ระหว่าง 300 m กรัม ในการผลิตแต่ละครั้ง
จะต้องได้ของที่มาตรฐาน 95 % จงหาค่า m (ให้การแจกแจงของน้าหนักกาแฟเป็นการแจกแจงปกติ)
ตอบ
7. จากคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 50 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนระหว่าง x และ65 คะแนน เท่ากับ 77.45 %
จงหาคะแนน x
ตอบ
8. จากคะแนนสอบครั้งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 50 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนระหว่าง x และ40 คะแนน เท่ากับ 13.59 %
จงหาคะแนน x
ตอบ
เฉลยใบงานที่ 2.1
ชื่อ………………………………………ชั้น…………………เลขที่……………
ผลการเรียนรู้ที่ 5 หาพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานได้
1. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางซ้ายมือของ Z = 1.32
ตอบ 0.5 + 0.4066 = 0.9066
2. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางซ้ายมือของ Z = - 1.84
8
ตอบ 0.5 - 0.4671 = 0.0329
3. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางขวามือของ Z = 2.27
ตอบ 0.5 - 0.4884 = 0.0116
4. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางขวามือของ Z = - 0.76
ตอบ 0.5 + 0.2764 = 0.7764
5. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = 0.72 และ Z = 2.13
ตอบ 0.4834 – 0.2642 = 0.2192
6. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.95 และ Z = 1.36
ตอบ 0.3829 + 0.4131 = 0.7420
7. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.75 และ Z = - 1.28
ตอบ 0.3997 – 0.2734 = 0.1263
8. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.64 และ Z = 0.64
ตอบ 0.2389 + 0.2389 = 0.4778
9. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.47 และ Z = - 1.28
ตอบ 0.3997 - 0.1808 = 0.2189
10. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.62 และ Z = 2.74
ตอบ 0.2324 + 0.4969 = 0.7293
9
10

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติpattya0207
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 

La actualidad más candente (20)

คณิต M6
คณิต M6คณิต M6
คณิต M6
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 

Más de krurutsamee

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน krurutsamee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนkrurutsamee
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 krurutsamee
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 krurutsamee
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3 krurutsamee
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5 krurutsamee
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อมkrurutsamee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 

Más de krurutsamee (20)

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 

เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง

  • 1. 1 ใบกิจกรรม 2.1 1. ในการสอบปลายปีของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต 450 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 75 คะแนน ในการตัดสินถือเกณฑ์ว่าต้องได้ 500 คะแนน จึงจะสอบได้ถามว่าคนที่สอบได้นั้นจะต้อง ได้ค่ามาตรฐานอย่างต่าที่สุดเท่าใด ตอบ จะต้องได้ค่ามาตรฐานอย่างต่าที่สุด 0.67 2. กรรมกรกลุ่มหนึ่งมีความสูงเฉลี่ยเป็น 150 ซม. และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความสูงของกรรมกรกลุ่มนี้มีค่า เป็น 10 ซม. ถ้ากาหนดการคัดเลือกให้ทางานอย่างหนึ่งโดยถือเกณฑ์ว่า จะต้องได้ค่ามาตรฐานความสูงเป็น 2.5 กรรมกรที่มีความสูงตั้งแต่เท่าไรขึ้นไปจึงจะได้รับการคัดเลือก ตอบ มีความสูงตั้งแต่ 175 เซนติเมตรขึ้นไป 3.ในการสอบวิชาหนึ่งปรากฏว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เป็น 18 คะแนน เกณฑ์ การตัดสินต้องได้คะแนนคิดเป็นค่ามาตรฐานไม่ต่ากว่า 1.5 ปรากฏว่าผู้ที่ได้คะแนนต่ากว่า 117 คะแนนถือว่า สอบตก ถามว่าในการสอบคราวนี้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เป็นเท่าใด ตอบ X = 90 คะแนน 4.ในการสอบคราวหนึ่งของนักเรียนห้องหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ยเป็น 575 คะแนน ถ้า นาย ก. เป็นนักเรียนห้อง นี้ และสอบได้คะแนน 705 คะแนน ซึ่งคิดเป็นค่ามาตรฐานได้เท่ากับ 2 ถามว่า ในการสอบคราวนี้ ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับเท่าใด ตอบ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 65 คะแนน 5.ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนที่นายฉลาดทาได้เท่ากับ 30 คะแนน คิดเป็น ค่ามาตรฐาน 1 ส่วนคะแนนที่นายขยันทาได้เท่ากับ 15 คะแนน คิดเป็นค่ามาตรฐาน -2 จงคานวณว่า ในการสอบคราว นี้นักเรียนห้องนั้นทาคะแนนเฉลี่ยได้เป็นเท่าใด และค่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นเท่าใด ตอบ S = 5 , X = 25 6.ก. และ ข. สอบวิชาเดียวกัน แต่ข้อสอบต่างกัน ก. สอบได้คะแนน 85 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตห้องที่ ก. สอบเป็น 90 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 8 ส่วน ข. สอบได้คะแนน 50 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนห้องที่ ข. สอบเป็น 75 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 50 จงพิจารณาผลการสอบว่าของใครดีกว่ากัน ตอบ Zก = - 0.60 , Zข = - 0.50 จะได้ว่า ข เรียนดีกว่า ก 7.โรงเรียนมาลาวิทยา มีการประเมินผลโดยใช้คะแนนมาตรฐานในการสอบ ปรากฏว่า น.ส.ใจดี ขยันจริง สอบได้ คะแนนมาตรฐานเป็น 2.00 ในการสอบครั้งนั้น ค้าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเป็น 300 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มารตฐานเป็น 33 คะแนน ถ้าคะแนนเต็มในการสอบเท่ากับ 600 คะแนน จงหาว่า น.ส.ใจดี ขยันจริง สอบได้กี่ เปอร์เซ็นต์ ตอบ น.ส.ใจดี สอบได้ 61 % 8.ในการสอบคัดเลือกเข้าทางานแห่งหนึ่ง มีวิชาที่ต้องสอบ 2 วิชา ปรากฏว่าจากผู้สมัครทั้งหมดมีผู้ที่ได้คะแนนกัน สูงสุด 3 คน คือ นายสมศักดิ์ น.ส. ฉวีวรรณ และนายนิพนธ์ ซึ่งได้คะแนนในแต่ละวิชา ดังนี้ วิชาที่ 1 วิชาที่2 นายสมศักดิ์ 70 72 น.ส. ฉวีวรรณ 80 65 นายนิพนธ์ 72 73 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 75 70 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 10
  • 2. 2 ถ้าหน่วยงานแห่งนี้ต้องการรับเพียงคนเดียวและสารองหนึ่งคน ผู้ที่จะได้รับการคัดเลือกไว้เป็นตัวจริงและ ตัวสารองคือใคร ตอบ Z สมศักดิ์ = - 0.4 , Z ฉวีวรรณ = - 0.5 , Z นิพนธ์ = - 0.15 Z ของฉวีวรรณมากที่สุด และรองลงมาคือนิพนธ์ ตัวจริงคือ ฉวีวรรณ สารองคือ นิพนธ์ 9.ตารางต่อไปนี้ เป็นผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนโรงเรียนแห่งหนึ่ง จานวนผู้สมัคร คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คณิตศาสตร์ ฝรั่งเศส 200 100 76 80 10 20 ถ้านายขยันสอบ วิชา คณิตศาสตร์ได้ 82 คะแนน และวิชาฝรั่งเศสได้ 90 คะแนน นายขยันเรียนวิชาอะไรดีกว่ากัน ตอบ Zคณิต = 0.6 , Zฝรั่งเศส = 0.5 ดังนั้น นายขยันเรียนวิชาคณิตศาสตร์ดีกว่าฝรั่งเศส 10.ในการสอบคราวหนึ่ง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2 ถ้านาย ก. สอบได้คะแนนคิด เป็นค่ามาตรฐานต่างกับนาย ข. อยู่ 1 อยากทราบว่าคะแนนดิบที่แต่ละคนสอบได้คะแนนต่างกันเท่าใด และถ้าทั้งสอง คนสอบได้คะแนนดิบต่างกัน 5 คะแนน ค่ามาตรฐานของคะแนนทั้งสองต่างกันเท่าไร ตอบ Zก – Zข = 2.5 11.ในการสอบคราวหนึ่ง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 10 ถ้านายดา และนายแดง สอบได้ คะแนนคิดเป็นค่ามาตรฐานแล้วรวมกันเป็น 3 จงหาผลรวมของคะแนนทั้งสองคนสอบได้รวมกัน ตอบ Xดา + Xแดง = 130 12.จงตัดสินว่าผลการสอบของนักเรียน 3 คน ได้คะแนนตามตารางข้างล่างนี้ ใครดีกว่ากัน วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ นายเอกชัย นายสุรินทร์ นายนิพนธ์ คะแนนเฉลี่ยทั้งสองห้อง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 70 75 68 70 5 60 55 72 65 10 83 79 67 75 8 85 88 75 70 15 ตอบ เอกชัยZ = 0.375 สุรินทร์ Z = 0.425 นิพนธ์ Z = - 0.1 สุรินทร์ Z มีค่ามากที่สุด ดังนั้น สรินทร์เก่งที่สุดรองลงมาคือ เอกชัยและนิพนธ์ ตามลาดับ ใบกิจกรรมที่ 2.2 1. ด.ช. วิชัย สอบได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้น ม. 3 และ ม.4 เป็น 75 คะแนน และ 80 คะแนน ตามลาดับ ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนทุกคนใน ชั้น ม.3 ที่ ด.ช. วิชัย เรียนอยู่เท่ากับ 70 และ 15 คะแนน และของนักเรียนทุกคนในชั้น ม. 4 เท่ากับ 80 และ 20 คะแนน ตามลาดับ ด.ช.วิชัย เรียนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นไหนได้ดีกว่ากัน ตอบ 3mZ = 15 7075 = 15 5 = 0.33 4mZ = 20 8080 = 0
  • 3. 3 2. ในการทดสอบเวลาที่ใช้วิ่งแข่งระยะทาง 100 เมตร ของนักกีฬาในโรงเรียนแห่งหนึ่ง เพื่อคัดเลือก ตัวแทนไปทาการแข่งขันกับโรงเรียนอื่นจะถือว่าผู้ที่ผ่านการทดสอบจะต้องได้ค่ามาตรฐานของเวลาที่ใช้ ไม่สูงกว่า 1.0 ถ้าจากผลการทดสอบ ปรากฏว่านักกีฬาที่ใช้เวลามากกว่า 12 วินาที ไม่ผ่านการทดสอบ ถามว่า ในการทดสอบคราวนี้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเป็นเท่าไร ถ้าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาเป็น 1.1 วินาที ตอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาเท่ากับ 13.1 วินาที 3. ถ้าคะแนนสอบวิชาต่างๆ ของ ด.ญ.จิตรา ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแต่ละ วิชาของนักเรียนทั้งหมดในชั้นที่ ด.ญ.จิตรา เรียนอยู่เป็นดังนี้ วิชา คะแนนที่สอบได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ 80 60 70 85 75 65 15 20 5 ด.ญ. จิตรา เรียนวิชาไหนดีกว่ากัน ตอบ Zไทย = 15 8580 = - 15 5 = -0.33 Zอังกฤษ = 20 7560 = 20 15  = - 0.75 Zวิทย์ = 5 6570 = 5 5 = 1 ด.ญ. จิตรา เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ได้ดีกว่าวิชาอื่น 4. ในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการรับสมัครคนงานที่เป็นชาย โดยมีข้อแม้ว่าคนงานที่บริษัท จะรับเข้าทางานจะต้องมีค่ามาตรฐานของอายุตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของอายุคนงานทั้งหมดที่มาสมัครเข้าทางาน เป็น 25 ปีและ 2 ปี ตามลาดับ คนงานที่มีอายุตั้งแต่ เท่าไรขึ้นไป จึงมีโอกาสได้รับเลือกเข้าเป็นคนงานของโรงงานอุตสาหกรรมนั้น ตอบ กZ = 3 330500 ..  = 3 170. = 0.057 ขZ = 3 121  = 0 5.ในการสอบคัดเลือกเข้าทางานในหน่วยงานแห่งหนึ่ง ซึ่งมีวิชาที่จะต้องสอบ 3 วิชา ถ้าผู้สมัคร เข้าสอบคัดเลือกจานวน 2 คน คือ นาย ก และนางสาว ข ได้คะแนนในแต่ละวิชาดังนี้ วิชาที่ 1 วิชาที่ 2 วิชาที่ 3 นาย ก นางสาว ข 70 75 75 50 75 95 จงหาว่า นาย ก หรือนางสาว ข จะได้ตาแหน่งที่ในการสอบคัดเลือกดีกว่ากัน ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ วิชาที่ 1 วิชาที่ 2 และวิชาที่ 3 ของคะแนนผู้สมัครสอบทั้งหมดเป็น 70,70 และ 80 คะแนนและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 5 , 10 และ 15 คะแนนตามลาดับ ถ้าหน่วยงานแห่งนี้ตั้งหลักเกณฑ์ไว้ว่า ผู้ที่จะ สอบคัดเลือกได้ต้องได้ค่ามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา ไม่ต่ากว่า 0 ถามว่า นาย ก และนางสาว ข จะสอบคัดเลือกได้หรือไม่
  • 4. 4 ตอบ กZ = 3 330500 ..  = 3 170. = 0.057 ขZ = 3 121  = 0 นาย ก และนางสาว ข ผ่านการสอบคัดเลือก นาย กได้คะแนนดีกว่า นางสาว ข 6. ในการสอบแข่งขันชิงทุนการศึกษา นายประพันธ์ ซึ่งสอบได้ที่ 1 ได้คะแนน 650 คะแนน และ น.ส. มะลิวัลย์ซึ่งสอบได้ที่ 10 ได้คะแนน 540 ถ้าคะแนนมาตรฐานของนายประพันธ์ และ น.ส. มะลิวัลย์ เป็น 3 และ 1.9 ตามลาดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้ ตอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 620 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน 7. ในการตรวจผู้ป่วยโรคหัวใจและมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาให้ข้อมูลประชากร 100,000 คนต่อปี ของ 50 รัฐ พบว่ามีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว โดยแสดงเป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังนี้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง 289 200 54 31 (1) ถ้าในรัฐอลาสกา (Alaska) มีผู้ป่วยโรคหัวใจเสียชีวิตจานวน 90 คน ต่อประชากร 100,000 คน โรคหัวใจในรัฐอลาสกาจะมีความรุนแรงมากหรือน้อยกว่ารัฐอื่นๆหรือไม่ (2) ถ้าในรัฐแคลิเฟอร์เนีย (California) มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ 240 คน และโรคมะเร็ง 166 คน ต่อประชากร 100,000 8. จงหาค่า x จากสูตรของค่ามาตรฐาน โดยใช้ข้อมูลต่อไปนี้ Z = S XX  จะได้ว่า ZS + X = X 1) Z = 2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 ตอบ 30 2) Z = -1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3 ตอบ 22 3) Z = -1.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 100 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 ตอบ 88.5 4) Z = 2.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต -10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0 ตอบ - 10 ใบกิจกรรม 2.3 1. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 400 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 100 จงหา เปอร์เซ็นต์ของข้อมูลซึ่งมีค่า (1) มากกว่า 538 ตอบ Z > 1.38 พื้นที่ = 0.5 – 0.4162 = 0.0838 หรือ 8.38 เปอร์เซ็นต์ (2) มากกว่า 179 ตอบ Z > - 2.21 พื้นที่ = 0.5 + 0.4864 = 0.9864 หรือ 98.64 เปอร์เซ็นต์ (3) น้อยกว่า 356 ตอบ Z < - 0.44 พื้นที่ = 0.5 – 0.1700 = 0.33 หรือ 33 เปอร์เซ็นต์ (4) น้อยกว่า 621 ตอบ Z < - 2.21 พื้นที่ = 0.5 - 0.4864 = 0.0136 หรือ 1.36 เปอร์เซ็นต์
  • 5. 5 (5) ระหว่าง 318 และ 671 ตอบ - 0.82 < Z < 2.71 พื้นที่ = 0.2939 + 0.4966 = 0.7905 หรือ 79.05 เปอร์เซ็นต์ (6) ระหว่าง 484 และ 565 ตอบ 0.84 < Z < 1.65 พื้นที่ = 0.4505 + 0.2995 = 0.75 หรือ 75 เปอร์เซ็นต์ (7) ระหว่าง 249 และ 297 ตอบ - 1.51 < Z < - 1.03 พื้นที่ = 0.4345 - 0.3485 = 0.086 หรือ 8.6 เปอร์เซ็นต์ 2. ในการบรรจุกาแฟชนิดหนึ่งลงขวดให้มีน้าหนักสุทธิ 115 กรัม ถ้าน้าหนักของกาแฟที่บรรจุมีการแจกแจงปกติโดย มีน้าหนักโดยเฉลี่ยเท่ากับ 115.5 กรัม และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.3 กรัม จงหาว่ามีกี่เปอร์เซ็นต์ที่ กาแฟในแต่ละขวดมีน้าหนัก (1) ระหว่าง 115 กรัม และ 115.5 กรัม (2) ระหว่าง 114.9 กรัม และ 115.5 กรัม (3) ระหว่าง 115.2 กรัม และ 115.9 กรัม (4) ระหว่าง 114.7 กรัม และ 115 กรัม (5) ระหว่าง 115.5 กรัม (6) ระหว่าง 115 กรัม 3. คะแนนทดสอบความถนัดทางคณิตศาสตร์ (Mathematics Attitude Test) สาหรับกลุ่มนักเรียนหญิง มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 คะแนน และกลุ่มนักเรียนชาย มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 64 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8 คะแนน ถ้าคะแนนของแต่ละกลุ่มมีการแจกแจงปกติ จงหาว่า (1) ถ้านายไทสอบได้62 คะแนน คะแนนของเค้าเป็นตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรของคะแนนในกลุ่ม นักเรียนชาย วิธีทา Zช =  X = 8 6462 = - 0.25 ตอบ Z < - 0.25 พื้นที่ = 0.5 – 0.0987 = 0.4013 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 40.13 (2) ถ้านางสาวอาภัสราสอบได้ 73 คะแนน คะแนนของเขาเป็นตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรใน กลุ่มนักเรียนหญิง และตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรในกลุ่มนักเรียนชาย วิธีทา 2.1 ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรในกลุ่มนักเรียนหญิง Zญ =  X = 10 6073 = 1.3 ตอบ Z < 1.3 พื้นที่ = 0.5+ 0.4032 = 0.9032 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 90.32 2.2 ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไรในกลุ่มนักเรียนชาย Zช =  X = 8 6473 = 1.125  1.13 ตอบ Z < 1.13 พื้นที่ = 0.5+ 0.3708 = 0.8708 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 87.08 4. การแจกแจงของคะแนนสอบครั้งหนึ่งเป็นการแจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 72 คะแนน และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 12 คะแนน จงหา (1) คะแนนที่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ตอบ 63.9 คะแนน (2) คะแนนที่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 90 ตอบ 87.39 คะแนน
  • 6. 6 5. ในการผลิตแผ่นพลาสติกของบริษัทแห่งหนึ่ง ปรากฏว่า ความหนาของแผ่นพลาสติกมีการแจกแจงแบบปกติโดย มีความหนาโดยเฉลี่ย 0.0625 เซนติเมตร ความแปรปรวนเป็น 0.00000625 เซนติเมตร2 จงหาว่าแผ่นพลาสติกที่ ผลิตได้มีความหนาอยู่ระหว่าง 0.0595 เซนติเมตร และ 0.0659 เซนติเมตร มีกี่เปอร์เซ็นต์ 6. ให้ x เป็นความคาดเคลื่อนในรอบ 24 ชั่วโมงของนาฬิกาที่ผลิตโดยโรงงานแห่งหนึ่ง ถ้าความ คาดเคลื่อนมีการ แจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 0.00 วินาที และความแปรปรวน 0.160 วินาที2 จงหา x ซึ่งทาให้ 50.04% ของนาฬิกาทั้งหมด ที่ผลิตได้จะมีความคาดเคลื่อนระหว่าง x กับ 0.136 วินาที 7. น้าหนักสุทธิของกระป๋ องบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทแห่งหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ โดยมีน้าหนักสุทธิเฉลี่ยเป็น 12.00 กรัม ถ้ากระป๋ องที่มีน้าหนักสุทธิน้อยกว่า 11.88 กรัม มีอยู่ 11.51% จงหาความแปรปรวนของน้าหนักสุทธิ ของกระป๋ องบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทนี้ 8. ถ้า x แทนคะแนนที่สนใจศึกษาและ p แทนพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติของคะแนนที่ต่ากว่า x จงหาว่า a , b , c และ d จากข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ(P) 3 10 a 10 1 2 3 b 2 c 6 12 d 0.18 0.09 0.60 9. คะแนนสอบ SAT (SAT Scores) มีการแจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 505 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 111 จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติในข้อต่อไปนี้ (1) คะแนน SAT อยู่ระหว่าง 400 และ 600 (2) คะแนน SAT มากกว่า 700 (3) คะแนน SAT น้อยกว่า 450 ใบกิจกรรม 2.4 1. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม. 6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มีการแจกแจกปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน จงหาตาแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ของนักเรียนที่สอบได้คะแนนต่อไปนี้ 1) ต่ากว่า 45 คะแนน ตอบ Z < -1.5 พื้นที่ = 0.5 – 0.4332 = 0.0668 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 6.68 2) ต่ากว่า 70 คะแนน ตอบ Z < 1 พื้นที่ = 0.5 + 0.3413 = 0.8413 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 84.13 3) สูงกว่า 75 คะแนน ตอบ Z > 1.5 พื้นที่ = 0.5 – 0.4332 = 0.0668 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 6.68 4) สูงกว่า 50 คะแนน ตอบ Z > -1 พื้นที่ = 0.5 + 0.3413 = 0.8413 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 84.13 5) ระหว่าง คะแนน45 และ 65 คะแนน ตอบ -1.5 < Z < 0.5 พื้นที่ = 0.4332 + 0.1915 = 0.6247 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 62.47 6) ระหว่างคะแนน 40 และ 50 คะแนน ตอบ -2 < Z < -1 พื้นที่ = 0.4773 - 0.3413 = 0.1360 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 13.60
  • 7. 7 7) ระหว่าง คะแนน 65 และ 80 คะแนน ตอบ 0.5 < Z < 2 พื้นที่ = 0.4773 - 0.1915 = 0.2858 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 28.58 8) ระหว่างคะแนน 70 และ 85 คะแนน ตอบ 1 < Z < 2.5 พื้นที่ = 0.4938 - 0.3413 = 0.1525 หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 15.25 2. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 60 คะแนน และ 10 คะแนน ตามลาดับ จงหาคะแนนที่เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 11.51 ของการสอบครั้งนี้ ตอบ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 11.51 ตรงกับ 48 คะแนน 3. คะแนนทดสอบความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 64 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8 คะแนน นาย ก เป็นนักเรียนคนหนึ่งในชั้น นี้สอบได้ 62 คะแนน จงหาคะแนนที่ นาย ก สอบได้ตรงกับเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่เท่าไร ตอบ 4. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 200 คน มีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ยเลข คณิตเท่ากับ 60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถ้าในการสอบครั้งนี้ สมศรีสอบได้ 70 คะแนน และสมบัติสอบได้85 คะแนน จงหาว่ามีนักเรียนประมาณกี่คนที่สอบได้คะแนนต่ากว่าสมศรี ตอบ 5. คะแนนทดสอบไอคิวของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติโดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 90 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 20 คะแนน ถ้าให้ x เป็นคะแนนของนักเรียนคนหนึ่ง ถ้าเปอร์เซ็นต์ของคะแนน ระหว่าง x ถึง 90 คะแนน เท่ากับ 38.30 % แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าไร ตอบ 6. ในการบรรจุกาแฟลงในขวดที่มีขนาดน้าหนักสุทธิโดยเฉลี่ย 300 กรัม มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 กรัม บริษัทกาหนดไว้ว่ากล่องที่มีมาตรฐาน จะต้องมีน้าหนักเฉลี่ยสุทธิอยู่ระหว่าง 300 m กรัม ในการผลิตแต่ละครั้ง จะต้องได้ของที่มาตรฐาน 95 % จงหาค่า m (ให้การแจกแจงของน้าหนักกาแฟเป็นการแจกแจงปกติ) ตอบ 7. จากคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 50 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนระหว่าง x และ65 คะแนน เท่ากับ 77.45 % จงหาคะแนน x ตอบ 8. จากคะแนนสอบครั้งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 50 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนระหว่าง x และ40 คะแนน เท่ากับ 13.59 % จงหาคะแนน x ตอบ เฉลยใบงานที่ 2.1 ชื่อ………………………………………ชั้น…………………เลขที่…………… ผลการเรียนรู้ที่ 5 หาพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานได้ 1. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางซ้ายมือของ Z = 1.32 ตอบ 0.5 + 0.4066 = 0.9066 2. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางซ้ายมือของ Z = - 1.84
  • 8. 8 ตอบ 0.5 - 0.4671 = 0.0329 3. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางขวามือของ Z = 2.27 ตอบ 0.5 - 0.4884 = 0.0116 4. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานทางขวามือของ Z = - 0.76 ตอบ 0.5 + 0.2764 = 0.7764 5. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = 0.72 และ Z = 2.13 ตอบ 0.4834 – 0.2642 = 0.2192 6. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.95 และ Z = 1.36 ตอบ 0.3829 + 0.4131 = 0.7420 7. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.75 และ Z = - 1.28 ตอบ 0.3997 – 0.2734 = 0.1263 8. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.64 และ Z = 0.64 ตอบ 0.2389 + 0.2389 = 0.4778 9. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.47 และ Z = - 1.28 ตอบ 0.3997 - 0.1808 = 0.2189 10. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = - 0.62 และ Z = 2.74 ตอบ 0.2324 + 0.4969 = 0.7293
  • 9. 9
  • 10. 10