SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
ใบความร้ ูที 3.1
                              เรือง สมบัติเชิ งพีชคณิตของจํานวนเชิ งซ้ อน

              ี          ี ั
สมบัติทีเกยวข้องเกยวกบการบวกและการคูณของจํานวนเชิงซ้อน
                                                 ่
ถ้า z1 , z 2 , z 3 เป็ นจํานวนเชิงซ้อน แล้วจะได้วา
1. z1 + z 2 = z 2 + z1 และ z1z 2 = z 2 z1                                    (สมบัติการสลับที)
2. z1 + (z 2 + z 3 ) = (z1 + z 2 ) + z 3 และ z1 (z 2 z 3 ) = (z 2 z1 )z 3   (สมบัติการเปลียนกลุ่ม)
3. z1 (z 2 + z 3 ) = z1z 2 + z1z 3                                          (สมบัติการเปลียนแปลง)

สมบัติเชิ งพีชคณิตของจํานวนเชิ งซ้ อน (Algebraic Propertiest of Complex Number)
เอกลักษณ์ และตัวผกผันการบวก
                                         ่
        พิจารณาการบวกจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี.
         (a , b) + (0,0) = (a + 0, b + 0)
                           = (a , b )
                         ั
          ทํานองเดียวกน (0,0) + (a, b) = (a, b)
                       ่     ่
          ดังนั. นจึงกลาวได้วา (0,0) เป็ นเอกลักษณ์การบวกในระบบจํานวนเชิงซ้อน
                                                            ็                  ั
          ในระบบจํานวนจริ ง ตัวผกผันการบวกของจํานวนใดกตาม คือ จํานวนทีนํามาบวกกบ
จํานวนนั. นแล้วได้เอกลักษณ์การบวก ในระบบจํานวนเชิ งซ้อนตัวผกผันการบวกของจํานวน
           ็               ่
เชิงซ้อนกมีความหมายเชนเดียวกน      ั
        ่
สังเกตวา (a, b) + (−a,−b) = (a − a, b − b)
                                   = (0,0)
และ        (−a ,−b) + (a , b) = (0,0)
ดังนั. น    (−a ,− b) เป็ นตัวผกผันการบวกของ (a , b)
หรื อ       − a − bi เป็ นตัวผกผันการบวกของ a + bi
ตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซ้อน z เขียนแทนด้วย − z
ฉะนั. น     − (a + bi) = −a − bi


ตัวอย่ างที 1 ตัวผกผันการบวกของ           (−2,1)    คือ   (2,−1)
              ตัวผกผันการบวกของ           3 + 2i    คือ   − 3 − 2i
              ตัวผกผันการบวกของ              1− i   คือ   −1+ i
แบบฝึ กทักษะที 3.1
                                     ่
จงหาตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี.
1. (−3,2)
2. (−15,−10)
3. (0,−2)
4. (6,−5)
5. 4 + 2i
6. − 1 + i
7. − 4 − 7i
8. − 45 + 3i
ใบความร้ ู ที 3.2
                                    การลบจํานวนเชิ งซ้ อน

                       ั
       เราจะนิยามการลบกนจํานวนเชิงซ้อน ดังนี.

      บทนิยาม         z − w = z + (− w )       สําหรับจํานวนเชิงซ้อน   z, w   ใดๆ


                                     ่
ตัวอย่ างที 1 จงหาผลลัพธ์ของจํานวนตอไปนี.
1. (2 − 3i) − (4 − i)
วิธีทา (2 − 3i) − (4 − i) = 2 − 3i − 4 + i
     ํ
                          = (2 − 4) + (−3i + i)
                          = −2 + (−3 + 1)i
                          = −2 + (−2)i

                          = −2 − 2i
2. (−9 + 5i) − (−5 + 3i)
วิธีทา (−9 + 5i) − (−5 + 3i) = −9 + 5i + 5 − 3i
     ํ
                              = (−9 + 5) + (5i − 3i)
                              = −4 + (5 − 3)i

                                   = −4 + 2i


3. (−4,5) − (−6,10)
วิธีทา (−4,5) − (−6,10) = (−4,5) + (6,−10)
     ํ
                        = (−4 + 6,5 + (−10))
                        = (2,−5)
แบบฝึ กทักษะที 3.2

                            ่
จงหาผลลบของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี.
1. (3,4) − (−8,9)
2. (2,−3) − (−2,−7)
3. (−6,−5) − (3,−7)
4. (−3,4) − (8,9)
5. (−2,6) − (−5,−10)
6. (4 + i) − (5 − i)
7. (−6 − 17i) − (5 − 10i)
8. (−6 − 10i) − (−5 + 10i)
9. (6 − 17i) − (−5 − 10i)
10. (−6 + 17i) − (15 + 12i)
ใบความร้ ู ที 3.3
                     เอกลักษณ์ และตัวผกผันการคณของจํานวนเชิ งซ้ อน
                                                 ู
เอกลักษณ์ และตัวผกผันการคณู
                                     ่
       พิจารณาการคูณจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี.
        (a , b)(0,1) = (a ⋅ 1 − b ⋅ 0, a ⋅ 0 + b ⋅ 1)
                     = (a − 0,0 + b)
                     = (a , b )
                           ั
         ทํานองเดียวกน (1,0)(a , b) = (a, b)
                        ่        ่
         ดังนั. นจึงกลาวได้วา (1,0) เป็ นเอกลักษณ์การคูณในระบบจํานวนเชิงซ้อน
                                                 ่ ่ ั
         ถ้า (a, b) เป็ นจํานวนเชิงซ้อนซึ งไมเทากบ (0,0) ตัวผกผันการคูณของ (a, b) คือจํานวน
                  ั
เชิงซ้อนทีคูณกบ (a, b) แล้วได้ (1,0) ซึ งหาได้ดงนี.  ั
         ให้ (x, y) เป็ นตัวผกผันการคูณของ (1,0)
จะได้           (a , b)( x , y) = (1,0)
แต่          (a , b)( x , y) = (ax − by, bx + ay)
ดังนั. น (ax − by, bx + ay) = (1,0)
จากบทนิยามจะได้                 ax − by = 1 ………….(1)
                                bx + ay = 0 …………(2)
                     สมการ (1) × a จะได้
                              a 2 x − aby = a ………(3)
                     สมการ (2) × b จะได้
                               b 2 x + aby = 0 ……….(4)
                     สมการ (3) + (4) จะได้
                          a 2x + b2x = a
                       (a 2 + b 2 ) x = a
                                       a
                              x= 2                 ่
                                               แทนคาในสมการ   (2)
                                    a + b2
                  จะได้ b 2 a 2  + ay = 0
                                      
                           a +b 
                                  ab
                                         + ay = 0
                              a + b2
                                2

                                            ab
                              ay = 0 − 2
                                         a + b2
ab
                                       y=−
                                     (a + b 2 ) a   2


                                         b
                                 y=− 2
                                     a + b2
                                a           b 
        ดังนั. น    ( x , y) =  2     ,− 2       
                               a +b      a + b2 
                                     2


                                  b   a2                                           
ตรวจสอบวา (a, b)
        ่       
                         a
                             ,− 2   2 
                                        = 2
                                                        b         ab         ab
                                          a + b2 + a 2 + b2 , a 2 + b2 − a 2 + b2   
                                                                                     
                     a +b     a +b  
                       2   2
                                                                                     
                                                                 a 2 + b2 
                                                               = 2
                                                                 a + b 2 ,0 
                                                                             
                                                                            
                                                              = (1,0)
                                                             a            b 
ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ             (a , b )   คือ        2       ,− 2     
                                                            a +b       a + b2 
                                                                    2




ตัวผกผันการคูณของ          z    เขียนแทนด้วย                z −1
                                                      a        b
เมือเขียน     z = a + bi       จะได้     z −1 =            − 2     i
                                                   a +b 22
                                                            a + b2
                                                    a − bi
                                                  = 2
                                                   a + b2


                                                ่
ตัวอย่ าง 3 จงหาตัวผกผันการคูณของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี.
1. (4,−3)
วิธีทา
     ํ      a 2 + b 2 = 4 2 + (−3) 2

                       = 16 + 9
                       = 25
        ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ                 (4,−3)          คือ 
                                                                       
                                                                         4 3 
                                                                          , 
                                                                       25 25 
2. (−2,3)
วิธีทา a 2 + b 2 = (−2) 2 + 3 2
     ํ
                   = 4+9
                   = 13
        ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ (−2,3) คือ  2 ,−
                                              
                                                                              3
                                                                                
                                                                       13   13 


3.   6 + 8i
วิธีทา
     ํ   a 2 + b 2 = 6 2 + 82

                  = 36 + 64
                  = 100
                                                    6   8               3  4
         ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ 6 + 8i คือ        −    i   หรื อ      − i
                                                   100 100             50 50
4. − 2 − i
วิธีทา a 2 + b 2 = (−2) 2 + (−1) 2
     ํ
                   = 4 +1
                   =5
                                                       2 1
         ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ   −2−i   คือ   −    + i
                                                       5 50
แบบฝึ กทักษะที 3.3

                                    ่
จงหาตัวผกผันการคูณของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี.
1. (5,8)
2. (−12,−5)
3. (9,−5)
4. 6 + 7i
5. − 12 − 5i
6. (−3,2)
7. (−15,−10)
8. (0,−2)
9. (6,−5)
10. 4 + 2i
11. − 1 + i
12. − 4 − 7i
13. − 45 + 3i

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56krupornpana55
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkanjana2536
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวPiyanouch Suwong
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 

Similar a Math3

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตPumPui Oranuch
 
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899Beer Aksornsart
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb739545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73peter dontoom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนchatchai
 

Similar a Math3 (20)

P2a
P2aP2a
P2a
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
Math4
Math4Math4
Math4
 
Math6
Math6Math6
Math6
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
 
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Vector
VectorVector
Vector
 
Math7
Math7Math7
Math7
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb739545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 

Más de krusangduan54 (6)

Math13
Math13Math13
Math13
 
Math11
Math11Math11
Math11
 
Math
MathMath
Math
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Math8
Math8Math8
Math8
 
M1
M1M1
M1
 

Math3

  • 1. ใบความร้ ูที 3.1 เรือง สมบัติเชิ งพีชคณิตของจํานวนเชิ งซ้ อน ี ี ั สมบัติทีเกยวข้องเกยวกบการบวกและการคูณของจํานวนเชิงซ้อน ่ ถ้า z1 , z 2 , z 3 เป็ นจํานวนเชิงซ้อน แล้วจะได้วา 1. z1 + z 2 = z 2 + z1 และ z1z 2 = z 2 z1 (สมบัติการสลับที) 2. z1 + (z 2 + z 3 ) = (z1 + z 2 ) + z 3 และ z1 (z 2 z 3 ) = (z 2 z1 )z 3 (สมบัติการเปลียนกลุ่ม) 3. z1 (z 2 + z 3 ) = z1z 2 + z1z 3 (สมบัติการเปลียนแปลง) สมบัติเชิ งพีชคณิตของจํานวนเชิ งซ้ อน (Algebraic Propertiest of Complex Number) เอกลักษณ์ และตัวผกผันการบวก ่ พิจารณาการบวกจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี. (a , b) + (0,0) = (a + 0, b + 0) = (a , b ) ั ทํานองเดียวกน (0,0) + (a, b) = (a, b) ่ ่ ดังนั. นจึงกลาวได้วา (0,0) เป็ นเอกลักษณ์การบวกในระบบจํานวนเชิงซ้อน ็ ั ในระบบจํานวนจริ ง ตัวผกผันการบวกของจํานวนใดกตาม คือ จํานวนทีนํามาบวกกบ จํานวนนั. นแล้วได้เอกลักษณ์การบวก ในระบบจํานวนเชิ งซ้อนตัวผกผันการบวกของจํานวน ็ ่ เชิงซ้อนกมีความหมายเชนเดียวกน ั ่ สังเกตวา (a, b) + (−a,−b) = (a − a, b − b) = (0,0) และ (−a ,−b) + (a , b) = (0,0) ดังนั. น (−a ,− b) เป็ นตัวผกผันการบวกของ (a , b) หรื อ − a − bi เป็ นตัวผกผันการบวกของ a + bi ตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซ้อน z เขียนแทนด้วย − z ฉะนั. น − (a + bi) = −a − bi ตัวอย่ างที 1 ตัวผกผันการบวกของ (−2,1) คือ (2,−1) ตัวผกผันการบวกของ 3 + 2i คือ − 3 − 2i ตัวผกผันการบวกของ 1− i คือ −1+ i
  • 2. แบบฝึ กทักษะที 3.1 ่ จงหาตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี. 1. (−3,2) 2. (−15,−10) 3. (0,−2) 4. (6,−5) 5. 4 + 2i 6. − 1 + i 7. − 4 − 7i 8. − 45 + 3i
  • 3. ใบความร้ ู ที 3.2 การลบจํานวนเชิ งซ้ อน ั เราจะนิยามการลบกนจํานวนเชิงซ้อน ดังนี. บทนิยาม z − w = z + (− w ) สําหรับจํานวนเชิงซ้อน z, w ใดๆ ่ ตัวอย่ างที 1 จงหาผลลัพธ์ของจํานวนตอไปนี. 1. (2 − 3i) − (4 − i) วิธีทา (2 − 3i) − (4 − i) = 2 − 3i − 4 + i ํ = (2 − 4) + (−3i + i) = −2 + (−3 + 1)i = −2 + (−2)i = −2 − 2i 2. (−9 + 5i) − (−5 + 3i) วิธีทา (−9 + 5i) − (−5 + 3i) = −9 + 5i + 5 − 3i ํ = (−9 + 5) + (5i − 3i) = −4 + (5 − 3)i = −4 + 2i 3. (−4,5) − (−6,10) วิธีทา (−4,5) − (−6,10) = (−4,5) + (6,−10) ํ = (−4 + 6,5 + (−10)) = (2,−5)
  • 4. แบบฝึ กทักษะที 3.2 ่ จงหาผลลบของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี. 1. (3,4) − (−8,9) 2. (2,−3) − (−2,−7) 3. (−6,−5) − (3,−7) 4. (−3,4) − (8,9) 5. (−2,6) − (−5,−10) 6. (4 + i) − (5 − i) 7. (−6 − 17i) − (5 − 10i) 8. (−6 − 10i) − (−5 + 10i) 9. (6 − 17i) − (−5 − 10i) 10. (−6 + 17i) − (15 + 12i)
  • 5. ใบความร้ ู ที 3.3 เอกลักษณ์ และตัวผกผันการคณของจํานวนเชิ งซ้ อน ู เอกลักษณ์ และตัวผกผันการคณู ่ พิจารณาการคูณจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี. (a , b)(0,1) = (a ⋅ 1 − b ⋅ 0, a ⋅ 0 + b ⋅ 1) = (a − 0,0 + b) = (a , b ) ั ทํานองเดียวกน (1,0)(a , b) = (a, b) ่ ่ ดังนั. นจึงกลาวได้วา (1,0) เป็ นเอกลักษณ์การคูณในระบบจํานวนเชิงซ้อน ่ ่ ั ถ้า (a, b) เป็ นจํานวนเชิงซ้อนซึ งไมเทากบ (0,0) ตัวผกผันการคูณของ (a, b) คือจํานวน ั เชิงซ้อนทีคูณกบ (a, b) แล้วได้ (1,0) ซึ งหาได้ดงนี. ั ให้ (x, y) เป็ นตัวผกผันการคูณของ (1,0) จะได้ (a , b)( x , y) = (1,0) แต่ (a , b)( x , y) = (ax − by, bx + ay) ดังนั. น (ax − by, bx + ay) = (1,0) จากบทนิยามจะได้ ax − by = 1 ………….(1) bx + ay = 0 …………(2) สมการ (1) × a จะได้ a 2 x − aby = a ………(3) สมการ (2) × b จะได้ b 2 x + aby = 0 ……….(4) สมการ (3) + (4) จะได้ a 2x + b2x = a (a 2 + b 2 ) x = a a x= 2 ่ แทนคาในสมการ (2) a + b2 จะได้ b 2 a 2  + ay = 0   a +b  ab + ay = 0 a + b2 2 ab ay = 0 − 2 a + b2
  • 6. ab y=− (a + b 2 ) a 2 b y=− 2 a + b2  a b  ดังนั. น ( x , y) =  2 ,− 2  a +b a + b2  2 b   a2  ตรวจสอบวา (a, b) ่  a ,− 2 2  = 2 b ab ab  a + b2 + a 2 + b2 , a 2 + b2 − a 2 + b2   a +b a +b   2 2   a 2 + b2  = 2  a + b 2 ,0     = (1,0)  a b  ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ (a , b ) คือ  2 ,− 2  a +b a + b2  2 ตัวผกผันการคูณของ z เขียนแทนด้วย z −1 a b เมือเขียน z = a + bi จะได้ z −1 = − 2 i a +b 22 a + b2 a − bi = 2 a + b2 ่ ตัวอย่ าง 3 จงหาตัวผกผันการคูณของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี. 1. (4,−3) วิธีทา ํ a 2 + b 2 = 4 2 + (−3) 2 = 16 + 9 = 25 ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ (4,−3) คือ   4 3  ,   25 25  2. (−2,3) วิธีทา a 2 + b 2 = (−2) 2 + 3 2 ํ = 4+9 = 13 ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ (−2,3) คือ  2 ,−  3   13 13  3. 6 + 8i
  • 7. วิธีทา ํ a 2 + b 2 = 6 2 + 82 = 36 + 64 = 100 6 8 3 4 ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ 6 + 8i คือ − i หรื อ − i 100 100 50 50 4. − 2 − i วิธีทา a 2 + b 2 = (−2) 2 + (−1) 2 ํ = 4 +1 =5 2 1 ดังนั. น ตัวผกผันการคูณของ −2−i คือ − + i 5 50
  • 8. แบบฝึ กทักษะที 3.3 ่ จงหาตัวผกผันการคูณของจํานวนเชิงซ้อนตอไปนี. 1. (5,8) 2. (−12,−5) 3. (9,−5) 4. 6 + 7i 5. − 12 − 5i 6. (−3,2) 7. (−15,−10) 8. (0,−2) 9. (6,−5) 10. 4 + 2i 11. − 1 + i 12. − 4 − 7i 13. − 45 + 3i