SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
ใบความรูที่ 7
                                                     
                                   เรื่อง การแสดงผลออกทางหนาจอ

การแสดงผลออกทางหนาจอ
     การทํางานพื้นฐานที่สุดหรือเรียกไดวาเปนสวนหนึ่งในการทํางานของทุกโปรแกรมคือ การแสดงผลขอมูล
ออกทางจอภาพ โดยในภาษา C นั้น การแสดงผลขอมูลออกทางจอสามารถทําไดดังนี้
คําสั่ง printf
       คําสั่ง printf ถือไดวาเปนคําสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลขอมูลทุกชนิดออกทางหนาจอไมวาจะเปน
จํานวนเต็ม int ทศนิยม float ขอความ string หรืออักขระ นอกจากนี้คําสั่งยังมีความยืดหยุนสูง โดยเราสามารถ
กําหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลใหมีระเบียบหรือเหมาะสมตามความตองการไดอีกดวย
รูปแบบคําสัง prinft()
           ่
                                       printf ("format",variable);
                     ขอมูลที่ตองการแสดงผลออกทางหนาจอ โดยขอมูลนี้ตองเขียนไวในเครื่องหมาย
                 " " ขอมูลที่สามารถแสดงผลไดมีอยู 2 ประเภท คือ ขอความธรรมดา และคาที่เก็บไว
          format
                 ในตัวแปร ซึ่งถาเปนคาที่เก็บไวในตัวแปรตองใสรหัสควบคุมรูปแบบใหตรงกับชนิดของ
                 ขอมูลที่เก็บไวในตัวแปรนั้นดวย
                           ตัวแปรหรือนิพจนที่ตองการนําคาไปแสดงผลใหตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่
         variable
                     กําหนดไว


                 รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลคาของตัวแปรออกทางหนาจอ แสดงไดดังนี้
                 รหัสควบคุมรูปแบบ                  การนําไปใชงาน
                        %d        แสดงผลคาของตัวแปรชนิดจํานวนเต็ม
                        %u            แสดงผลคาของตัวแปรชนิดจํานวนเต็มบวก
                        %f            แสดงผลคาของตัวแปรชนิดจํานวนทศนิยม
                        %c            แสดงผลอักขระ 1 ตัว
                        %s            แสดงผลขอความ หรืออักขระมากกวา 1 ตัว




                                         - การแสดงผลออกทางหนาจอ -
-64-
              ตัวอยางการใชคําสั่ง printf แสดงผลขอความธรรมดาออกทางหนาจอ ดังนี้
     printf("Hello Program C");             แสดงขอความ Hello Program C ออกทางขอภาพ
                                            แสดงขอความ Phichit Pittayakom school ออกทาง
     printf("Phichit Pittayakom school");
                                            จอภาพ
     printf("Phichit Thailand");            แสดงขอความ Phichit Thailand ออกทางจอภาพ


      #include <stdio.h>
      int main()
      {
        prinft(“Phichit Pittayakom Schooln");
        printf("Program Cn");
        getch();
        return 0 ;
      }
      ผลลัพธโปรแกรม
      Phichit Pittayakom School
      Program C

แสดงผลใหเปนระเบียบดวยอักขระควบคุมการแสดงผล
     นอกจากนี้เรายังสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลใหดเปนระเบียบมากขึน อยางเชนขึนบรรทัดใหม หลัง
                                                  ู             ้            ้
แสดงขอความ หรือเวนระยะแท็บระหวางขอความ โดยใชอักขระควบคุมการแสดงผลรวมกับคําสัง printf
                                                                                  ่
             อักขระควบคุมการแสดงผล                             ความหมาย
                           n               ขึ้นบรรทัดใหม
                           t               เวนชองวางเปนระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร)
                           r               กําหนดใหเคอรเซอรไปอยูตนบรรทัด
                           f               เวนชองวางเปนระยะ 1 หนาจอ
                           b               ลบอักขระสุดทายออก 1 ตัว
การนําอักขระควบคุมการแสดงผลมาใช เราตองเขียนอักขระควบคุมการแสดงผลไวภายในเครื่องหมาย " "

                                        - การแสดงผลออกทางหนาจอ -
-65-
printf("Hello ... n");            แสดงขอความ Hello ... แลวขึ้นบรรทัดใหม
                                   แสดงขอความ Hello ...แลวขึ้นบรรทัดใหมพรอมกับแสดงขอความ
printf("Hello...nPhichitn");
                                   Phichit จากนันขึ้นบรรทัดใหมอีกครั้ง
                                                ้
                                 ถา Num1 = 45 , Num2 = 20.153
printf("Num1 = %dtNum2 =           แสดงขอความ Num1 = 45 ตามดวยการเวนชองวาง 1 แท็บแลวตอ
%fn",x,z);                         ดวยขอความ Num2 = 20.153




                                     - การแสดงผลออกทางหนาจอ -

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpimon Aom
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกThanon Paktanadechanon
 
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดคำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเทวัญ ภูพานทอง
 
การจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editor
การจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editorการจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editor
การจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express EditorWarawut
 
Computer programming
Computer  programmingComputer  programming
Computer programmingPreaw Jariya
 

La actualidad más candente (17)

05 Loops
05  Loops05  Loops
05 Loops
 
ฟังก์ชั่น for
ฟังก์ชั่น forฟังก์ชั่น for
ฟังก์ชั่น for
 
ฟังก์ชั่น do_while
ฟังก์ชั่น do_whileฟังก์ชั่น do_while
ฟังก์ชั่น do_while
 
เริ่มต้นกับภาษาซี
เริ่มต้นกับภาษาซีเริ่มต้นกับภาษาซี
เริ่มต้นกับภาษาซี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
 
Unit13
Unit13Unit13
Unit13
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
Unit11
Unit11Unit11
Unit11
 
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดคำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
 
Unit12
Unit12Unit12
Unit12
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
การจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editor
การจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editorการจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editor
การจัดการข้อมูลชนิด String ใน VB.NET 2005 Express Editor
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
Computer programming
Computer  programmingComputer  programming
Computer programming
 
Chapt 5
Chapt 5Chapt 5
Chapt 5
 

Similar a การแสดงผลออกทางหน้าจอ

Similar a การแสดงผลออกทางหน้าจอ (20)

3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
12
1212
12
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
C lang
C langC lang
C lang
 
207
207207
207
 
Computer programming
Computer programmingComputer programming
Computer programming
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
compromint
compromintcompromint
compromint
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
03 input math
03 input math03 input math
03 input math
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 

Más de เทวัญ ภูพานทอง

การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพเทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความเทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559เทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เทวัญ ภูพานทอง
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 

Más de เทวัญ ภูพานทอง (20)

คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plickerคู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plicker
 
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูงการสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
 
ประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engineประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engine
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorerการค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 

การแสดงผลออกทางหน้าจอ

  • 1. ใบความรูที่ 7  เรื่อง การแสดงผลออกทางหนาจอ การแสดงผลออกทางหนาจอ การทํางานพื้นฐานที่สุดหรือเรียกไดวาเปนสวนหนึ่งในการทํางานของทุกโปรแกรมคือ การแสดงผลขอมูล ออกทางจอภาพ โดยในภาษา C นั้น การแสดงผลขอมูลออกทางจอสามารถทําไดดังนี้ คําสั่ง printf คําสั่ง printf ถือไดวาเปนคําสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลขอมูลทุกชนิดออกทางหนาจอไมวาจะเปน จํานวนเต็ม int ทศนิยม float ขอความ string หรืออักขระ นอกจากนี้คําสั่งยังมีความยืดหยุนสูง โดยเราสามารถ กําหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลใหมีระเบียบหรือเหมาะสมตามความตองการไดอีกดวย รูปแบบคําสัง prinft() ่ printf ("format",variable); ขอมูลที่ตองการแสดงผลออกทางหนาจอ โดยขอมูลนี้ตองเขียนไวในเครื่องหมาย " " ขอมูลที่สามารถแสดงผลไดมีอยู 2 ประเภท คือ ขอความธรรมดา และคาที่เก็บไว format ในตัวแปร ซึ่งถาเปนคาที่เก็บไวในตัวแปรตองใสรหัสควบคุมรูปแบบใหตรงกับชนิดของ ขอมูลที่เก็บไวในตัวแปรนั้นดวย ตัวแปรหรือนิพจนที่ตองการนําคาไปแสดงผลใหตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่ variable กําหนดไว รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลคาของตัวแปรออกทางหนาจอ แสดงไดดังนี้ รหัสควบคุมรูปแบบ การนําไปใชงาน %d แสดงผลคาของตัวแปรชนิดจํานวนเต็ม %u แสดงผลคาของตัวแปรชนิดจํานวนเต็มบวก %f แสดงผลคาของตัวแปรชนิดจํานวนทศนิยม %c แสดงผลอักขระ 1 ตัว %s แสดงผลขอความ หรืออักขระมากกวา 1 ตัว - การแสดงผลออกทางหนาจอ -
  • 2. -64- ตัวอยางการใชคําสั่ง printf แสดงผลขอความธรรมดาออกทางหนาจอ ดังนี้ printf("Hello Program C"); แสดงขอความ Hello Program C ออกทางขอภาพ แสดงขอความ Phichit Pittayakom school ออกทาง printf("Phichit Pittayakom school"); จอภาพ printf("Phichit Thailand"); แสดงขอความ Phichit Thailand ออกทางจอภาพ #include <stdio.h> int main() { prinft(“Phichit Pittayakom Schooln"); printf("Program Cn"); getch(); return 0 ; } ผลลัพธโปรแกรม Phichit Pittayakom School Program C แสดงผลใหเปนระเบียบดวยอักขระควบคุมการแสดงผล นอกจากนี้เรายังสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลใหดเปนระเบียบมากขึน อยางเชนขึนบรรทัดใหม หลัง ู ้ ้ แสดงขอความ หรือเวนระยะแท็บระหวางขอความ โดยใชอักขระควบคุมการแสดงผลรวมกับคําสัง printf ่ อักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย n ขึ้นบรรทัดใหม t เวนชองวางเปนระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) r กําหนดใหเคอรเซอรไปอยูตนบรรทัด f เวนชองวางเปนระยะ 1 หนาจอ b ลบอักขระสุดทายออก 1 ตัว การนําอักขระควบคุมการแสดงผลมาใช เราตองเขียนอักขระควบคุมการแสดงผลไวภายในเครื่องหมาย " " - การแสดงผลออกทางหนาจอ -
  • 3. -65- printf("Hello ... n"); แสดงขอความ Hello ... แลวขึ้นบรรทัดใหม แสดงขอความ Hello ...แลวขึ้นบรรทัดใหมพรอมกับแสดงขอความ printf("Hello...nPhichitn"); Phichit จากนันขึ้นบรรทัดใหมอีกครั้ง ้ ถา Num1 = 45 , Num2 = 20.153 printf("Num1 = %dtNum2 = แสดงขอความ Num1 = 45 ตามดวยการเวนชองวาง 1 แท็บแลวตอ %fn",x,z); ดวยขอความ Num2 = 20.153 - การแสดงผลออกทางหนาจอ -