SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
Descargar para leer sin conexión
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง 1
โอห์มได้ทดลองต่อปลายของลวดนิโครม ซึงเป็นโลหะผสมระหว่าง
                                            ่
นิกเกิลกับโครเมียมเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า เขาพบความสัมพันธ์ว่า “ถ้า
อุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนาจะมีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์
ระหว่างปลายของตัวนานั้น” ซึ่งสามารถสรุปเป็นความสัมพันธ์ได้ดังสมการ
                            V
                        I 
                            R
     เมื่อ V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
           R คือ ความต้านทานไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โอห์ม ()
           I คือกระแสไฟฟ้ามีหน่วยโวลต์ต่อโอห์ม หรือแอมแปร์ (A)
ตัวอย่าง 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 50 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด
          1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด
วิธีทา                      R = 50 

                 I =?

                           V = 1.5 V
                       V
   จากสมการ        I 
                       R
แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้
                             1.5 V
                         I 
                             50 
ตัวอย่าง 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 50 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด
          1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด
วิธีทา                      R = 50 

                 I =?

                            V = 1.5 V
                1.5     V
            I 
                50      
           I  0.03 A

     ตอบ มีกระแสไหลผ่านลวดนิโครม 0.03 แอมแปร์
ตัวอย่าง 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 3.0 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล
    ผ่านลวดทองแดง 0.05 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน
    เท่าใด                 R=?
วิธีทา
           I = 0.05 A

                           V = 3.0V
                       V
   จากสมการ        I 
                       R
แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้
                              3.0 V
                     0.05 A 
                                R
ตัวอย่าง 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 3.0 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล
    ผ่านลวดทองแดง 0.05 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน
    เท่าใด                 R=?
วิธีทา
           I = 0.05 A

                           V = 3.0V
                      3.0 V
               R 
                      0.05 A
                R  60 

    ตอบ ลวดทองแดงมีความต้านทาน 60 โอห์ม
ตัวอย่าง 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน
    ขนาด 0.1 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 40 โอห์ม อยากทราบว่าความต่าง
    ศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด
                                       R = 40 
วิธีทา
                     I = 0.1 A

                                      V=?
                       V
   จากสมการ        I 
                       R
แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้
                             V
                    0.1 A 
                            40 
ตัวอย่าง 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน
    ขนาด 0.1 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 40 โอห์ม อยากทราบว่าความต่าง
    ศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด
                                       R = 40 
วิธีทา
                     I = 0.1 A
             V                        V=?
    0.1 A 
            40 

          V  0.1 A  40 
          V  4V

    ตอบ เซลล์ไฟฟ้ามีความต่างศักย์ 4 โวล์ต
+
คาถาม 1
        ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 75 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้า
ขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด


           ลองหาคาตอบดูนะครับ                         -
คาตอบ คาถาม 1
       มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครม 0.02 แอมแปร์


       ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                      ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 75 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด
        1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด
วิธีทา                    R = 75 

                 I =?

                           V = 1.5 V
                       V
   จากสมการ        I 
                       R
แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้
                            1.5 V
                        I 
                            75 
คาถาม 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 75 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด
        1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด
วิธีทา                    R = 75 

                 I =?

                            V = 1.5 V
               1.5      V
           I 
               75       
           I  0.02 A

    ตอบ มีกระแสไหลผ่านลวดนิโครม 0.02 แอมแปร์
+
คาถาม 2
       ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 4.5 โวลต์ จะมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดทองแดง 0.075 แอมแปร์ อยากทราบว่า
ลวดทองแดงมีความต้านทานเท่าใด

          ลองหาคาตอบดูนะครับ                        -
คาตอบ คาถาม 2
        ลวดทองแดงมีความต้านทานไฟฟ้า 60 โอห์ม


      ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                     ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 4.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล
    ผ่านลวดทองแดง 0.075 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน
    เท่าใด                R=?
วิธีทา
         I = 0.075 A

                          V = 4.5V
                      V
   จากสมการ       I 
                      R
แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้
                             4.5 V
                   0.075 A 
                               R
คาถาม 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 4.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล
    ผ่านลวดทองแดง 0.075 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน
    เท่าใด                R=?
วิธีทา
         I = 0.075 A

                          V = 4.5V
                 4.5 V
          R 
                0.075 A
           R  60 

   ตอบ ลวดทองแดงมีความต้านทาน 60 โอห์ม
+
คาถาม 3
         ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านลวดเงินขนาด 0.05 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม
อยากทราบว่าความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด

           ลองหาคาตอบดูนะครับ                        -
คาตอบ คาถาม 2
       ความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้า 60 โวลต์


       ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                      ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน
    ขนาด 0.05 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม อยากทราบว่าความ
    ต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด
                                       R = 50 
วิธีทา
                     I = 0.05 A

                                     V=?
                       V
   จากสมการ        I 
                       R
แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้
                             V
                   0.05 A 
                            50 
คาถาม 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน
    ขนาด 0.05 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม อยากทราบว่าความ
    ต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด
                                       R = 50 
วิธีทา
                     I = 0.05 A
             V                       V=?
   0.05 A 
            50 
         V  0.05 A  50 
         V  2.5 V

    ตอบ เซลล์ไฟฟ้ามีความต่างศักย์ 2.5 โวลต์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 

La actualidad más candente (20)

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 

Destacado

Destacado (10)

กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้าการทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 

Similar a กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6Gawewat Dechaapinun
 

Similar a กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1 (20)

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
Ohm law
Ohm lawOhm law
Ohm law
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 

Más de Somporn Laothongsarn

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 

Más de Somporn Laothongsarn (20)

Physical quantity and units
Physical quantity and unitsPhysical quantity and units
Physical quantity and units
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 

กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1

  • 2. โอห์มได้ทดลองต่อปลายของลวดนิโครม ซึงเป็นโลหะผสมระหว่าง ่ นิกเกิลกับโครเมียมเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า เขาพบความสัมพันธ์ว่า “ถ้า อุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนาจะมีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ ระหว่างปลายของตัวนานั้น” ซึ่งสามารถสรุปเป็นความสัมพันธ์ได้ดังสมการ V I  R เมื่อ V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โวลต์ (V) R คือ ความต้านทานไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โอห์ม () I คือกระแสไฟฟ้ามีหน่วยโวลต์ต่อโอห์ม หรือแอมแปร์ (A)
  • 3. ตัวอย่าง 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 50 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด วิธีทา R = 50  I =? V = 1.5 V V จากสมการ I  R แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้ 1.5 V I  50 
  • 4. ตัวอย่าง 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 50 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด วิธีทา R = 50  I =? V = 1.5 V 1.5 V I  50  I  0.03 A ตอบ มีกระแสไหลผ่านลวดนิโครม 0.03 แอมแปร์
  • 5. ตัวอย่าง 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 3.0 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านลวดทองแดง 0.05 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน เท่าใด R=? วิธีทา I = 0.05 A V = 3.0V V จากสมการ I  R แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้ 3.0 V 0.05 A  R
  • 6. ตัวอย่าง 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 3.0 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านลวดทองแดง 0.05 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน เท่าใด R=? วิธีทา I = 0.05 A V = 3.0V 3.0 V R  0.05 A R  60  ตอบ ลวดทองแดงมีความต้านทาน 60 โอห์ม
  • 7. ตัวอย่าง 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน ขนาด 0.1 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 40 โอห์ม อยากทราบว่าความต่าง ศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด R = 40  วิธีทา I = 0.1 A V=? V จากสมการ I  R แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้ V 0.1 A  40 
  • 8. ตัวอย่าง 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน ขนาด 0.1 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 40 โอห์ม อยากทราบว่าความต่าง ศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด R = 40  วิธีทา I = 0.1 A V V=? 0.1 A  40  V  0.1 A  40  V  4V ตอบ เซลล์ไฟฟ้ามีความต่างศักย์ 4 โวล์ต
  • 9. + คาถาม 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 75 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้า ขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 10. คาตอบ คาถาม 1 มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครม 0.02 แอมแปร์ ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 11. คาถาม 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 75 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด วิธีทา R = 75  I =? V = 1.5 V V จากสมการ I  R แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้ 1.5 V I  75 
  • 12. คาถาม 1 ถ้าลวดนิโครมมีความต้านทาน 75 โอห์ม ต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดนิโครมเท่าใด วิธีทา R = 75  I =? V = 1.5 V 1.5 V I  75  I  0.02 A ตอบ มีกระแสไหลผ่านลวดนิโครม 0.02 แอมแปร์
  • 13. + คาถาม 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 4.5 โวลต์ จะมี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดทองแดง 0.075 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทานเท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 14. คาตอบ คาถาม 2 ลวดทองแดงมีความต้านทานไฟฟ้า 60 โอห์ม ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 15. คาถาม 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 4.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านลวดทองแดง 0.075 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน เท่าใด R=? วิธีทา I = 0.075 A V = 4.5V V จากสมการ I  R แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้ 4.5 V 0.075 A  R
  • 16. คาถาม 2 ลวดทองแดงต่ออยู่กับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 4.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านลวดทองแดง 0.075 แอมแปร์ อยากทราบว่า ลวดทองแดงมีความต้านทาน เท่าใด R=? วิธีทา I = 0.075 A V = 4.5V 4.5 V R  0.075 A R  60  ตอบ ลวดทองแดงมีความต้านทาน 60 โอห์ม
  • 17. + คาถาม 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านลวดเงินขนาด 0.05 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม อยากทราบว่าความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 18. คาตอบ คาถาม 2 ความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้า 60 โวลต์ ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 19. คาถาม 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน ขนาด 0.05 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม อยากทราบว่าความ ต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด R = 50  วิธีทา I = 0.05 A V=? V จากสมการ I  R แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่ากระแสได้ดังนี้ V 0.05 A  50 
  • 20. คาถาม 3 ต่อลวดเงินเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดเงิน ขนาด 0.05 แอมแปร์ ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม อยากทราบว่าความ ต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดเท่าใด R = 50  วิธีทา I = 0.05 A V V=? 0.05 A  50  V  0.05 A  50  V  2.5 V ตอบ เซลล์ไฟฟ้ามีความต่างศักย์ 2.5 โวลต์