SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

1

ใบความรู้

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้ น

ระบบสมการเชิงเส้ นและคาตอบของระบบสมการเชิงเส้ น
บทนิยาม
ให้ a, b, c, d, e, f เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ที่ a, b ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน และ c, d ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน
ax  by  e
เรี ยก 
ว่ าเป็ นระบบสมการเชิงเส้ นสองตัวแปร
cx  dy  f

โดยที่ x และ y เป็ นตัวแปร
คาตอบของระบบสมการนี้คือค่าของ x และ y ที่ทาให้สมการทั้งคู่เป็ นจริ ง
ตัวอย่ างที่ 1 จงแก้ระบบสมการ
x+y=0
2x – y = 3
x + y = 0 ………..(1)
x–y = 3 ………..(2)
(1)+(2) ; x + y + 2x – y = 0 + 3
3x = 3
วิธีทา

x=

3
3

=1

แทนค่า x = 1 ในสมการ (1) จะได้
1+y= 0
y = 0 – 1 = –1
คาตอบของสมการคือ x = 1 และ y = –1 หรื อ (1, –1)

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

2

วิธีแก้ระบบสมการ
วิธีการแก้ ระบบสมการ สามารถทาได้ 2 วิธี คือ
1) การกาจัดตัวแปรโดยวิธีการบวกลบสมการ (elimination by addition or subtraction ) ทาได้โดยการนา
สมการมาบวกหรื อลบกันเพือกาจัดตัวแปรให้เหลือตัวแปรเดียว แล้วหาค่าตัวแปรนั้นจากสมการที่ได้
่
จากนั้นให้นาค่าของตัวแปรที่ได้ไปแทนในสมการเดิมสมการใดสมการหนึ่ ง เพื่อหาค่าของตัวแปรที่
เหลือ
2) การกาจัดตัวแปรโดยวิธีการแทนค่า (elimination by substitution) ทาได้โดยเลือกสมการใดสมการ
่
หนึ่ง แล้วหาค่าตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งให้อยูในรู ปของอีกตัวแปรหนึ่ง นาผลที่ได้ไปแทนในอีกสมการ
หนึ่ง แล้วจะเหลือตัวแปรเพียงตัวเดียว จึงหาค่าของตัวแปรนั้นได้ เมื่อหาตัวแปรหนึ่งได้ก็จะหาตัว
แปรที่เหลือได้
ระบบสมการเชิงเส้ นและคาตอบของระบบสมการเชิงเส้ น
ในหัวข้อนี้จะศึกษาระบบสมการเชิงเส้น n ตัวแปร โดยที่ n  2
บทนิยาม
ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...a n , b เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ที่ a1 ,a 2 ,a 3 ,...a n ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน เรี ยกสมการ
a1x1  a 2 x 2  a3x 3  ...  a n x n  b เป็ นสมการเชิงเส้น n ตัวแปร โดยที่ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n เป็ นตัวแปร
บทนิยาม
ระบบสมการเชิงเส้นที่มี x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n เป็ นตัวแปร หมายถึงชุดของสมการเชิงเส้นที่ประกอบด้วยสมการ
เชิงเส้นที่มี x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n เป็ นตัวแปรจานวน m สมการ โดยที่ m  2
คาตอบของระบบสมการนี้คือ ค่าของ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n ที่ทาให้สมการทั้ง m สมการเป็ นจริ ง
โดยทัวไปแล้ว เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี m สมการ และ n ตัวแปร
่
a11x1  a12 x 2  a13 x3  ...  a1n x n  b1
a 21x1  a 22 x 2  a 23x 3  ...  a 2n x n  b 2

a m1x1  a m2 x 2  a m3x 3  ...  a mn x n  b m
เมื่อ a i1x1  a i2 x 2  a i3x 3  ...  a in x n  b i เป็ นสมการเชิงเส้นทุก i  {1, 2, 3, …, m} นันคือ
่
a i1 ,a i2 ,a i3 x 3 ,...,a in ,b i เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ที่ a i1 ,a i2 ,a i3 x 3 ,...,a in ,b i ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน
นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

3

ในระบบสมการเชิงเส้นที่มี n ตัวแปร มักนิยมแทนตัวแปรดังนี้
ถ้า n = 2 แล้ว จะให้ x, y
แทนตัวแปร
ถ้า n = 3 แล้ว จะให้ x, y, z
แทนตัวแปร
ถ้า n = 4 แล้ว จะให้ x, y, z, t แทนตัวแปร
ถ้า n  5 แล้ว จะให้ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n แทนตัวแปร
อาจใช้ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n แทนตัวแปร กรณี n = 2, 3 หรื อ 4 ก็ได้
สาหรับคาตอบของระบบสมการมักนิยมเขียนในรู ปของ n สิ่งอันดับ (ordered n-tuple) เช่น (x, y) , (x, y, z),
(x, y, z, t), ( x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n )
ตัวอย่ างที่ 1 จงแก้ระบบสมการ
x+y+z = 2
x+y–z = 4
x + 2y + z = 4
วิธีทา
x+y+z = 2
…………………..(1)
x+y–z = 4
…………………..(2)
x + 2y + z = 4
…………………..(3)
(1) – (2) จะได้ 2z = –2
z = –1
(3) – (1) จะได้ y = 2
แทนค่า y = 2 และ z = –1 ลงใน (1)
จะได้ x + 2 – 1 = 2
x=1

อย่าลืม!ตรวจคาตอบนะจ๊ะ

ตรวจคาตอบโดยการนาค่า x = 1 , y = 2 และ z = –1 แทนลงใน (2) และ (3)
ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (1, 2, –1)

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

4

ตัวอย่ างที่ 2 จงแก้ระบบสมการ
x + y + z = –2
x – 2y – 2z = 1
x + 2y + z = 0
วิธีทา
x + y + z = –2
…………………..(1)
x – 2y – 2z = 1
…………………..(2)
x + 2y + z = 0
…………………..(3)
(1) – (2) จะได้
(x + y + z) – (x – 2y – 2z) = –2 – 1
x + y + z – x + 2y + 2z = –3

(3) – (1) จะได้

3y + 3z = –3
y + z = –1 …………………..(4)
(x + 2y + z) – (x + y + z) = 0 – (–2)
x + 2y + z – x – y – z = 2
y= 2

แทนค่า y = 2 ลงใน (4)
จะได้
2 + z = –1
z = –3
แทนค่า y = 2 และ z = –3 ลงใน (1)
จะได้
x + 2 + (–3) = –2
x = –1

อย่าลืม!ตรวจคาตอบนะจ๊ะ

ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = –1 , y = 2 และ z = –3 แทนลงใน (2) และ (3)
ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (–1, 2, –3)

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

5

ตัวอย่ างที่ 3 จงแก้ระบบสมการ
x + 2y + 7z = 10
x + y + 5z = 7
2x – y + 4z = 5
วิธีทา
x + 2y + 7z
x + y + 5z
2x – y + 4z
(1) – (2) จะได้
2(1) จะได้
(5) – (3) จะได้
5 (4)
(6) – (7)
2  (4) จะได้
(1) – (8) จะได้

= 10
= 7
= 5
y + 2z = 3
2x + 4y + 14z = 20
5y + 10z = 15
5y + 10z = 15
0 = 0 เป็ นจริ ง
2y + 4z = 6
x + 3z = 4

…………………..(1)
…………………..(2)
…………………..(3)
…………………..(4)
…………………..(5)
………………….(6)
………………….(7)
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการมีหลายคาตอบ
…………………..(8)
…………………..(9)

จาก (4) จะได้
y = 3 – 2z และจาก (9) จะได้
x = 4 – 3z
แทน x = 4 – 3z และ y = 3 – 2z ลงใน (3)
จะได้
2(4 – 3z) – (3 – 2z) + 4z = 5
5=5
แทน x = 4 – 3z และ y = 3 – 2z ลงใน (1)
จะได้
(4 – 3z) + 2(3 – 2z) + 7z = 10
10 = 10
แทน x = 4 – 3z และ y = 3 – 2z ลงใน (2)
จะได้
(4 – 3z) + (3 – 2z) + 5z = 7
7=7
ดังนั้น x = 4 – 3z , y = 3 – 2z สอดคล้องสมการ (1), (2), (3)
่
จะได้วา คาตอบของระบบสมการคือ (4 – 3z, 3 – 2z, z) เมื่อ z  R
หรื อเซตคาตอบของระบบสมการคือ {(x, y, z) | x = 4 – 3z , y = 3 – 2z , z  R}
หรื อ {(4 – 3z, 3 – 2z, z) | z  R}
นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

6

ตัวอย่ างที่ 4 จงแก้ระบบสมการ
x + 2y – 2z = 1
2x + 2y – z = 4
3x + 4y – 3z = 6
วิธีทา
x + 2y – 2z = 1
…………………..(1)
2x + 2y – z = 4
…………………..(2)
3x + 4y – 3z = 6
…………………..(3)
(1) + (2) จะได้
3x + 4y – 3z = 5
…………………..(4)
ถ้า (x, y, z) เป็ นคาตอบของระบบสมการที่กาหนดแล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้องกับ
สมการ (1), (2), (3) และถ้า (x, y, z) สอดคล้องกับสมการ (1), (2) แล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้อง
กับสมการ (4)
จาก (3)
3x + 4y – 3z = 6
จาก (4)
3x + 4y – 3z = 5
(3) – (4) จะได้
0 = 1 เป็ นเท็จ
่
ซึ่งเห็นได้วา ไม่มี x, y, z ที่ทาให้สมการ (3) และ (4) เป็ นจริ งพร้อมกัน
ดังนั้น ระบบสมการที่กาหนดไม่มีคาตอบ
ตัวอย่ างที่ 5 จงแก้ระบบสมการ
2x – y + 3z – w = –3
3x + 2y – z + w = 13
x – 3y + z – 2w = –4
–x + y + 4z + 3w = 0
วิธีทา
2x – y + 3z – w = –3 …………………..(1)
3x + 2y – z + w = 13 …………………..(2)
x – 3y + z – 2w = –4 …………………..(3)
–x + y + 4z + 3w = 0 …………………..(4)
(2) + (1) จะได้ (3x + 2y – z + w) + (2x – y + 3z – w) = –2 – 1
3x + 2y – z + w + 2x – y + 3z – w = 13 + (–3)

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

7

5x + y + 2z = 10 …………………..(5)
2(1) – (3) จะได้ 2(2x – y + 3z – w) – (x – 3y + z – 2w) = 2(–3) – (–4)
4x – 2y + 6z – 2w – x + 3y – z + 2w = –6 + 4
3x + y + 5z = –2 …………………..(6)
3(1) + (4) จะได้ 3(2x – y + 3z – w) + (–x + y + 4z + 3w) = 3(–3) + 0
6x – 3y + 9z – 3w – x + y + 4z + 3w = –9
5x – 2y + 13z = –9 …………………..(7)
5x + y + 2z = 10 …………………..(5)
3x + y + 5z = –2 …………………..(6)
(5) – (6) จะได้
2x – 3z = 12 …………………..(8)
2(6) + (7) จะได้
11(8)
2(9)
(10) – (11)

11x + 26z
22x – 33z
22x – 52z
19z

=
=
=
=

–13 …………………..(9)
132 …………………..(10)
–26 …………………..(11)
158
z = 158
19

แทนค่า z = 158 ลงใน (8)
19
จะได้
2x – 3( 158 ) = 12
19
x = 351
19
351 และ z = 158 ลงใน (6)
แทนค่า x = 19
19
จะได้

3x + y + 5z = 10
3( 351 ) + y + 5( 158 ) = 10
19
19
y =  1653
19

อย่าลืม!ตรวจคาตอบนะจ๊ะ

ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = 351 , y =  1653 และ z = 158 แทนลงใน (2)
19
19
19
และ (3)ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 351 ,  1653 , 158 )
19 19 19

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

8

ใบงาน
ชื่อ
กิจกรรมที่
....................................................................................
...........................ชั้น ม.4/..........เลขที่............
1
คาชี้แจง

จงแก้ ระบบสมการต่ อไปนี้
1)

x+y–z = 2
3x – y – 2z = –1
x – 3y – 3z = 4
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

9

2)

2x + y – z = 5
3x – 2y + 2z = –3
x – 3y – 3z = –2
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

10

3)

2x + 3y + z = 3
x + 2y + z = 1
–x + 4y = –2
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

11

4)

4x + 3y + 2z = 5
3x – y – z = 6
–x + 2y + z = 1
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

12

เฉลยใบกิจกรรม
ที่ 1
จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
1)

x+y–z = 2
3x – y – 2z = –1
x – 3y – 3z = 4

วิธีทา
x+y–z = 2
3x – y – 2z = –1
x – 3y – 3z = 4
2(1) – (2) จะได้ –x + 3y = 5
3(1) – (3) จะได้ 2x + 6y = 2
(5) – 2(4) จะได้
4x = –8
x = –2
แทนค่า x = –2 ลงใน (4)
จะได้ –(–2) + 3y = 5
y=1

…………………..(1)
…………………..(2)
…………………..(3)
…………………..(4)
…………………..(5)

แทนค่า x = –2 และ y = 1 ลงใน (1)
จะได้ –2 + 1 – z = 2
z = –3

วิธีทามีได้หลาย
วิธนะจ๊ะ
ี

ตรวจคาตอบ
หรือยังจ๊ะ

ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = –2 , y = 1และ z = –3 แทนลงใน (2) และ (3)
ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (–2, 1, –3)

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์
2)

13

2x + y – z = 5
3x – 2y + 2z = –3
x – 3y – 3z = –2

วิธีทา
2x + y – z = 5
3x – 2y + 2z = –3
x – 3y – 3z = –2
2(1) + (2) จะได้
7x = 7

…………………..(1)
…………………..(2)
…………………..(3)
…………………..(4)

x=1
3(1) – (3) จะได้ 5x + 6y = 17 …………………..(5)
แทนค่า x = 1 ใน (5) จะได้ 5(1) + 6y = 17
y=2
แทนค่า x = 1 และ y = 2 ลงใน (3)
ตรวจคาตอบ
จะได้ 1 – 3(2) – 3z = –2
หรือยังจ๊ะ
z = –1
ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = 1 , y = 2และ z = –1 แทนลงใน (1) และ (2)
ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (1, 2, –1)

3)

2x + 3y + z = 3
x + 2y + z = 1
–x + 4y = –2

วิธีทา
2x + 3y + z
x + 2y + z
–x + 4y
(1) – (2) จะได้
(3) + (4) จะได้

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

=3
=1
= –2
x+y=2
5y = 0
y=0

…………………..(1)
…………………..(2)
…………………..(3)
…………………..(4)
วิธีทามีได้หลาย
วิธนะจ๊ะ
ี

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

14

แทนค่า y = 0 ใน (4) จะได้ x + 0 = 2
x=2
แทนค่า x = 2 และ y = 0 ลงใน (1)
จะได้ 2(2) + 3(0) + z = 3
z = –1

อย่าลืม! ตรวจ
คาตอบทุกครั้ง
นะจ๊ะ

ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = 2 , y = 0และ z = –1 แทนลงใน (2) และ (3)
ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (2, 0, –1)

4)

4x + 3y + 2z = 5
3x – y – z = 6
–x + 2y + z = 1

วิธีทา
4x + 3y + 2z = 5
3x – y – z = 6
–x + 2y + z = 1
(2) + (3) จะได้ 2x + y = 7

…………………..(1)
…………………..(2)
…………………..(3)
…………………..(4)

(1) – 2(3) จะได้
(4) + (5) จะได้

…………………..(5)

6x – y = 3
8x = 10
x=

5
4

วิธีทามีได้หลาย
วิธนะจ๊ะ
ี

แทนค่า x =
จะได้

5
ลงใน (4)
4
2 5 + y = 7
 
4

y = 7–

แทนค่า

5
=9
2
2
5
9
x = และ y = ลงใน (3)
4
2
จะได้ –  5  + 2  9  + z = 1
 
 
4
2

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์

15


5
4

+9+z=1

31
+z=1
4
z = 1 – 31 =  27
4
4

ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x =
ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ

5
4

อย่าลืม! ตรวจ
คาตอบทุกครั้ง
นะจ๊ะ

, y = 9 และ z =  27 แทนลงใน (2) และ (3)
2

4

ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 5 , 9 ,  27 ) หรื อ ( 1 1 , 4 1 , 6 3 )
4 2

4

4

2

4

เก่งจัง ทา
ได้หมด
เลย

นางธนาภรณ์ โคตรนารา

โรงเรี ยนระยองวิทยาคม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงพัน พัน
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2พัน พัน
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามMath and Brain @Bangbon3
 

La actualidad más candente (20)

เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
linear function
linear functionlinear function
linear function
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
 

Similar a ระบบสมการเชิงเส้น

เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นsuwanpinit
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4ทับทิม เจริญตา
 

Similar a ระบบสมการเชิงเส้น (20)

เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
Equation
EquationEquation
Equation
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 matrix-081060
60 matrix-08106060 matrix-081060
60 matrix-081060
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
Pat1 57-04+key
Pat1 57-04+keyPat1 57-04+key
Pat1 57-04+key
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
59 matrix-171059
59 matrix-17105959 matrix-171059
59 matrix-171059
 

ระบบสมการเชิงเส้น

  • 1. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 1 ใบความรู้ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้ น ระบบสมการเชิงเส้ นและคาตอบของระบบสมการเชิงเส้ น บทนิยาม ให้ a, b, c, d, e, f เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ที่ a, b ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน และ c, d ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน ax  by  e เรี ยก  ว่ าเป็ นระบบสมการเชิงเส้ นสองตัวแปร cx  dy  f  โดยที่ x และ y เป็ นตัวแปร คาตอบของระบบสมการนี้คือค่าของ x และ y ที่ทาให้สมการทั้งคู่เป็ นจริ ง ตัวอย่ างที่ 1 จงแก้ระบบสมการ x+y=0 2x – y = 3 x + y = 0 ………..(1) x–y = 3 ………..(2) (1)+(2) ; x + y + 2x – y = 0 + 3 3x = 3 วิธีทา x= 3 3 =1 แทนค่า x = 1 ในสมการ (1) จะได้ 1+y= 0 y = 0 – 1 = –1 คาตอบของสมการคือ x = 1 และ y = –1 หรื อ (1, –1) นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 2. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 2 วิธีแก้ระบบสมการ วิธีการแก้ ระบบสมการ สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 1) การกาจัดตัวแปรโดยวิธีการบวกลบสมการ (elimination by addition or subtraction ) ทาได้โดยการนา สมการมาบวกหรื อลบกันเพือกาจัดตัวแปรให้เหลือตัวแปรเดียว แล้วหาค่าตัวแปรนั้นจากสมการที่ได้ ่ จากนั้นให้นาค่าของตัวแปรที่ได้ไปแทนในสมการเดิมสมการใดสมการหนึ่ ง เพื่อหาค่าของตัวแปรที่ เหลือ 2) การกาจัดตัวแปรโดยวิธีการแทนค่า (elimination by substitution) ทาได้โดยเลือกสมการใดสมการ ่ หนึ่ง แล้วหาค่าตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งให้อยูในรู ปของอีกตัวแปรหนึ่ง นาผลที่ได้ไปแทนในอีกสมการ หนึ่ง แล้วจะเหลือตัวแปรเพียงตัวเดียว จึงหาค่าของตัวแปรนั้นได้ เมื่อหาตัวแปรหนึ่งได้ก็จะหาตัว แปรที่เหลือได้ ระบบสมการเชิงเส้ นและคาตอบของระบบสมการเชิงเส้ น ในหัวข้อนี้จะศึกษาระบบสมการเชิงเส้น n ตัวแปร โดยที่ n  2 บทนิยาม ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...a n , b เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ที่ a1 ,a 2 ,a 3 ,...a n ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน เรี ยกสมการ a1x1  a 2 x 2  a3x 3  ...  a n x n  b เป็ นสมการเชิงเส้น n ตัวแปร โดยที่ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n เป็ นตัวแปร บทนิยาม ระบบสมการเชิงเส้นที่มี x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n เป็ นตัวแปร หมายถึงชุดของสมการเชิงเส้นที่ประกอบด้วยสมการ เชิงเส้นที่มี x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n เป็ นตัวแปรจานวน m สมการ โดยที่ m  2 คาตอบของระบบสมการนี้คือ ค่าของ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n ที่ทาให้สมการทั้ง m สมการเป็ นจริ ง โดยทัวไปแล้ว เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี m สมการ และ n ตัวแปร ่ a11x1  a12 x 2  a13 x3  ...  a1n x n  b1 a 21x1  a 22 x 2  a 23x 3  ...  a 2n x n  b 2 a m1x1  a m2 x 2  a m3x 3  ...  a mn x n  b m เมื่อ a i1x1  a i2 x 2  a i3x 3  ...  a in x n  b i เป็ นสมการเชิงเส้นทุก i  {1, 2, 3, …, m} นันคือ ่ a i1 ,a i2 ,a i3 x 3 ,...,a in ,b i เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ที่ a i1 ,a i2 ,a i3 x 3 ,...,a in ,b i ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 3. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 3 ในระบบสมการเชิงเส้นที่มี n ตัวแปร มักนิยมแทนตัวแปรดังนี้ ถ้า n = 2 แล้ว จะให้ x, y แทนตัวแปร ถ้า n = 3 แล้ว จะให้ x, y, z แทนตัวแปร ถ้า n = 4 แล้ว จะให้ x, y, z, t แทนตัวแปร ถ้า n  5 แล้ว จะให้ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n แทนตัวแปร อาจใช้ x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n แทนตัวแปร กรณี n = 2, 3 หรื อ 4 ก็ได้ สาหรับคาตอบของระบบสมการมักนิยมเขียนในรู ปของ n สิ่งอันดับ (ordered n-tuple) เช่น (x, y) , (x, y, z), (x, y, z, t), ( x1 ,x 2 ,x 3 ,...x n ) ตัวอย่ างที่ 1 จงแก้ระบบสมการ x+y+z = 2 x+y–z = 4 x + 2y + z = 4 วิธีทา x+y+z = 2 …………………..(1) x+y–z = 4 …………………..(2) x + 2y + z = 4 …………………..(3) (1) – (2) จะได้ 2z = –2 z = –1 (3) – (1) จะได้ y = 2 แทนค่า y = 2 และ z = –1 ลงใน (1) จะได้ x + 2 – 1 = 2 x=1 อย่าลืม!ตรวจคาตอบนะจ๊ะ ตรวจคาตอบโดยการนาค่า x = 1 , y = 2 และ z = –1 แทนลงใน (2) และ (3) ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (1, 2, –1) นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 4. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 4 ตัวอย่ างที่ 2 จงแก้ระบบสมการ x + y + z = –2 x – 2y – 2z = 1 x + 2y + z = 0 วิธีทา x + y + z = –2 …………………..(1) x – 2y – 2z = 1 …………………..(2) x + 2y + z = 0 …………………..(3) (1) – (2) จะได้ (x + y + z) – (x – 2y – 2z) = –2 – 1 x + y + z – x + 2y + 2z = –3 (3) – (1) จะได้ 3y + 3z = –3 y + z = –1 …………………..(4) (x + 2y + z) – (x + y + z) = 0 – (–2) x + 2y + z – x – y – z = 2 y= 2 แทนค่า y = 2 ลงใน (4) จะได้ 2 + z = –1 z = –3 แทนค่า y = 2 และ z = –3 ลงใน (1) จะได้ x + 2 + (–3) = –2 x = –1 อย่าลืม!ตรวจคาตอบนะจ๊ะ ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = –1 , y = 2 และ z = –3 แทนลงใน (2) และ (3) ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (–1, 2, –3) นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 5. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 5 ตัวอย่ างที่ 3 จงแก้ระบบสมการ x + 2y + 7z = 10 x + y + 5z = 7 2x – y + 4z = 5 วิธีทา x + 2y + 7z x + y + 5z 2x – y + 4z (1) – (2) จะได้ 2(1) จะได้ (5) – (3) จะได้ 5 (4) (6) – (7) 2  (4) จะได้ (1) – (8) จะได้ = 10 = 7 = 5 y + 2z = 3 2x + 4y + 14z = 20 5y + 10z = 15 5y + 10z = 15 0 = 0 เป็ นจริ ง 2y + 4z = 6 x + 3z = 4 …………………..(1) …………………..(2) …………………..(3) …………………..(4) …………………..(5) ………………….(6) ………………….(7) ดังนั้น คาตอบของระบบสมการมีหลายคาตอบ …………………..(8) …………………..(9) จาก (4) จะได้ y = 3 – 2z และจาก (9) จะได้ x = 4 – 3z แทน x = 4 – 3z และ y = 3 – 2z ลงใน (3) จะได้ 2(4 – 3z) – (3 – 2z) + 4z = 5 5=5 แทน x = 4 – 3z และ y = 3 – 2z ลงใน (1) จะได้ (4 – 3z) + 2(3 – 2z) + 7z = 10 10 = 10 แทน x = 4 – 3z และ y = 3 – 2z ลงใน (2) จะได้ (4 – 3z) + (3 – 2z) + 5z = 7 7=7 ดังนั้น x = 4 – 3z , y = 3 – 2z สอดคล้องสมการ (1), (2), (3) ่ จะได้วา คาตอบของระบบสมการคือ (4 – 3z, 3 – 2z, z) เมื่อ z  R หรื อเซตคาตอบของระบบสมการคือ {(x, y, z) | x = 4 – 3z , y = 3 – 2z , z  R} หรื อ {(4 – 3z, 3 – 2z, z) | z  R} นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 6. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 6 ตัวอย่ างที่ 4 จงแก้ระบบสมการ x + 2y – 2z = 1 2x + 2y – z = 4 3x + 4y – 3z = 6 วิธีทา x + 2y – 2z = 1 …………………..(1) 2x + 2y – z = 4 …………………..(2) 3x + 4y – 3z = 6 …………………..(3) (1) + (2) จะได้ 3x + 4y – 3z = 5 …………………..(4) ถ้า (x, y, z) เป็ นคาตอบของระบบสมการที่กาหนดแล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้องกับ สมการ (1), (2), (3) และถ้า (x, y, z) สอดคล้องกับสมการ (1), (2) แล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้อง กับสมการ (4) จาก (3) 3x + 4y – 3z = 6 จาก (4) 3x + 4y – 3z = 5 (3) – (4) จะได้ 0 = 1 เป็ นเท็จ ่ ซึ่งเห็นได้วา ไม่มี x, y, z ที่ทาให้สมการ (3) และ (4) เป็ นจริ งพร้อมกัน ดังนั้น ระบบสมการที่กาหนดไม่มีคาตอบ ตัวอย่ างที่ 5 จงแก้ระบบสมการ 2x – y + 3z – w = –3 3x + 2y – z + w = 13 x – 3y + z – 2w = –4 –x + y + 4z + 3w = 0 วิธีทา 2x – y + 3z – w = –3 …………………..(1) 3x + 2y – z + w = 13 …………………..(2) x – 3y + z – 2w = –4 …………………..(3) –x + y + 4z + 3w = 0 …………………..(4) (2) + (1) จะได้ (3x + 2y – z + w) + (2x – y + 3z – w) = –2 – 1 3x + 2y – z + w + 2x – y + 3z – w = 13 + (–3) นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 7. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 7 5x + y + 2z = 10 …………………..(5) 2(1) – (3) จะได้ 2(2x – y + 3z – w) – (x – 3y + z – 2w) = 2(–3) – (–4) 4x – 2y + 6z – 2w – x + 3y – z + 2w = –6 + 4 3x + y + 5z = –2 …………………..(6) 3(1) + (4) จะได้ 3(2x – y + 3z – w) + (–x + y + 4z + 3w) = 3(–3) + 0 6x – 3y + 9z – 3w – x + y + 4z + 3w = –9 5x – 2y + 13z = –9 …………………..(7) 5x + y + 2z = 10 …………………..(5) 3x + y + 5z = –2 …………………..(6) (5) – (6) จะได้ 2x – 3z = 12 …………………..(8) 2(6) + (7) จะได้ 11(8) 2(9) (10) – (11) 11x + 26z 22x – 33z 22x – 52z 19z = = = = –13 …………………..(9) 132 …………………..(10) –26 …………………..(11) 158 z = 158 19 แทนค่า z = 158 ลงใน (8) 19 จะได้ 2x – 3( 158 ) = 12 19 x = 351 19 351 และ z = 158 ลงใน (6) แทนค่า x = 19 19 จะได้ 3x + y + 5z = 10 3( 351 ) + y + 5( 158 ) = 10 19 19 y =  1653 19 อย่าลืม!ตรวจคาตอบนะจ๊ะ ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = 351 , y =  1653 และ z = 158 แทนลงใน (2) 19 19 19 และ (3)ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 351 ,  1653 , 158 ) 19 19 19 นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 8. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 8 ใบงาน ชื่อ กิจกรรมที่ .................................................................................... ...........................ชั้น ม.4/..........เลขที่............ 1 คาชี้แจง จงแก้ ระบบสมการต่ อไปนี้ 1) x+y–z = 2 3x – y – 2z = –1 x – 3y – 3z = 4 ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 9. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 9 2) 2x + y – z = 5 3x – 2y + 2z = –3 x – 3y – 3z = –2 ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 10. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 10 3) 2x + 3y + z = 3 x + 2y + z = 1 –x + 4y = –2 ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 11. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 11 4) 4x + 3y + 2z = 5 3x – y – z = 6 –x + 2y + z = 1 ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 12. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 12 เฉลยใบกิจกรรม ที่ 1 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้ 1) x+y–z = 2 3x – y – 2z = –1 x – 3y – 3z = 4 วิธีทา x+y–z = 2 3x – y – 2z = –1 x – 3y – 3z = 4 2(1) – (2) จะได้ –x + 3y = 5 3(1) – (3) จะได้ 2x + 6y = 2 (5) – 2(4) จะได้ 4x = –8 x = –2 แทนค่า x = –2 ลงใน (4) จะได้ –(–2) + 3y = 5 y=1 …………………..(1) …………………..(2) …………………..(3) …………………..(4) …………………..(5) แทนค่า x = –2 และ y = 1 ลงใน (1) จะได้ –2 + 1 – z = 2 z = –3 วิธีทามีได้หลาย วิธนะจ๊ะ ี ตรวจคาตอบ หรือยังจ๊ะ ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = –2 , y = 1และ z = –3 แทนลงใน (2) และ (3) ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (–2, 1, –3) นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 13. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 2) 13 2x + y – z = 5 3x – 2y + 2z = –3 x – 3y – 3z = –2 วิธีทา 2x + y – z = 5 3x – 2y + 2z = –3 x – 3y – 3z = –2 2(1) + (2) จะได้ 7x = 7 …………………..(1) …………………..(2) …………………..(3) …………………..(4) x=1 3(1) – (3) จะได้ 5x + 6y = 17 …………………..(5) แทนค่า x = 1 ใน (5) จะได้ 5(1) + 6y = 17 y=2 แทนค่า x = 1 และ y = 2 ลงใน (3) ตรวจคาตอบ จะได้ 1 – 3(2) – 3z = –2 หรือยังจ๊ะ z = –1 ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = 1 , y = 2และ z = –1 แทนลงใน (1) และ (2) ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (1, 2, –1) 3) 2x + 3y + z = 3 x + 2y + z = 1 –x + 4y = –2 วิธีทา 2x + 3y + z x + 2y + z –x + 4y (1) – (2) จะได้ (3) + (4) จะได้ นางธนาภรณ์ โคตรนารา =3 =1 = –2 x+y=2 5y = 0 y=0 …………………..(1) …………………..(2) …………………..(3) …………………..(4) วิธีทามีได้หลาย วิธนะจ๊ะ ี โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 14. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 14 แทนค่า y = 0 ใน (4) จะได้ x + 0 = 2 x=2 แทนค่า x = 2 และ y = 0 ลงใน (1) จะได้ 2(2) + 3(0) + z = 3 z = –1 อย่าลืม! ตรวจ คาตอบทุกครั้ง นะจ๊ะ ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = 2 , y = 0และ z = –1 แทนลงใน (2) และ (3) ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ (2, 0, –1) 4) 4x + 3y + 2z = 5 3x – y – z = 6 –x + 2y + z = 1 วิธีทา 4x + 3y + 2z = 5 3x – y – z = 6 –x + 2y + z = 1 (2) + (3) จะได้ 2x + y = 7 …………………..(1) …………………..(2) …………………..(3) …………………..(4) (1) – 2(3) จะได้ (4) + (5) จะได้ …………………..(5) 6x – y = 3 8x = 10 x= 5 4 วิธีทามีได้หลาย วิธนะจ๊ะ ี แทนค่า x = จะได้ 5 ลงใน (4) 4 2 5 + y = 7   4 y = 7– แทนค่า 5 =9 2 2 5 9 x = และ y = ลงใน (3) 4 2 จะได้ –  5  + 2  9  + z = 1     4 2 นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม
  • 15. ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริ กซ์ 15  5 4 +9+z=1 31 +z=1 4 z = 1 – 31 =  27 4 4 ตรวจคาตอบ โดยการนาค่า x = ได้ค่าเป็ นจริ งทั้งสองสมการ 5 4 อย่าลืม! ตรวจ คาตอบทุกครั้ง นะจ๊ะ , y = 9 และ z =  27 แทนลงใน (2) และ (3) 2 4 ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 5 , 9 ,  27 ) หรื อ ( 1 1 , 4 1 , 6 3 ) 4 2 4 4 2 4 เก่งจัง ทา ได้หมด เลย นางธนาภรณ์ โคตรนารา โรงเรี ยนระยองวิทยาคม