SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 59
Descargar para leer sin conexión
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3ภาคเรียนที่ 1
1. กล่องทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสกล่องหนึ่ง มีด้านแต่ละด้านยาว 8 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวเท่าใด
1. 48 ตารางเซนติเมตร
2. 64 ตารางเซนติเมตร
3. 384 ตารางเซนติเมตร
4. 512 ตารางเซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
2. ปริซึมฐานสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ 6 นิ้ว สูง 12 นิ้ว จะมีปริมาตรประมาณเท่าใด
1. 108 ลูกบาศก์นิ้ว
2. 187 ลูกบาศก์นิ้ว
3. 216 ลูกบาศก์นิ้ว
4. 432 ลูกบาศก์นิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
3. ทรงกระบอกอันหนึ่งมีรัศมีของฐานยาว 7 เซนติเมตร และส่วนสูง 10 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวเท่าใด
1. 308 ตารางเซนติเมตร
2. 341 ตารางเซนติเมตร
3. 748 ตารางเซนติเมตร
4. 836 ตารางเซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
4. จากรูป พื้นที่ผิวทั้งหมดเป็นเท่าไร
1. 228 ตารางนิ้ว
2. 236 ตารางนิ้ว
3. 244 ตารางนิ้ว
4. 264 ตารางนิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
5. ท่อนเหล็กกลวงทรงกระบอกยาว 10 เซนติเมตร เนื้อเหล็กหนา 2 เซนติเมตร และมีพื้นที่ผิวด้านนอก 440
ตารางเซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวภายในเท่าไร กาหนด (
7
22
 )
1.
7
2
300 ตารางเซนติเมตร
2.
7
2
314 ตารางเซนติเมตร
3.
7
2
324 ตารางเซนติเมตร
4.
7
2
334 ตารางเซนติเมตร
5 2 
8
6
21 
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
6. จากรูป พื้นที่ผิวทั้งหมดเป็นเท่าไร
1. 312 ตารางนิ้ว
2. 336 ตารางนิ้ว
3. 368 ตารางนิ้ว
4. 372 ตารางนิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
7. จากรูป จงหาปริมาตรของแท่งปริซึม
1. 764 ลูกบาศก์นิ้ว
2. 776 ลูกบาศก์นิ้ว
3. 788 ลูกบาศก์นิ้ว
4. 862 ลูกบาศก์นิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
8
8
6
4 
01 
41 
6
8
4  2 
8. ต้องการดินน้ามันเพื่อปั้นเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้ฐานมีความยาวด้านละ8 เซนติเมตร และสูง 15
เซนติเมตร จะต้องใช้ดินน้ามันกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 280 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. 296 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 300 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. 320 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
9. ถังน้าทรงกระบอกรัศมี 0.5 เมตร สูง 2.1 เมตร มีน้าอยู่ในถัง
4
3 ของถัง คิดปริมาตรน้าประมาณเท่าไร
1. 0.09 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. 0.12ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 0.23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. 0.36 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
10. พีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมมุมฉากมีด้านประกอบมุมฉากยาว 4 เมตร และ 6 เมตร ถ้าพีระมิดสูง 10
เมตร พีระมิดนี้จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร
1. 40 ลูกบาศก์เมตร
2. 80 ลูกบาศก์เมตร
3. 120 ลูกบาศก์เมตร
4. 240 ลูกบาศก์เมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
11. ท่อคอนกรีตทรงกระบอกมีรัศมีวงในยาว 13 นิ้ว รัศมีวงนอกยาว 15 นิ้ว ถ้าท่อนี้ยาว 63 นิ้ว จะมี
ปริมาตรคอนกรีตเป็นเท่าใด
1. 198 ลูกบาศก์นิ้ว
2. 396 ลูกบาศก์นิ้ว
3. 11,088 ลูกบาศก์นิ้ว
4. 21,088 ลูกบาศก์นิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
12. เหล็กแผ่นหนึ่งยาว 110 เซนติเมตร กว้าง 10 เซนติเมตร หนา 3 เซนติเมตร นามาหลอมเป็นแท่ง
เหล็กตันรูปกรวยซึ่งมีรัศมี 3 เซนติเมตร ได้ทั้งหมด 25 แท่ง เหล็กตันรูปกรวยนี้สูงเท่าใด
1. 10 เซนติเมตร
2. 12 เซนติเมตร
3. 14 เซนติเมตร
4. 16 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
13. เอาลูกตุ้มเหล็กทรงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว หย่อนลงในถังทรงกระบอกที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10
นิ้ว สูง 20 นิ้ว ซึ่งน้าเต็มพอดี อยากทราบว่ามีน้าเหลืออยู่ในถังเท่าใด
1. 36  ลูกบาศก์นิ้ว
2. 360 ลูกบาศก์นิ้ว
3. 464 ลูกบาศก์นิ้ว
4. 500 ลูกบาศก์นิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
14. ทรงกระบอกรูปหนึ่งและกรวยกลมรูปหนึ่งมีปริมาตรและรัศมีของฐานเท่ากัน ถ้ากรวยกลมสูง 21
เซนติเมตร ทรงกระบอกสูงกี่เซนติเมตร
1. 4 เซนติเมตร
2. 5 เซนติเมตร
3. 6 เซนติเมตร
4. 7 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้
หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
15. ถ้านาลูกตะกั่วทรงกลมตันมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ไปหลอมเป็นทรงกระบอกที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง
8 เซนติเมตร จะได้ทรงกระบอกที่มีความสูงกี่เซนติเมตร
1. 9 เซนติเมตร
2. 18 เซนติเมตร
3. 20 เซนติเมตร
4. 24 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้
หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
16. หลอมโลหะทรงกลมตันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 นิ้ว แล้วนามาหลอมเป็นกรวยตันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง6
นิ้ว สูงเอียง 5 นิ้ว จะได้กรวยตันทั้งหมดกี่อัน
1. 75 อัน
2. 300 อัน
3. 375 อัน
4. 750 อัน
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้
หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
17. มีทรงกลมสองลูก ลูกที่หนึ่งมีรัศมีเป็นสองเท่าของรัศมีของลูกที่สอง ปริมาตรของทรงกลมลูกใหญ่เป็น
กี่เท่าของปริมาตรของทรงกลมลูกเล็ก
1. 8 เท่า
2. 4 เท่า
3. 2 เท่า
4. 1 เท่า
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้
หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
18. ลูกบอลเมื่อสูบลมเต็ม วัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกได้20 เซนติเมตร ถ้าลูกบอลนี้ทาด้วยแผ่นหนังมี
ความหนา 0.2 เซนติเมตร จะได้ปริมาตรของอากาศภายในลูกบอลประมาณเท่าใด
1. 3,860 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. 3,940 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 4,050 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. 4,080 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ ใช้การคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
19. กระดาษ 50 แผ่น มีความหนา 4 เซนติเมตร ถ้าต้องการบอกความหนาของกระดาษ 1 แผ่นควรเลือกใช้
หน่วยการวัดใดจึงจะเหมาะสม
1. มิลลิเมตร
2. เซนติเมตร
3. นิ้ว
4. ฟุต
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ ใช้การคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา (  ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
20. จันทร์แดงมีที่ดิน 4 ไร่ 1 งาน 70 ตารางวา จันทร์เขียว มีที่ดิน 1,800 ตารางวา ที่ดินของใครมีพื้นที่
มากกว่า และมากกว่ากันเท่าไร
1. จันทร์แดงมีที่ดินมากกว่า 30 ตารางวา
2. จันทร์แดงมีที่ดินมากกว่า 20 ตารางวา
3. จันทร์เขียวมีที่ดินมากกว่า 30 ตารางวา
4. จันทร์เขียวมีที่ดินมากกว่า 20 ตารางวา
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ ใช้การคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
21. ใส่น้าลงในอ่างน้าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกว้าง 25 ซม. ยาว 50 ซม. และสูง 38 ซม. ถ้าระดับน้าต่ากว่าขอบบน
ของอ่างอยู่ 8 ซม. จงหาว่ามีน้าอยู่ในอ่างดังกล่าวกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 19,500 ลบ.ซม.
2. 24,500 ลบ.ซม.
3. 37,500 ลบ.ซม.
4. 47,500 ลบ.ซม.
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
22. จงหาค่า d ที่ทาให้ปริมาตรของรูปทรงต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ 990 ลบ.ซม.
1. 8 เซนติเมตร
2. 6 เซนติเมตร
3. 4 เซนติเมตร
4. 2 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
23. จงหาพื้นที่ส่วนที่แรเงา
1. 2.25 ตารางเซนติเมตร
2. 3 ตารางเซนติเมตร
3. 6.25 ตารางเซนติเมตร
4. 9 ตารางเซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
24. ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้าน AB ขนานกับ CD และห่างกัน 8 หน่วย จุด P และจุด Q เป็นจุดกึ่งกลางของ
ด้าน AD และ BC ตามลาดับ ถ้ารูปสี่เหลี่ยม ABCD มีพื้นที่ 40 ตารางหน่วย แล้วจุด P และจุด Q จะห่างกันกี่
หน่วย
1. 3 หน่วย
2. 4 หน่วย
3. 5 หน่วย
4. 6 หน่วย
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
25. ขุดบ่อเลี้ยงปลาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 22 เมตร กว้าง 8 เมตร ลึก 1.5 เมตร ถ้าค่าจ้างขุดดินราคาลูกบาศก์
เมตรละ 12 บาท จะต้องจ่ายค่าจ้างขุดเท่าไร
1. 2,864 บาท
2. 3,168 บาท
3. 3,180 บาท
4. 3,246 บาท
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
26. อ่างเก็บน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีพื้นที่ก้นอ่าง 96 ตารางเมตร บ่อลึก 2 เมตร ถ้าอ่างเก็บน้ามีน้าอยู่144
ลูกบาศก์เมตร แล้วระดับน้าอยู่ต่ากว่าขอบบนของ อ่างเก็บน้ากี่เซนติเมตร
1. 48 เซนติเมตร
2. 50 เซนติเมตร
3. 56 เซนติเมตร
4. 60 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
27.ถังน้าทรงกระบอกใบหนึ่งมีรัศมี 4 เมตร สูง 7 เมตร ถ้าใส่น้าลงไป 176 ลูกบาศก์เมตร ระดับน้าสูงกี่เมตร
1. 3 เมตร
2. 3.5 เมตร
3. 4 เมตร
4. 4.5 เมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
28. พีระมิดฐานหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่ามีด้านแต่ละด้านยาว10 นิ้ว สันยาว 13 นิ้วข้อใด ไม่ ถูกต้อง
1. สูงเอียง 12 นิ้ว
2. พื้นที่ผิวข้าง 360 ตารางนิ้ว
3. พื้นที่ฐาน 3130 ตารางนิ้ว
4. สูงตรง 8 นิ้ว
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
29. กรวยกลมที่มีปริมาตร 352 ลูกบาศก์เซนติเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร จะมีความสูงเท่าไร
กาหนด
7
22

1. 21 เซนติเมตร
2. 22 เซนติเมตร
3. 23 เซนติเมตร
4. 24 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
30. ทรงกระบอกรูปหนึ่งและกรวยกลมรูปหนึ่งมีปริมาตรและรัศมีของฐานเท่ากันถ้ากรวยกลมสูง21 เซนติเมตร
ทรงกระบอกสูงกี่เซนติเมตร
1. 4 เซนติเมตร
2. 5 เซนติเมตร
3. 6 เซนติเมตร
4. 7 เซนติเมตร
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
31. จงหาพื้นที่บนหน้าที่มองไม่เห็น ของรูปทรงเรขาคณิตข้างล่างนี้
รวมกันได้ กี่ตารางหน่วย
1. 582 ตารางหน่วย
2. 682 ตารางหน่วย
3. 762 ตารางหน่วย
4. 772 ตารางหน่วย
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
32.โหลแก้วทรงกระบอกใบหนึ่งสูงเป็น 2 เท่าของทรงกระบอกอีกใบหนึ่ง และอัตราส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของทรงกระบอกใบสูงต่อใบเตี้ยเป็น 43: ถ้าทรงกระบอกใบที่สูงกว่ามีความจุ 36 ลิตร แม่ค้านาน้าแครอทใส่
ในโหลแก้วทั้งสองจนเต็ม แล้วขายน้าแครอทแก้วละ12 บาท ถ้าแก้วมีปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เมื่อขายน้าแครอทหมดจะได้เงินกี่บาท
1. 2,640 บาท
2. 2,648 บาท
3. 2,928 บาท
4. 3,264 บาท
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
33. พีระมิดฐานจัตุรัสยาวด้านละ 7 เซนติเมตร สูง 3.2 เซนติเมตร และกรวยกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของฐาน
ยาวเท่ากับความยาวฐานของพีระมิด และสูงเท่ากัน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. พื้นที่ฐานของพีระมิดมากกว่าพื้นฐานของกรวยเท่ากับ10.5 ตารางเซนติเมตร
2. พื้นที่ผิวข้างของพีระมิดเป็น 77 ตารางเซนติเมตร ทรงกรวยกลมเป็น 60.5 ตารางเซนติเมตร
3. ปริมาตรส่วนที่ออก เท่ากับ 10.5 2ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. ถูกต้องทั้ง 3 ข้อ
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
34. ข้อใดมีปริมาตรมากที่สุด
1. ลูกบาศก์ที่มีด้านยาวด้านละ 7 เซนติเมตร
2. ทรงกระบอกที่มีเส้นศูนย์กลางฐาน 7 เซนติเมตร และสูง 7 เซนติเมตร
3. กรวยกรมที่มีรัศมีฐาน 5 เซนติเมตร สูง 21 เซนติเมตร
4. กรวยกรมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.2 เซนติเมตร
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
35. ท่อลาน้าท่อนหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 1 เมตร หนา 1 เซนติเมตร ยาว 10 เมตร ข้อใดถูกต้อง
1. พื้นที่ท่อข้างภายนอกต่างกับพื้นที่ผิวข้างภายใน0.6 ตารางเซนติเมตร
2. ปริมาตรภายในท่อ 8.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. ปริมาตรของวัสดุที่ใช้ทาท่อ 6.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. พื้นที่ผิวข้างรอบนอกทางท่อน้านี้เท่ากับ 32.5 ตารางเมตร
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
36.จากรูป
พื้นที่ผิวทั้งหมดของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสคือข้อใด
1. aba 2
ตารางหน่วย
2. aba 22
 ตารางหน่วย
3. aba 24 2
 ตารางหน่วย
4. aba 44 2
 ตารางหน่วย
a
b
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
37. ข้อใดต่อไปนี้กล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับปริซึม
1. เป็นรูปเรขาคณิตที่มีจานวนหน้าเท่ากับจานวนเหลี่ยมของฐาน
2. ฐานของปริซึมเป็นวงกลม
3. ฐานของปริซึมอยู่ในระนาบที่ขนานกัน
4. ฐานของปริซึมเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
38. ข้อใดต่อไปนี้กล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับพีระมิด
1. พีระมิดสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีสันยาวเท่ากันทุกเส้น
2. หน้าของพีระมิดเป็นรูปสามเหลี่ยม
3. จานวนหน้าของพีระมิดจะเท่ากับจานวนด้านของฐานเสมอ
4. ส่วนสูงของพีระมิดตรงจะตั้งฉากกับจุดซึ่งอยู่ห่างจากระยะจุดยอดของฐานเท่ากันทุกจุด
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
39. ข้อใดเป็นสูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึม
1. (2 พื้นที่ฐาน) + (พื้นที่ด้านข้างทั้งหมด)
2. (พื้นที่ฐาน) + (พื้นที่ด้านข้างทั้งหมด)
3. พื้นที่ฐาน ความสูง 4. พื้นที่ฐาน พื้นที่ด้านข้างทั้งหมด
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
40. ข้อใดเป็นสูตรการหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก
1. 2π𝑟ℎ + 2𝜋𝑟
2. 2π𝑟ℎ
3. 𝜋2
ℎ + 2𝜋𝑟
4. 2π𝑟(ℎ + 𝑟)
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
41. กราฟของสมการ 2y + 5x = 10 คือข้อใดต่อไปนี้
1.
2.
3.
4.
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
42. จุดตัดของกราฟของสมการ 3y = 2x – 6 และ 2x + y = 8 อยู่ในจตุภาคใด
1 . จตุภาคที่ 1
2. จตุภาคที่ 2
3. จตุภาคที่ 3
4. จตุภาคที่ 4
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
43. กราฟของเส้นตรงคู่ใดขนานกัน
1. y = 2
1
x + 3 , y = 2x + 3
2. y = 3x – 5 , y = 3x + 5
3. x = –3 , y = 6
4. y = 3x , y = 1
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ (  ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
44. กราฟของสมการในข้อใดขนานกับกราฟเส้นตรง 6yx3 
1. 4y2x6 
2. 5yx3 
3. 12y2x6 
4. 15y4x9 
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
45. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะกราฟของสมการ 01x3y2 
1. เป็นเส้นตรงที่ตัดทั้งแกน X และแกน Y
2. ความชันเท่ากับ
2
3

3. เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด  53,
4. มีคาตอบมากกว่า 1 ข้อ
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
46. คู่อันดับในข้อใดที่ ไม่ อยู่บนกราฟของสมการ 06y3x2 
1.  43,
2.  20,
3.  26  ,
4.  49,
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
47. กราฟของสมการ 6y4x2  ไม่ ผ่านจุดใด
1.  03,
2.  11 ,
3. 






2
1
4,
4. 






4
5
2
1
,
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
48. ถ้ากราฟของสมการเส้นตรง 0k2y4x3  ผ่านจุด  12, แล้วเส้นตรงจะตัด
แกน X ที่จุดใด
1. 





0,
3
10
2. 





 0,
3
10
3. 





 0,
3
2
4. 





0,
3
2
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
49. กราฟของสมการในข้อใดที่ขนานกับแกน X และผ่านจุด  43 ,
1. 03y 
2. 03y 
3. 04y 
4. 04y 
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
50. สมการในข้อใดเป็นสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
1. 1xy 
2. 2
1

y
x
3. 013  yx
4.
y
x
2
3
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
51. กราฟของสมการ 1x2y  ตัดแกน Y ที่จุดใด
1. 




 0,
2
1
2. 




 0,
2
1
3.  1,0
4.  1,0 
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
52. กาหนดให้ baxy  เมื่อ 0a  และ 0b  กราฟของเส้นตรงจะมีลักษณะตรงกับข้อใด
1. ขนานกับแกน X
2. ขนานกับแกน Y
3. ทามุมแหลมกับแกน X
4. ทามุมป้านกับแกน X
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
53. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. กราฟของสมการ y = ax + b เมื่อ a > 0 และ b > 0
เป็นเส้นตรงที่ทามุมแหลมกับแกน X ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
2. กราฟของสมการ y = ax + b ขนานกันเมื่อความชัน a มีค่าเท่ากัน
3. กราฟของสมการ y = ax + b ตั้งฉากกันเมื่อผลคูณของความชัน a มีค่าเท่ากับ -1
4. กราฟของสมการ y = ax + b ผ่านจุดกาเนิดเมื่อ a และ b มีค่าเท่ากับศูนย์
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
54.ระบบสมการในข้อใด ไม่ มีคาตอบ
1. 12y4x3  , 12y4x3 
2. 1yx2  , 1yx2 
3. 9y7x  , 9y7x 
4. 4y2x3  , 8y4x6 
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
55.คาตอบของระบบสมการ 04y9x7  กับ 4y3x  ตรงกับข้อใด
1. 






3
2
2,
2.  22,
3. 





3
8
4,
4.  04,
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
56.คาตอบของระบบสมการ 5yx2  และ 11y2x3  ตรงกับข้อใด
1.  34,
2.  55,
3.  71  ,
4.  76,
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
57.ให้  ba, เป็นคาตอบของระบบสมการ 09
5
3
 yx และ 4
2
1
3
1
 yx
ค่าของ ba 92  ตรงกับข้อใด
1. 56
2. 16
3. 52
4. 54
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
58.ถ้า  nm, เป็นคาตอบของระบบสมการ 01185  yx กับ
    0112413  yx แล้วค่าของ nm 42  ตรงกับข้อใด
1. 12
2. 2
3. 1
4. 12
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
59.จานวนสองหลักจานวนหนึ่ง เลขโดดในหลักสิบมากกว่าเลขโดดในหลักหน่วยอยู่6 และผลบวกของจานวนนี้
กับจานวนที่สลับหลักกับจานวนเดิมเป็น132 ถ้าให้ x แทนเลขโดดในหลักหน่วย สมการในข้อใดแทนโจทย์
ปัญหานี้
1. 132124 x
2. 1326622 x
3. 1321222 x
4. 1321213 x
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
60.เมื่อ 6 ปีที่แล้ว บิดามีอายุเป็น 3 เท่าของอายุบุตร ถ้าในอีก 8 ปีข้างหน้า บิดา
มีอายุเป็น 2 เท่าของอายุบุตร ปัจจุบันบิดามีอายุกี่ปี
1. 42 ปี
2. 44 ปี
3. 46 ปี
4. 48 ปี
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
61. ระบบสมการในข้อใดมีคาตอบของสมการมากมายไม่จากัด
1. 15y3x35yx  ,
2. 10x4y25yx2  ,
3. 20y12x285y3x7  ,
4. 6y4x103y2x5  ,
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
62. ระบบสมการในข้อใดไม่มีคาตอบ
1. 12y4x66y2x3  ,
2. 4yx2yx  ,
3. 12yx39yx3  ,
4. 14y6x47y3x2  ,
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
63. คาตอบของระบบสมการ 1556  yx และ 12  yx ตรงกับข้อใด
1. 





 6,
2
5
2. 





 6,
2
5
3. 





6,
2
7
4.  9,5
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
64. กาหนดให้  ba, เป็นคาตอบของระบบสมการ 1672  yx และ 02  yx
ค่าของ ab กับข้อใด
1. 2
2. 1
3. 1
4. 2
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
65. กาหนดให้  ts, เป็นคาตอบของระบบสมการ 7.04.03.0  yx และ
02.15.06.0  yx แล้วค่าของ ts 59  ตรงกับข้อใด
1. 12
2. 7
3. 13
4. 17
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model)
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม
ผลของคาตอบ
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
66. TSD  MON ถ้า MN = 6 , ON = 4 และ DT = 9 จะได้SD ยาวเท่าไร
1. 4
2. 6
3. 8
4. 9
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
67. จากรูป กาหนดให้ DEBC// 42AB , เซนติเมตร 30BD , เซนติเมตร และ 49AC  เซนติเมตร
ความยาวของด้าน CE ตรงกับข้อใด
1. 35 เซนติเมตร
2. 37 เซนติเมตร
3. 39 เซนติเมตร
4. 40 เซนติเมตร
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
68. จากรูป กาหนดให้ AED ~ ACB , 6AD  เมตร, 3DB  เมตร และ 12CB  เมตร จงหาความยาว
ของ DE
1. 7 เมตร
2. 8 เมตร
3. 9 เมตร
4. 10 เมตร
49 ซม.
30 ซม.
42 ซม.
ED
CB
A
B
C
D
A
E
6 ม.
12 ม.
3 ม.
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
() วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
69. จากรูป กาหนดให้ CDAB// 1aAB , 1AO , aOD , และ 4aCD 
ความยาวของด้าน AB ตรงกับข้อใด
1. 2
2. 3
3. 5
4. 6
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
70. จากรูป กาหนดให้ ABC ~ DEF FDAB//, EFBC//, EDAC//, 25EF ,
เซนติเมตร 15BC , เซนติเมตร และ 12BA  เซนติเมตร ความยาวของด้าน DE
ตรงกับข้อใด
1. 17 เซนติเมตร
2. 18 เซนติเมตร
3. 19 เซนติเมตร
4. 20 เซนติเมตร
C
a+4
a+1
1
aO
D
BA
15 ซม.
12 ซม.
25 ซม.
FE
D
CB
A
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
71. จากรูป กาหนดให้ BCADEA ˆˆ  17AE , เซนติเมตร 021ED .,  เซนติเมตร และ
255BC . เซนติเมตร ความยาวของด้าน AC ตรงกับข้อใด
1. 8.25 เซนติเมตร
2. 8.50 เซนติเมตร
3. 8.75 เซนติเมตร
4. 9.00 เซนติเมตร
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
72. จากรูป รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD มีพื้นที่กี่ตารางหน่วย
1. 325 ตารางหน่วย
2. 348 ตารางหน่วย
3. 364 ตารางหน่วย
4. 375 ตารางหน่วย
E
D C
B
A
1.7 ซม.
1.02 ซม.
20
15
10
O
D C
BA
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
73 บันไดยาว 8 เมตร พาดอยู่กับกาแพงสูง 4 เมตร ช่างทาสีเดินขึ้นบันไดไปได้6 เมตร
ช่างทาสีอยู่สูงจากพื้นดินกี่เมตร
1. 1 เมตร
2. 2 เมตร
3. 3 เมตร
4. 4 เมตร
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา
ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้
( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า
ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
74. พระปฐมเจดีย์ใหญ่ที่จังหวัดนครปฐมมีเงาทอดยาวไปทางทิศตะวันตก62 เมตร และ
เจดีย์จาลองสูง 8 เมตร มีเงาทอดยาวไปทางทิศตะวันตก 16 เมตร องค์พระปฐมเจดีย์
ใหญ่สูงกี่เมตร
1. 30 เมตร
2. 31 เมตร
3. 32 เมตร
4. 33 เมตร
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังkroojaja
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
31201mid521
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
 

Destacado

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 

Destacado (6)

ปริมาตรทรงกลม
ปริมาตรทรงกลมปริมาตรทรงกลม
ปริมาตรทรงกลม
 
พื้นที่ผิวทรงกลม5
พื้นที่ผิวทรงกลม5พื้นที่ผิวทรงกลม5
พื้นที่ผิวทรงกลม5
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 

Similar a ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1

ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดทับทิม เจริญตา
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดOranee Seelopa
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3Lumyai Pirum
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Chayanis
 

Similar a ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1 (20)

ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
P01
P01P01
P01
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
T301
T301T301
T301
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
Math6 2554
Math6 2554Math6 2554
Math6 2554
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
 

Más de ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

Más de ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 

ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1

  • 1. รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3ภาคเรียนที่ 1 1. กล่องทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสกล่องหนึ่ง มีด้านแต่ละด้านยาว 8 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวเท่าใด 1. 48 ตารางเซนติเมตร 2. 64 ตารางเซนติเมตร 3. 384 ตารางเซนติเมตร 4. 512 ตารางเซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 2. ปริซึมฐานสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ 6 นิ้ว สูง 12 นิ้ว จะมีปริมาตรประมาณเท่าใด 1. 108 ลูกบาศก์นิ้ว 2. 187 ลูกบาศก์นิ้ว 3. 216 ลูกบาศก์นิ้ว 4. 432 ลูกบาศก์นิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 3. ทรงกระบอกอันหนึ่งมีรัศมีของฐานยาว 7 เซนติเมตร และส่วนสูง 10 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวเท่าใด 1. 308 ตารางเซนติเมตร 2. 341 ตารางเซนติเมตร 3. 748 ตารางเซนติเมตร 4. 836 ตารางเซนติเมตร
  • 2. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 4. จากรูป พื้นที่ผิวทั้งหมดเป็นเท่าไร 1. 228 ตารางนิ้ว 2. 236 ตารางนิ้ว 3. 244 ตารางนิ้ว 4. 264 ตารางนิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 5. ท่อนเหล็กกลวงทรงกระบอกยาว 10 เซนติเมตร เนื้อเหล็กหนา 2 เซนติเมตร และมีพื้นที่ผิวด้านนอก 440 ตารางเซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวภายในเท่าไร กาหนด ( 7 22  ) 1. 7 2 300 ตารางเซนติเมตร 2. 7 2 314 ตารางเซนติเมตร 3. 7 2 324 ตารางเซนติเมตร 4. 7 2 334 ตารางเซนติเมตร 5 2  8 6 21 
  • 3. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 6. จากรูป พื้นที่ผิวทั้งหมดเป็นเท่าไร 1. 312 ตารางนิ้ว 2. 336 ตารางนิ้ว 3. 368 ตารางนิ้ว 4. 372 ตารางนิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 7. จากรูป จงหาปริมาตรของแท่งปริซึม 1. 764 ลูกบาศก์นิ้ว 2. 776 ลูกบาศก์นิ้ว 3. 788 ลูกบาศก์นิ้ว 4. 862 ลูกบาศก์นิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 8 8 6 4  01  41  6 8 4  2 
  • 4. 8. ต้องการดินน้ามันเพื่อปั้นเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้ฐานมีความยาวด้านละ8 เซนติเมตร และสูง 15 เซนติเมตร จะต้องใช้ดินน้ามันกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร 1. 280 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 296 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. 300 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 320 ลูกบาศก์เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 9. ถังน้าทรงกระบอกรัศมี 0.5 เมตร สูง 2.1 เมตร มีน้าอยู่ในถัง 4 3 ของถัง คิดปริมาตรน้าประมาณเท่าไร 1. 0.09 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 0.12ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. 0.23 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 0.36 ลูกบาศก์เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 10. พีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมมุมฉากมีด้านประกอบมุมฉากยาว 4 เมตร และ 6 เมตร ถ้าพีระมิดสูง 10 เมตร พีระมิดนี้จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร 1. 40 ลูกบาศก์เมตร 2. 80 ลูกบาศก์เมตร 3. 120 ลูกบาศก์เมตร 4. 240 ลูกบาศก์เมตร
  • 5. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 11. ท่อคอนกรีตทรงกระบอกมีรัศมีวงในยาว 13 นิ้ว รัศมีวงนอกยาว 15 นิ้ว ถ้าท่อนี้ยาว 63 นิ้ว จะมี ปริมาตรคอนกรีตเป็นเท่าใด 1. 198 ลูกบาศก์นิ้ว 2. 396 ลูกบาศก์นิ้ว 3. 11,088 ลูกบาศก์นิ้ว 4. 21,088 ลูกบาศก์นิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 12. เหล็กแผ่นหนึ่งยาว 110 เซนติเมตร กว้าง 10 เซนติเมตร หนา 3 เซนติเมตร นามาหลอมเป็นแท่ง เหล็กตันรูปกรวยซึ่งมีรัศมี 3 เซนติเมตร ได้ทั้งหมด 25 แท่ง เหล็กตันรูปกรวยนี้สูงเท่าใด 1. 10 เซนติเมตร 2. 12 เซนติเมตร 3. 14 เซนติเมตร 4. 16 เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 6. 13. เอาลูกตุ้มเหล็กทรงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว หย่อนลงในถังทรงกระบอกที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 นิ้ว สูง 20 นิ้ว ซึ่งน้าเต็มพอดี อยากทราบว่ามีน้าเหลืออยู่ในถังเท่าใด 1. 36  ลูกบาศก์นิ้ว 2. 360 ลูกบาศก์นิ้ว 3. 464 ลูกบาศก์นิ้ว 4. 500 ลูกบาศก์นิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 14. ทรงกระบอกรูปหนึ่งและกรวยกลมรูปหนึ่งมีปริมาตรและรัศมีของฐานเท่ากัน ถ้ากรวยกลมสูง 21 เซนติเมตร ทรงกระบอกสูงกี่เซนติเมตร 1. 4 เซนติเมตร 2. 5 เซนติเมตร 3. 6 เซนติเมตร 4. 7 เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้ หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 15. ถ้านาลูกตะกั่วทรงกลมตันมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ไปหลอมเป็นทรงกระบอกที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร จะได้ทรงกระบอกที่มีความสูงกี่เซนติเมตร 1. 9 เซนติเมตร 2. 18 เซนติเมตร 3. 20 เซนติเมตร 4. 24 เซนติเมตร
  • 7. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้ หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 16. หลอมโลหะทรงกลมตันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 นิ้ว แล้วนามาหลอมเป็นกรวยตันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง6 นิ้ว สูงเอียง 5 นิ้ว จะได้กรวยตันทั้งหมดกี่อัน 1. 75 อัน 2. 300 อัน 3. 375 อัน 4. 750 อัน สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้ หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 17. มีทรงกลมสองลูก ลูกที่หนึ่งมีรัศมีเป็นสองเท่าของรัศมีของลูกที่สอง ปริมาตรของทรงกลมลูกใหญ่เป็น กี่เท่าของปริมาตรของทรงกลมลูกเล็ก 1. 8 เท่า 2. 4 เท่า 3. 2 เท่า 4. 1 เท่า
  • 8. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้ หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 18. ลูกบอลเมื่อสูบลมเต็ม วัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกได้20 เซนติเมตร ถ้าลูกบอลนี้ทาด้วยแผ่นหนังมี ความหนา 0.2 เซนติเมตร จะได้ปริมาตรของอากาศภายในลูกบอลประมาณเท่าใด 1. 3,860 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 3,940 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. 4,050 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 4,080 ลูกบาศก์เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ ใช้การคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 19. กระดาษ 50 แผ่น มีความหนา 4 เซนติเมตร ถ้าต้องการบอกความหนาของกระดาษ 1 แผ่นควรเลือกใช้ หน่วยการวัดใดจึงจะเหมาะสม 1. มิลลิเมตร 2. เซนติเมตร 3. นิ้ว 4. ฟุต สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ ใช้การคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา (  ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 9. 20. จันทร์แดงมีที่ดิน 4 ไร่ 1 งาน 70 ตารางวา จันทร์เขียว มีที่ดิน 1,800 ตารางวา ที่ดินของใครมีพื้นที่ มากกว่า และมากกว่ากันเท่าไร 1. จันทร์แดงมีที่ดินมากกว่า 30 ตารางวา 2. จันทร์แดงมีที่ดินมากกว่า 20 ตารางวา 3. จันทร์เขียวมีที่ดินมากกว่า 30 ตารางวา 4. จันทร์เขียวมีที่ดินมากกว่า 20 ตารางวา สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ ใช้การคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 21. ใส่น้าลงในอ่างน้าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกว้าง 25 ซม. ยาว 50 ซม. และสูง 38 ซม. ถ้าระดับน้าต่ากว่าขอบบน ของอ่างอยู่ 8 ซม. จงหาว่ามีน้าอยู่ในอ่างดังกล่าวกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร 1. 19,500 ลบ.ซม. 2. 24,500 ลบ.ซม. 3. 37,500 ลบ.ซม. 4. 47,500 ลบ.ซม. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 22. จงหาค่า d ที่ทาให้ปริมาตรของรูปทรงต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ 990 ลบ.ซม. 1. 8 เซนติเมตร 2. 6 เซนติเมตร 3. 4 เซนติเมตร 4. 2 เซนติเมตร
  • 10. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 23. จงหาพื้นที่ส่วนที่แรเงา 1. 2.25 ตารางเซนติเมตร 2. 3 ตารางเซนติเมตร 3. 6.25 ตารางเซนติเมตร 4. 9 ตารางเซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 24. ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้าน AB ขนานกับ CD และห่างกัน 8 หน่วย จุด P และจุด Q เป็นจุดกึ่งกลางของ ด้าน AD และ BC ตามลาดับ ถ้ารูปสี่เหลี่ยม ABCD มีพื้นที่ 40 ตารางหน่วย แล้วจุด P และจุด Q จะห่างกันกี่ หน่วย 1. 3 หน่วย 2. 4 หน่วย 3. 5 หน่วย 4. 6 หน่วย สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 11. 25. ขุดบ่อเลี้ยงปลาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 22 เมตร กว้าง 8 เมตร ลึก 1.5 เมตร ถ้าค่าจ้างขุดดินราคาลูกบาศก์ เมตรละ 12 บาท จะต้องจ่ายค่าจ้างขุดเท่าไร 1. 2,864 บาท 2. 3,168 บาท 3. 3,180 บาท 4. 3,246 บาท สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 26. อ่างเก็บน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีพื้นที่ก้นอ่าง 96 ตารางเมตร บ่อลึก 2 เมตร ถ้าอ่างเก็บน้ามีน้าอยู่144 ลูกบาศก์เมตร แล้วระดับน้าอยู่ต่ากว่าขอบบนของ อ่างเก็บน้ากี่เซนติเมตร 1. 48 เซนติเมตร 2. 50 เซนติเมตร 3. 56 เซนติเมตร 4. 60 เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 27.ถังน้าทรงกระบอกใบหนึ่งมีรัศมี 4 เมตร สูง 7 เมตร ถ้าใส่น้าลงไป 176 ลูกบาศก์เมตร ระดับน้าสูงกี่เมตร 1. 3 เมตร 2. 3.5 เมตร 3. 4 เมตร 4. 4.5 เมตร
  • 12. สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 28. พีระมิดฐานหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่ามีด้านแต่ละด้านยาว10 นิ้ว สันยาว 13 นิ้วข้อใด ไม่ ถูกต้อง 1. สูงเอียง 12 นิ้ว 2. พื้นที่ผิวข้าง 360 ตารางนิ้ว 3. พื้นที่ฐาน 3130 ตารางนิ้ว 4. สูงตรง 8 นิ้ว สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 29. กรวยกลมที่มีปริมาตร 352 ลูกบาศก์เซนติเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร จะมีความสูงเท่าไร กาหนด 7 22  1. 21 เซนติเมตร 2. 22 เซนติเมตร 3. 23 เซนติเมตร 4. 24 เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 13. 30. ทรงกระบอกรูปหนึ่งและกรวยกลมรูปหนึ่งมีปริมาตรและรัศมีของฐานเท่ากันถ้ากรวยกลมสูง21 เซนติเมตร ทรงกระบอกสูงกี่เซนติเมตร 1. 4 เซนติเมตร 2. 5 เซนติเมตร 3. 6 เซนติเมตร 4. 7 เซนติเมตร สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 31. จงหาพื้นที่บนหน้าที่มองไม่เห็น ของรูปทรงเรขาคณิตข้างล่างนี้ รวมกันได้ กี่ตารางหน่วย 1. 582 ตารางหน่วย 2. 682 ตารางหน่วย 3. 762 ตารางหน่วย 4. 772 ตารางหน่วย สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 14. 32.โหลแก้วทรงกระบอกใบหนึ่งสูงเป็น 2 เท่าของทรงกระบอกอีกใบหนึ่ง และอัตราส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลาง ของทรงกระบอกใบสูงต่อใบเตี้ยเป็น 43: ถ้าทรงกระบอกใบที่สูงกว่ามีความจุ 36 ลิตร แม่ค้านาน้าแครอทใส่ ในโหลแก้วทั้งสองจนเต็ม แล้วขายน้าแครอทแก้วละ12 บาท ถ้าแก้วมีปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อขายน้าแครอทหมดจะได้เงินกี่บาท 1. 2,640 บาท 2. 2,648 บาท 3. 2,928 บาท 4. 3,264 บาท สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 33. พีระมิดฐานจัตุรัสยาวด้านละ 7 เซนติเมตร สูง 3.2 เซนติเมตร และกรวยกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของฐาน ยาวเท่ากับความยาวฐานของพีระมิด และสูงเท่ากัน ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. พื้นที่ฐานของพีระมิดมากกว่าพื้นฐานของกรวยเท่ากับ10.5 ตารางเซนติเมตร 2. พื้นที่ผิวข้างของพีระมิดเป็น 77 ตารางเซนติเมตร ทรงกรวยกลมเป็น 60.5 ตารางเซนติเมตร 3. ปริมาตรส่วนที่ออก เท่ากับ 10.5 2ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. ถูกต้องทั้ง 3 ข้อ สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 34. ข้อใดมีปริมาตรมากที่สุด 1. ลูกบาศก์ที่มีด้านยาวด้านละ 7 เซนติเมตร 2. ทรงกระบอกที่มีเส้นศูนย์กลางฐาน 7 เซนติเมตร และสูง 7 เซนติเมตร 3. กรวยกรมที่มีรัศมีฐาน 5 เซนติเมตร สูง 21 เซนติเมตร 4. กรวยกรมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.2 เซนติเมตร
  • 15. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 35. ท่อลาน้าท่อนหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 1 เมตร หนา 1 เซนติเมตร ยาว 10 เมตร ข้อใดถูกต้อง 1. พื้นที่ท่อข้างภายนอกต่างกับพื้นที่ผิวข้างภายใน0.6 ตารางเซนติเมตร 2. ปริมาตรภายในท่อ 8.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. ปริมาตรของวัสดุที่ใช้ทาท่อ 6.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. พื้นที่ผิวข้างรอบนอกทางท่อน้านี้เท่ากับ 32.5 ตารางเมตร สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 36.จากรูป พื้นที่ผิวทั้งหมดของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสคือข้อใด 1. aba 2 ตารางหน่วย 2. aba 22  ตารางหน่วย 3. aba 24 2  ตารางหน่วย 4. aba 44 2  ตารางหน่วย a b
  • 16. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 37. ข้อใดต่อไปนี้กล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับปริซึม 1. เป็นรูปเรขาคณิตที่มีจานวนหน้าเท่ากับจานวนเหลี่ยมของฐาน 2. ฐานของปริซึมเป็นวงกลม 3. ฐานของปริซึมอยู่ในระนาบที่ขนานกัน 4. ฐานของปริซึมเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 38. ข้อใดต่อไปนี้กล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับพีระมิด 1. พีระมิดสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีสันยาวเท่ากันทุกเส้น 2. หน้าของพีระมิดเป็นรูปสามเหลี่ยม 3. จานวนหน้าของพีระมิดจะเท่ากับจานวนด้านของฐานเสมอ 4. ส่วนสูงของพีระมิดตรงจะตั้งฉากกับจุดซึ่งอยู่ห่างจากระยะจุดยอดของฐานเท่ากันทุกจุด สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 39. ข้อใดเป็นสูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึม 1. (2 พื้นที่ฐาน) + (พื้นที่ด้านข้างทั้งหมด) 2. (พื้นที่ฐาน) + (พื้นที่ด้านข้างทั้งหมด) 3. พื้นที่ฐาน ความสูง 4. พื้นที่ฐาน พื้นที่ด้านข้างทั้งหมด
  • 17. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 40. ข้อใดเป็นสูตรการหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก 1. 2π𝑟ℎ + 2𝜋𝑟 2. 2π𝑟ℎ 3. 𝜋2 ℎ + 2𝜋𝑟 4. 2π𝑟(ℎ + 𝑟) สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมพีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 41. กราฟของสมการ 2y + 5x = 10 คือข้อใดต่อไปนี้ 1. 2.
  • 18. 3. 4. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 42. จุดตัดของกราฟของสมการ 3y = 2x – 6 และ 2x + y = 8 อยู่ในจตุภาคใด 1 . จตุภาคที่ 1 2. จตุภาคที่ 2 3. จตุภาคที่ 3 4. จตุภาคที่ 4 สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 19. 43. กราฟของเส้นตรงคู่ใดขนานกัน 1. y = 2 1 x + 3 , y = 2x + 3 2. y = 3x – 5 , y = 3x + 5 3. x = –3 , y = 6 4. y = 3x , y = 1 สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ (  ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 44. กราฟของสมการในข้อใดขนานกับกราฟเส้นตรง 6yx3  1. 4y2x6  2. 5yx3  3. 12y2x6  4. 15y4x9  สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 20. 45. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะกราฟของสมการ 01x3y2  1. เป็นเส้นตรงที่ตัดทั้งแกน X และแกน Y 2. ความชันเท่ากับ 2 3  3. เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด  53, 4. มีคาตอบมากกว่า 1 ข้อ สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 46. คู่อันดับในข้อใดที่ ไม่ อยู่บนกราฟของสมการ 06y3x2  1.  43, 2.  20, 3.  26  , 4.  49, สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก
  • 21. 47. กราฟของสมการ 6y4x2  ไม่ ผ่านจุดใด 1.  03, 2.  11 , 3.        2 1 4, 4.        4 5 2 1 , สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 48. ถ้ากราฟของสมการเส้นตรง 0k2y4x3  ผ่านจุด  12, แล้วเส้นตรงจะตัด แกน X ที่จุดใด 1.       0, 3 10 2.        0, 3 10 3.        0, 3 2 4.       0, 3 2
  • 22. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 49. กราฟของสมการในข้อใดที่ขนานกับแกน X และผ่านจุด  43 , 1. 03y  2. 03y  3. 04y  4. 04y  สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๒ เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๓ เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 50. สมการในข้อใดเป็นสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 1. 1xy  2. 2 1  y x 3. 013  yx 4. y x 2 3
  • 23. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 51. กราฟของสมการ 1x2y  ตัดแกน Y ที่จุดใด 1.       0, 2 1 2.       0, 2 1 3.  1,0 4.  1,0  สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 52. กาหนดให้ baxy  เมื่อ 0a  และ 0b  กราฟของเส้นตรงจะมีลักษณะตรงกับข้อใด 1. ขนานกับแกน X 2. ขนานกับแกน Y 3. ทามุมแหลมกับแกน X 4. ทามุมป้านกับแกน X
  • 24. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 53. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 1. กราฟของสมการ y = ax + b เมื่อ a > 0 และ b > 0 เป็นเส้นตรงที่ทามุมแหลมกับแกน X ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 2. กราฟของสมการ y = ax + b ขนานกันเมื่อความชัน a มีค่าเท่ากัน 3. กราฟของสมการ y = ax + b ตั้งฉากกันเมื่อผลคูณของความชัน a มีค่าเท่ากับ -1 4. กราฟของสมการ y = ax + b ผ่านจุดกาเนิดเมื่อ a และ b มีค่าเท่ากับศูนย์ สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๔ อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 54.ระบบสมการในข้อใด ไม่ มีคาตอบ 1. 12y4x3  , 12y4x3  2. 1yx2  , 1yx2  3. 9y7x  , 9y7x  4. 4y2x3  , 8y4x6 
  • 25. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 55.คาตอบของระบบสมการ 04y9x7  กับ 4y3x  ตรงกับข้อใด 1.        3 2 2, 2.  22, 3.       3 8 4, 4.  04, สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 56.คาตอบของระบบสมการ 5yx2  และ 11y2x3  ตรงกับข้อใด 1.  34, 2.  55, 3.  71  , 4.  76,
  • 26. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 57.ให้  ba, เป็นคาตอบของระบบสมการ 09 5 3  yx และ 4 2 1 3 1  yx ค่าของ ba 92  ตรงกับข้อใด 1. 56 2. 16 3. 52 4. 54 สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 58.ถ้า  nm, เป็นคาตอบของระบบสมการ 01185  yx กับ     0112413  yx แล้วค่าของ nm 42  ตรงกับข้อใด 1. 12 2. 2 3. 1 4. 12
  • 27. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 59.จานวนสองหลักจานวนหนึ่ง เลขโดดในหลักสิบมากกว่าเลขโดดในหลักหน่วยอยู่6 และผลบวกของจานวนนี้ กับจานวนที่สลับหลักกับจานวนเดิมเป็น132 ถ้าให้ x แทนเลขโดดในหลักหน่วย สมการในข้อใดแทนโจทย์ ปัญหานี้ 1. 132124 x 2. 1326622 x 3. 1321222 x 4. 1321213 x สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 60.เมื่อ 6 ปีที่แล้ว บิดามีอายุเป็น 3 เท่าของอายุบุตร ถ้าในอีก 8 ปีข้างหน้า บิดา มีอายุเป็น 2 เท่าของอายุบุตร ปัจจุบันบิดามีอายุกี่ปี 1. 42 ปี 2. 44 ปี 3. 46 ปี 4. 48 ปี
  • 28. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 61. ระบบสมการในข้อใดมีคาตอบของสมการมากมายไม่จากัด 1. 15y3x35yx  , 2. 10x4y25yx2  , 3. 20y12x285y3x7  , 4. 6y4x103y2x5  , สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 62. ระบบสมการในข้อใดไม่มีคาตอบ 1. 12y4x66y2x3  , 2. 4yx2yx  , 3. 12yx39yx3  , 4. 14y6x47y3x2  ,
  • 29. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 63. คาตอบของระบบสมการ 1556  yx และ 12  yx ตรงกับข้อใด 1.        6, 2 5 2.        6, 2 5 3.       6, 2 7 4.  9,5 สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 64. กาหนดให้  ba, เป็นคาตอบของระบบสมการ 1672  yx และ 02  yx ค่าของ ab กับข้อใด 1. 2 2. 1 3. 1 4. 2
  • 30. สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 65. กาหนดให้  ts, เป็นคาตอบของระบบสมการ 7.04.03.0  yx และ 02.15.06.0  yx แล้วค่าของ ts 59  ตรงกับข้อใด 1. 12 2. 7 3. 13 4. 17 สาระที่ ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๕ แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สม ผลของคาตอบ ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 66. TSD  MON ถ้า MN = 6 , ON = 4 และ DT = 9 จะได้SD ยาวเท่าไร 1. 4 2. 6 3. 8 4. 9
  • 31. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 67. จากรูป กาหนดให้ DEBC// 42AB , เซนติเมตร 30BD , เซนติเมตร และ 49AC  เซนติเมตร ความยาวของด้าน CE ตรงกับข้อใด 1. 35 เซนติเมตร 2. 37 เซนติเมตร 3. 39 เซนติเมตร 4. 40 เซนติเมตร สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 68. จากรูป กาหนดให้ AED ~ ACB , 6AD  เมตร, 3DB  เมตร และ 12CB  เมตร จงหาความยาว ของ DE 1. 7 เมตร 2. 8 เมตร 3. 9 เมตร 4. 10 เมตร 49 ซม. 30 ซม. 42 ซม. ED CB A B C D A E 6 ม. 12 ม. 3 ม.
  • 32. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ () วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 69. จากรูป กาหนดให้ CDAB// 1aAB , 1AO , aOD , และ 4aCD  ความยาวของด้าน AB ตรงกับข้อใด 1. 2 2. 3 3. 5 4. 6 สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 70. จากรูป กาหนดให้ ABC ~ DEF FDAB//, EFBC//, EDAC//, 25EF , เซนติเมตร 15BC , เซนติเมตร และ 12BA  เซนติเมตร ความยาวของด้าน DE ตรงกับข้อใด 1. 17 เซนติเมตร 2. 18 เซนติเมตร 3. 19 เซนติเมตร 4. 20 เซนติเมตร C a+4 a+1 1 aO D BA 15 ซม. 12 ซม. 25 ซม. FE D CB A
  • 33. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 71. จากรูป กาหนดให้ BCADEA ˆˆ  17AE , เซนติเมตร 021ED .,  เซนติเมตร และ 255BC . เซนติเมตร ความยาวของด้าน AC ตรงกับข้อใด 1. 8.25 เซนติเมตร 2. 8.50 เซนติเมตร 3. 8.75 เซนติเมตร 4. 9.00 เซนติเมตร สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 72. จากรูป รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD มีพื้นที่กี่ตารางหน่วย 1. 325 ตารางหน่วย 2. 348 ตารางหน่วย 3. 364 ตารางหน่วย 4. 375 ตารางหน่วย E D C B A 1.7 ซม. 1.02 ซม. 20 15 10 O D C BA
  • 34. สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 73 บันไดยาว 8 เมตร พาดอยู่กับกาแพงสูง 4 เมตร ช่างทาสีเดินขึ้นบันไดไปได้6 เมตร ช่างทาสีอยู่สูงจากพื้นดินกี่เมตร 1. 1 เมตร 2. 2 เมตร 3. 3 เมตร 4. 4 เมตร สาระที่ ๓ เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ ม.๓/๑ ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา ระดับการวัด ( ) ความรู้ความจา ( ) ความเข้าใจ ( ) การนาไปใช้ ( ) วิเคราะห์ ( ) สังเคราะห์ ( ) ประเมินค่า ระดับความยาก ( ) ง่าย ( ) ปานกลาง ( ) ยาก 74. พระปฐมเจดีย์ใหญ่ที่จังหวัดนครปฐมมีเงาทอดยาวไปทางทิศตะวันตก62 เมตร และ เจดีย์จาลองสูง 8 เมตร มีเงาทอดยาวไปทางทิศตะวันตก 16 เมตร องค์พระปฐมเจดีย์ ใหญ่สูงกี่เมตร 1. 30 เมตร 2. 31 เมตร 3. 32 เมตร 4. 33 เมตร