SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
Descargar para leer sin conexión
ความน่าจะเป็ น

การหาค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์



   คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ค23102
ค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์
สูตร
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                               ั
                               จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
สูตร รู ปสัญลักษณ์
     กาหนดให้ E แทนเหตุการณ์ที่เราสนใจ
                     P(E) แทน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด
                  n(S) แทน จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                   n(E) แทน จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                            ั
                             n(E)
              สูตร P(E) =
                             n(S)
ตัวอย่างที่ 1   จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง
            จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวและก้อยเท่ากัน
                                        ั
ตัวอย่างที่ 1  จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้หวและก้อยเท่ากัน
                     ั
วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ
       หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT
        ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน
        เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4
         ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากัน คือ HT, TH
                                         ั
         ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากันได้เท่ากับ 2
                                       ั
   สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ นั
                                           จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้

   ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน =     2
                                             4
                                       =     1
                                             2
ตัวอย่างที่ 2 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง
             จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวทั้งสองครั้ง
                                         ั
ตัวอย่างที่ 2  จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้หวทั้งสองครั้ง
                     ั
วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ
       หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT
        ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน
        เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4
         ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้ง คือ
                                         ั                   HH
         ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้งได้เท่ากับ 1
                                       ั
   สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น  ั
                                             จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
   ได้ ความน่าจะเป็ นหัวสองครั้ง =             1
                                               4
                                         = 0.25               = ร้อยละ 25
ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง
             จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน
                                           ั
ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
              ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน
                    ั
วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท
        3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT,
       ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท
       3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8
      ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน คือ HHH,
                                        ั                                     TTT,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกันได้เท่ากับ 2
                                      ั
     สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น  ั
                                               จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
     ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 2       8
                                          = 1
                                                   4
ตัวอย่างที่ 4   จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง
                จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวมากกว่าก้อย
                                            ั
ตัวอย่างที่ 4    จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
                       ได้หวมากกว่าก้อย
                            ั
วิธีทา     ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท
           3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT,
           ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท
           3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8
          ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อย คือ HHH, HHT, HTH, THH
                                          ั
         ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อยได้เท่ากับ 4
                                       ั
     สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                          ั
                                            จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
         ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน =   4
                                                 8
                                            =    1
                                                 2
ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก
                         ู

    หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง

  จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                              ู
ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
   ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง       จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
   ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2,
       ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ,
      ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ      25
       เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ม1ฟ, ม2ฟ, ฟ ม1, ฟ ม2,
       ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ       4


                                                    จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                    ั
        สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                    จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                              4
        ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25
                                               16
                                            = 100              =      ร้อยละ 16
ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก

หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง

จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                            ู
ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
  ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง         จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
  ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2,
       ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ,
      ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ      25             (ใส่ คืนก่ อน)
      เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ
              ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ       8
                                                    จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                    ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                    จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             8
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25
                                              32
                                           = 100               =      ร้อยละ 32
ตัวอย่างที่ 7   จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก

  หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง

 จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก
                             ู
  เป็ นร้อยละเท่าไร


                   1      2
                                2
                   1
ตัวอย่างที่ 7 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
     ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง          จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
     ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2,
             ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2,
     ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ       20           (ไม่ ใส่ คืน)
      เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ
              ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ       8
                                                    จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                    ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                    จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             8
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 20
                                              40
                                           = 100               =      ร้อยละ 40
ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก

            หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน            จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
            ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                ู



        1      2
                      2
        1
ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ
               ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน      จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร
                    ู
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข2,   ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ,
                                   ม1ม2, ม1ฟ, ม2ฟ,
     ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ     10          (หยิบพร้ อมกัน 2 ลูก)
      เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ
              ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1,             ข2ม2,
      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ     4
                                                  จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                  ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                  จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             4
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10
                                              40
                                           = 100             =         ร้อยละ 40
ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก
                         ู
              หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ ลูกแก้ว 1 ลูก
              จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร
                                          ู
ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลูกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ
               ลูกแก้ว 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ
               ได้ลูกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร
วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข,          ข,    ข,           ข,       ล,     ล,        ล,    ล,   ล,   ล,
      ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ           10              (หยิบ 1 ลูก)

      เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี เหลือง คือ ล,        ล,       ล,            ล,          ล,        ล,

      ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ        6

                                                         จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น
                                                                                         ั
       สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด =
                                                         จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
                                             6
       ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10
                                              60
                                           = 100                       =        ร้อยละ 60

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Destacado

คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
พัน พัน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
krupornpana55
 

Destacado (11)

Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 

Similar a 5.สูตรการหาความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Aon Narinchoti
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
nutchamai
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
thetong1229
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Mc'Napat KhunKhoei
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
thetong1229
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Akkradet Keawyoo
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
krubud
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
numpueng
 

Similar a 5.สูตรการหาความน่าจะเป็น (20)

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Event
EventEvent
Event
 
Prob
ProbProb
Prob
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
 
Najapen
NajapenNajapen
Najapen
 
Ht 1
Ht 1Ht 1
Ht 1
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 

Más de ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 

Más de ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

5.สูตรการหาความน่าจะเป็น

  • 2. ค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ สูตร รู ปสัญลักษณ์ กาหนดให้ E แทนเหตุการณ์ที่เราสนใจ P(E) แทน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด n(S) แทน จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ n(E) แทน จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั n(E) สูตร P(E) = n(S)
  • 3. ตัวอย่างที่ 1 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวและก้อยเท่ากัน ั
  • 4. ตัวอย่างที่ 1 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวและก้อยเท่ากัน ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากัน คือ HT, TH ั ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวและก้อยเท่ากันได้เท่ากับ 2 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ นั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 2 4 = 1 2
  • 5. ตัวอย่างที่ 2 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวทั้งสองครั้ง ั
  • 6. ตัวอย่างที่ 2 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวทั้งสองครั้ง ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญ หนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง คือ HH, HT, TH, TT ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยน เหรี ยญหนึ่งบาท 1 อัน 2 ครั้ง ได้เท่ากับ 4 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้ง คือ ั HH ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวทั้งสองครั้งได้เท่ากับ 1 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวสองครั้ง = 1 4 = 0.25 = ร้อยละ 25
  • 7. ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน ั
  • 8. ตัวอย่างที่ 3 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท 3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกัน คือ HHH, ั TTT, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้ท้ งสามครั้งขึ้นหน้าเหมือนกันได้เท่ากับ 2 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 2 8 = 1 4
  • 9. ตัวอย่างที่ 4 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวมากกว่าก้อย ั
  • 10. ตัวอย่างที่ 4 จากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้หวมากกว่าก้อย ั วิธีทา ต้ องบอกได้ ว่า ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่งบาท 3 อัน 1 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากจากการโยนเหรี ยญหนึ่ งบาท 3 อัน 1 ครั้ง ได้เท่ากับ 8 ต้ องบอกได้ ว่า เหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อย คือ HHH, HHT, HTH, THH ั ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ที่ได้หวมากกว่าก้อยได้เท่ากับ 4 ั สู ตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 4 8 = 1 2
  • 11. ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก ู หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู
  • 12. ตัวอย่างที่ 5 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2, ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 25 เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี ฟ้าและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ม1ฟ, ม2ฟ, ฟ ม1, ฟ ม2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 4 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 4 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25 16 = 100 = ร้อยละ 16
  • 13. ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู
  • 14. ตัวอย่างที่ 6 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วใส่ คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข1, ข1ม1,ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ข2, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2, ม1ม1, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ม2, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ฟ ฟ, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 25 (ใส่ คืนก่ อน) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 8 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 8 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 25 32 = 100 = ร้อยละ 32
  • 15. ตัวอย่างที่ 7 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก ู เป็ นร้อยละเท่าไร 1 2 2 1
  • 16. ตัวอย่างที่ 7 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบทีละลูก หยิบลูกแรกแล้วไม่ใส่ คืนแล้วหยิบลูกที่สอง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ข1, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ข1, ม1ข2, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ข1, ม2ข2, ม2ม1, ม2ฟ, ฟ ข1, ฟ ข2, ฟ ม1, ฟ ม2, ข1ข2, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 20 (ไม่ ใส่ คืน) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ม1ข1, ม1ข2, ม2ข1, ม2ข2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 8 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 8 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 20 40 = 100 = ร้อยละ 40
  • 17. ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู 1 2 2 1
  • 18. ตัวอย่างที่ 8 จากในถุงมีลูกบอลขนาดเท่ากัน สี เขียว 2 ลูก สี ม่วง 2 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก หลับตาหยิบ ลูกบอล 2 ลูก หยิบพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูกเป็ นร้อยละเท่าไร ู วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข1ข2, ข1ม1, ข1ม2, ข1ฟ, ข2ม1, ข2ม2, ข2ฟ, ม1ม2, ม1ฟ, ม2ฟ, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 10 (หยิบพร้ อมกัน 2 ลูก) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสี เขียวและลูกบอลสี ม่วงอย่างละ 1 ลูก คือ ข1ม1, ข1ม2, ข2ม1, ข2ม2, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 4 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 4 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10 40 = 100 = ร้อยละ 40
  • 19. ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก ู หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ ลูกแก้ว 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร ู
  • 20. ตัวอย่างที่ 9 จากในถุงมีลูกแก้วขนาดเท่ากัน สี ขาว 4 ลูก สี เหลือง 6 ลูก หลับตาหยิบสุ่ มหยิบ ลูกแก้ว 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะ ได้ลูกแก้วสี เหลืองเป็ นร้อยละเท่าไร วิธีทา ผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดได้คือ ข, ข, ข, ข, ล, ล, ล, ล, ล, ล, ต้ องนับ จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น ได้เท่ากับ 10 (หยิบ 1 ลูก) เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี เหลือง คือ ล, ล, ล, ล, ล, ล, ต้ องนับ จานวนเหตุการณ์ ได้เท่ากับ 6 จานวนผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ น ั สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใด = จานวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 6 ได้ ความน่าจะเป็ นหัวและก้อยเท่ากัน = 10 60 = 100 = ร้อยละ 60