SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
ตัวอย่างการเขียนกราฟของสมการที่ค่า a และ b เป็นค่าต่าง ๆ
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟของสมการ y = 3x และ y = 3x – 2 โดยใช้แกนคู่
เดียวกัน พร้อมทั้งพิจารณาว่ากราฟของสมการทั้งสองเป็นอย่างไร
y = 3x y = 3x – 2
1) จากสมการที่กาหนดให้ กราฟของสมการ y = 3x มีลักษณะเป็นอย่างไร (เป็นเส้นตรง)
2) จากสมการที่กาหนดให้ กราฟของสมการ y = 3x – 2 มีลักษณะเป็นอย่างไร (เป็นเส้นตรง)
3) กราฟของสมการทั้งสองมีลักษณะอย่างไร (กราฟของสมการทั้งสองขนานกัน)
4) จากตัวอย่างนี้ระบบสมการนี้มีคาตอบของระบบสมการหรือไม่ เพราะเหตุใด
(ไม่มีคาตอบของระบบสมการ เพราะกราฟของสมการทั้งสองไม่มีจุดตัดกันของกราฟ)
กราฟของสมการทั้งสองขนานกันโดยกราฟของสมการy=3xผ่านจุด(0,0)และกราฟของสมการ
y = 3x –2 ตัดแกน y ที่จุด (0, –2)
ดังนั้นไม่มีคาตอบของระบบสมการนี้
x –1 0 1
y –3 0 3
x –1 0 1
y –5 –2 1
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟของสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 โดยใช้แกนคู่
เดียวกันและพิจารณากราฟของสมการทั้งสอง
y – x = 1 y = x + 1
y + x = 3 y = –x + 3
y = x + 1 y = –x + 3
1) เพราะเหตุใดจึงต้องเขียนสมการ y – x = 1 ให้อยู่ในรูป y = x + 1 และเขียนสมการ
y + x = 3 ให้อยู่ในรูป y = –x + 3 (เพื่อให้อยู่ในรูปทั่วไปของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรหรือ y = ax + b และ
ง่ายต่อการนาไปหาค่าตัวแปรและเขียนกราฟ)
2) จากสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 กราฟที่ได้มีลักษณะอย่างไร (มีลักษณะเป็นเส้นตรง)
3) กราฟของสมการ y – x = 1 ตัดแกน X ที่จุดใดและตัดแกน Y ที่จุดใด (ตัดแกน X
ที่จุด (–1, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 1))
4) กราฟของสมการ y + x = 3 ตัดแกน X ที่จุดใดและตัดแกน Y ที่จุดใด (ตัดแกน X
ที่จุด (3, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3))
5) กราฟของสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 ตัดกันที่จุดใด (ตัดกันที่จุด (1, 2))
6) จากกราฟของระบบสมการนี้มีคาตอบหรือไม่ (มี คาตอบของระบบสมการ คือ (1, 2))
ตัวอย่างของกราฟของสมการข้างต้นได้ว่า
x – 1 0 1
y 0 1 2
x – 1 0 1
y 4 3 2
กราฟของสมการทั้งสองตัดกันที่จุด (1, 2) โดยที่กราฟของสมการ y – x = 1 ตัดแกน
X ที่จุด (–1, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) และกราฟของสมการ y + x = 3 ตัดแกน X ที่จุด (3, 0)
และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3)
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการ คือ (1, 2)
ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนกราฟของสมการ x = –2, x = 3, y = และ y = –3 โดย
ใช้แกนคู่เดียวกัน และพิจารณากราฟของสมการทั้งหมด
จะเห็นว่า กราฟของสมการ x = –2 และ x = 3 ขนานกัน โดยที่กราฟของสมการ x = –2
ค่าของ y จะเป็นเท่าไรก็ได้ แต่ค่าของ x = –2 เสมอ และตัดแกน X ที่จุด (–2, 0) และกราฟของ
สมการ x = 3 ค่าของ y จะเป็นเท่าไรก็ได้แต่ค่าของ x = 3 เสมอ และตัดแกน X ที่จุด (3, 0)
สาหรับกราฟของสมการ y = และ y = –3 ขนานกัน โดยที่กราฟของสมการ y =
ค่าของ x จะเป็นเท่าไรก็ได้ แต่ค่าของ y = หรือ 2 เสมอ และตัดแกน Y ที่จุด (0, ) และ
กราฟของสมการ y = –3 ค่าของ x จะเป็นเท่าไรก็ได้แต่ค่าของ y = –3 เสมอ และตัดแกน Y ที่จุด
(0, –3)
5
2
5
2
5
2
5
2
1
2
5
2
ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนกราฟของสมการ y = x – 3, y = 2x + 2 , y = 2x – 3 และ y = x
โดยใช้แกนคู่เดียวกัน
วิธีทา
จากกราฟจะสังเกตเห็นว่า
1. กราฟของสมการ y = 2x + 2 ขนานกับกราฟของสมการ y = 2x – 3 เนื่องจากค่าของ
a เท่ากัน คือ 2
2. กราฟของสมการ y = x – 3 ขนานกับกราฟของสมการ y = x เนื่องจากค่าของ
a เท่ากัน คือ 1
3. กราฟของสมการ y = x ผ่านจุด (0, 0) เนื่องจากค่าของ b = 0
4. กราฟของสมการ y = 2x – 3 และ y = x – 3 ตัดแกน Y ที่จุดเดียวกัน คือ (0, –3)
เนื่องจากค่าของ b เท่ากัน คือ –3
x –1 0 1
y = x – 3 – 4 –3 –2
y = 2x + 2 0 2 4
y = 2x –3 –5 –3 –1
y = x –1 0 1
5. กราฟของสมการ y = 2x + 2 ตัดแกน Y เหนือแกน X เนื่องจากค่าของ b เป็นจานวน
บวก คือ 2
6. กราฟของสมการ y = 2x – 3 และ y = x – 3 ตัดแกน Y ใต้แกน X เนื่องจากค่าของ b
เป็นจานวนลบ คือ –3
7. กราฟของสมการ y = 2x + 2 และ y = 2x – 3 ชันกว่ากราฟของสมการ y = x – 3 และ
y = x เนื่องจากค่าของ |a| ของสองสมการแรกมากกว่าค่าของ |a| ของสองสมการหลัง
8. กราฟทุกเส้นทามุมแหลมกับแกน X เนื่องจากค่าของ a > 0
ตัวอย่างที่ 5 จงเขียนกราฟของสมการ 2y + 2x = –3, y + x = –3, y + 3x = –3 และ
y + 3x = 0
วิธีทา จัดทุกสมการให้อยู่ในรูป y = ax + b
2y + 2x = –3 y = –x –
y + x = –3 y = –x – 3
y + 3x = –3 y = –3x – 3
y + 3x = 0 y = –3x
x –2 0 2
y = –x –
y = – x – 3
y = –3x – 3
y = –3x
–1
3
6
–1
–3
–3
0
–3
–5
–9
–6
3
2
1
2
1
2
1
2
3
2
จากกราฟจะสังเกตเห็นว่า
1. กราฟของสมการ y = –x – ขนานกับกราฟของสมการ y = –x – 3 เนื่องจากค่า
ของ a เท่ากัน คือ –1
2. กราฟของสมการ y = –3x – 3 ขนานกับกราฟของสมการ y = –3x เนื่องจากค่าของ a
เท่ากัน คือ –3
3. กราฟของสมการ y = –3x ผ่านจุด (0, 0) เนื่องจากค่าของ b = 0
4. กราฟของสมการ y = –x – 3 และกราฟของสมการ y = –3x – 3 ตัดแกน Y ที่จุด
เดียวกัน คือ (0, –3) เนื่องจากค่าของ b เท่ากัน คือ –3
5. กราฟของสมการ y = –x – , y = –x – 3 และ y = –3x – 3 ตัดแกน Y ใต้แกน X
เนื่องจากค่าของ b เป็นจานวนลบ
6. กราฟของสมการ y = –3x และ y = –3x – 3 ชันกว่ากราฟของสมการ y = –x –
และ y = –x – 3 เนื่องจาก |–3| มีค่ามากกว่า |–1|
7. กราฟทุกเส้นทามุมป้านกับแกน X เนื่องจากค่าของ a < 0
3. สรุปความรู้ ดังนี้
1. กราฟของสมการทั้งสองตัดกันที่จุดจุดหนึ่งซึ่งจุดนั้นจะเป็นคาตอบของระบบสมการ
โดยแสดงค่าของ x และ y
2. กราฟของสมการทั้งสองขนานกัน ซึ่งไม่มีคาตอบของระบบสมการ
3. กราฟของสมการทั้งสองทับกันเป็นเส้นตรงเดียวกัน ซึ่งคาตอบของระบบสมการมี
มากมาย โดยค่าของ x และ y ที่อยู่บนเส้นตรงนั้น
3
2
3
2
3
2

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
krookay2012
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
นายเค ครูกาย
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
Krukomnuan
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
krookay2012
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 

La actualidad más candente (20)

ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
สอบ กราฟ
สอบ กราฟ สอบ กราฟ
สอบ กราฟ
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรง
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 

Destacado

แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2
แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2
แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2
ทับทิม เจริญตา
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
krookay2012
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
krookay2012
 
กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้
Jiraprapa Suwannajak
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทับทิม เจริญตา
 

Destacado (20)

Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2
แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2
แผนที่ 4 การเขียนกราฟของสมการฯ 2
 
แบบฝึกกราฟ01
แบบฝึกกราฟ01แบบฝึกกราฟ01
แบบฝึกกราฟ01
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
กราฟ04
กราฟ04กราฟ04
กราฟ04
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้กราฟและการนำไปใช้
กราฟและการนำไปใช้
 
Key onetm3 54
Key onetm3 54Key onetm3 54
Key onetm3 54
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
เฉลย O net ม.3 ปี 56
เฉลย O net ม.3 ปี 56เฉลย O net ม.3 ปี 56
เฉลย O net ม.3 ปี 56
 

Similar a แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
suwanpinit
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
Kanchanid Kanmungmee
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
krookay2012
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรงแบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
kroojaja
 

Similar a แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ (20)

Equation
EquationEquation
Equation
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Pre 7-วิชา 3
Pre  7-วิชา 3Pre  7-วิชา 3
Pre 7-วิชา 3
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรงแบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
 
01
0101
01
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 

Más de ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
ทับทิม เจริญตา
 

Más de ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
 
ความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลังความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลัง
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
 
ค31202 คณิตศาสตร์ 2
ค31202  คณิตศาสตร์ 2ค31202  คณิตศาสตร์ 2
ค31202 คณิตศาสตร์ 2
 

แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ

  • 1. ตัวอย่างการเขียนกราฟของสมการที่ค่า a และ b เป็นค่าต่าง ๆ ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟของสมการ y = 3x และ y = 3x – 2 โดยใช้แกนคู่ เดียวกัน พร้อมทั้งพิจารณาว่ากราฟของสมการทั้งสองเป็นอย่างไร y = 3x y = 3x – 2 1) จากสมการที่กาหนดให้ กราฟของสมการ y = 3x มีลักษณะเป็นอย่างไร (เป็นเส้นตรง) 2) จากสมการที่กาหนดให้ กราฟของสมการ y = 3x – 2 มีลักษณะเป็นอย่างไร (เป็นเส้นตรง) 3) กราฟของสมการทั้งสองมีลักษณะอย่างไร (กราฟของสมการทั้งสองขนานกัน) 4) จากตัวอย่างนี้ระบบสมการนี้มีคาตอบของระบบสมการหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่มีคาตอบของระบบสมการ เพราะกราฟของสมการทั้งสองไม่มีจุดตัดกันของกราฟ) กราฟของสมการทั้งสองขนานกันโดยกราฟของสมการy=3xผ่านจุด(0,0)และกราฟของสมการ y = 3x –2 ตัดแกน y ที่จุด (0, –2) ดังนั้นไม่มีคาตอบของระบบสมการนี้ x –1 0 1 y –3 0 3 x –1 0 1 y –5 –2 1
  • 2. ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟของสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 โดยใช้แกนคู่ เดียวกันและพิจารณากราฟของสมการทั้งสอง y – x = 1 y = x + 1 y + x = 3 y = –x + 3 y = x + 1 y = –x + 3 1) เพราะเหตุใดจึงต้องเขียนสมการ y – x = 1 ให้อยู่ในรูป y = x + 1 และเขียนสมการ y + x = 3 ให้อยู่ในรูป y = –x + 3 (เพื่อให้อยู่ในรูปทั่วไปของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรหรือ y = ax + b และ ง่ายต่อการนาไปหาค่าตัวแปรและเขียนกราฟ) 2) จากสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 กราฟที่ได้มีลักษณะอย่างไร (มีลักษณะเป็นเส้นตรง) 3) กราฟของสมการ y – x = 1 ตัดแกน X ที่จุดใดและตัดแกน Y ที่จุดใด (ตัดแกน X ที่จุด (–1, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 1)) 4) กราฟของสมการ y + x = 3 ตัดแกน X ที่จุดใดและตัดแกน Y ที่จุดใด (ตัดแกน X ที่จุด (3, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3)) 5) กราฟของสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 ตัดกันที่จุดใด (ตัดกันที่จุด (1, 2)) 6) จากกราฟของระบบสมการนี้มีคาตอบหรือไม่ (มี คาตอบของระบบสมการ คือ (1, 2)) ตัวอย่างของกราฟของสมการข้างต้นได้ว่า x – 1 0 1 y 0 1 2 x – 1 0 1 y 4 3 2
  • 3. กราฟของสมการทั้งสองตัดกันที่จุด (1, 2) โดยที่กราฟของสมการ y – x = 1 ตัดแกน X ที่จุด (–1, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) และกราฟของสมการ y + x = 3 ตัดแกน X ที่จุด (3, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3) ดังนั้น คาตอบของระบบสมการ คือ (1, 2) ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนกราฟของสมการ x = –2, x = 3, y = และ y = –3 โดย ใช้แกนคู่เดียวกัน และพิจารณากราฟของสมการทั้งหมด จะเห็นว่า กราฟของสมการ x = –2 และ x = 3 ขนานกัน โดยที่กราฟของสมการ x = –2 ค่าของ y จะเป็นเท่าไรก็ได้ แต่ค่าของ x = –2 เสมอ และตัดแกน X ที่จุด (–2, 0) และกราฟของ สมการ x = 3 ค่าของ y จะเป็นเท่าไรก็ได้แต่ค่าของ x = 3 เสมอ และตัดแกน X ที่จุด (3, 0) สาหรับกราฟของสมการ y = และ y = –3 ขนานกัน โดยที่กราฟของสมการ y = ค่าของ x จะเป็นเท่าไรก็ได้ แต่ค่าของ y = หรือ 2 เสมอ และตัดแกน Y ที่จุด (0, ) และ กราฟของสมการ y = –3 ค่าของ x จะเป็นเท่าไรก็ได้แต่ค่าของ y = –3 เสมอ และตัดแกน Y ที่จุด (0, –3) 5 2 5 2 5 2 5 2 1 2 5 2
  • 4. ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนกราฟของสมการ y = x – 3, y = 2x + 2 , y = 2x – 3 และ y = x โดยใช้แกนคู่เดียวกัน วิธีทา จากกราฟจะสังเกตเห็นว่า 1. กราฟของสมการ y = 2x + 2 ขนานกับกราฟของสมการ y = 2x – 3 เนื่องจากค่าของ a เท่ากัน คือ 2 2. กราฟของสมการ y = x – 3 ขนานกับกราฟของสมการ y = x เนื่องจากค่าของ a เท่ากัน คือ 1 3. กราฟของสมการ y = x ผ่านจุด (0, 0) เนื่องจากค่าของ b = 0 4. กราฟของสมการ y = 2x – 3 และ y = x – 3 ตัดแกน Y ที่จุดเดียวกัน คือ (0, –3) เนื่องจากค่าของ b เท่ากัน คือ –3 x –1 0 1 y = x – 3 – 4 –3 –2 y = 2x + 2 0 2 4 y = 2x –3 –5 –3 –1 y = x –1 0 1
  • 5. 5. กราฟของสมการ y = 2x + 2 ตัดแกน Y เหนือแกน X เนื่องจากค่าของ b เป็นจานวน บวก คือ 2 6. กราฟของสมการ y = 2x – 3 และ y = x – 3 ตัดแกน Y ใต้แกน X เนื่องจากค่าของ b เป็นจานวนลบ คือ –3 7. กราฟของสมการ y = 2x + 2 และ y = 2x – 3 ชันกว่ากราฟของสมการ y = x – 3 และ y = x เนื่องจากค่าของ |a| ของสองสมการแรกมากกว่าค่าของ |a| ของสองสมการหลัง 8. กราฟทุกเส้นทามุมแหลมกับแกน X เนื่องจากค่าของ a > 0 ตัวอย่างที่ 5 จงเขียนกราฟของสมการ 2y + 2x = –3, y + x = –3, y + 3x = –3 และ y + 3x = 0 วิธีทา จัดทุกสมการให้อยู่ในรูป y = ax + b 2y + 2x = –3 y = –x – y + x = –3 y = –x – 3 y + 3x = –3 y = –3x – 3 y + 3x = 0 y = –3x x –2 0 2 y = –x – y = – x – 3 y = –3x – 3 y = –3x –1 3 6 –1 –3 –3 0 –3 –5 –9 –6 3 2 1 2 1 2 1 2 3 2
  • 6. จากกราฟจะสังเกตเห็นว่า 1. กราฟของสมการ y = –x – ขนานกับกราฟของสมการ y = –x – 3 เนื่องจากค่า ของ a เท่ากัน คือ –1 2. กราฟของสมการ y = –3x – 3 ขนานกับกราฟของสมการ y = –3x เนื่องจากค่าของ a เท่ากัน คือ –3 3. กราฟของสมการ y = –3x ผ่านจุด (0, 0) เนื่องจากค่าของ b = 0 4. กราฟของสมการ y = –x – 3 และกราฟของสมการ y = –3x – 3 ตัดแกน Y ที่จุด เดียวกัน คือ (0, –3) เนื่องจากค่าของ b เท่ากัน คือ –3 5. กราฟของสมการ y = –x – , y = –x – 3 และ y = –3x – 3 ตัดแกน Y ใต้แกน X เนื่องจากค่าของ b เป็นจานวนลบ 6. กราฟของสมการ y = –3x และ y = –3x – 3 ชันกว่ากราฟของสมการ y = –x – และ y = –x – 3 เนื่องจาก |–3| มีค่ามากกว่า |–1| 7. กราฟทุกเส้นทามุมป้านกับแกน X เนื่องจากค่าของ a < 0 3. สรุปความรู้ ดังนี้ 1. กราฟของสมการทั้งสองตัดกันที่จุดจุดหนึ่งซึ่งจุดนั้นจะเป็นคาตอบของระบบสมการ โดยแสดงค่าของ x และ y 2. กราฟของสมการทั้งสองขนานกัน ซึ่งไม่มีคาตอบของระบบสมการ 3. กราฟของสมการทั้งสองทับกันเป็นเส้นตรงเดียวกัน ซึ่งคาตอบของระบบสมการมี มากมาย โดยค่าของ x และ y ที่อยู่บนเส้นตรงนั้น 3 2 3 2 3 2