SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 26
การนิเทศการ
ศึกษา
ดร.พนายุทธ เชยบาล
สาขาวิชาการบริหารการ
ศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระพุทธวัจนะ“อานนท์ การแสดงธรรมให้คน
อื่นฟัง มิใช่สิ่งที่กระทำาได้ง่าย
ผู้แสดงธรรมแก่ผู้อื่นพึงตั้งธรรม
5 อย่างไว้ในใจคือ
1. เราจักกล่าวชี้แจงไปตาม
ลำาดับ
2. เราจักกล่าวชี้แจงยก
เหตุผลมาแสดงให้เข้าใจ
3. เราจักแสดงด้วยอาศัย
เมตตา
4. เราจักไม่แสดงด้วยเห็น
บาป 7 ประการ
ของ คานธี
หลักการ
2. หาความสุขสำาราญ...โดย
ไม่ยั้งคิด
3. รำ่ารวยเป็นอกนิษฐ์...โดย
ไม่ต้องทำางาน
4. มีความรู้มหาศาล...แต่
ความประพฤติไม่ดี
5. ค้าขาย....โดยไม่มีศีล
ธรรม
6. วิทยาศาสตร์เลิศลำ้า
แต่...ไม่มีธรรมแห่งมนุษย์
นิเทศ คือ
อะไร ?ความหมายตาม
พจนานุกรม นิเทศ ก.
ชี้แจง แสดง จำาแนก นิเทศ
หมายถึง ประสานงาน
กระตุ้นและนำาทางไปสู่
ความงอกงาม นิเทศ หมาย
ถึง ช่วยเหลือ แนะนำา เพื่อ
ให้ผู้รับการนิเทศมีความรู้
นิเทศการ
ศึกษาคือ
อะไรกระบวนการทำางานร่วมกัน
ของผู้นิเทศและผู้รับ การ
นิเทศในการปรับปรุง พัฒนาการ
เรียนการสอนให้บรรลุผล เพื่อให้
ผู้เรียนเป็นคนดี มีความรู้ความ
สามารถ และอยู่ในสังคมได้อย่าง
มีความสุข โดยใช้กิจกรรม วิธีการ
และสื่อประกอบการนิเทศหลาก
ความสำาคัญ
ของการนิเทศ
ความสำาคัญ
ของการนิเทศ• กระบวนการสังคมเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ผู้นิเทศเป็นผู้นำาการ
เปลี่ยนแปลง(Change Agent)
• การศึกษาเปลี่ยนแปลง หลักสูตร
และการเรียนการสอน
เปลี่ยนแปลงต้องมีการฝึกอบรม
ประชุมสัมมนา
• มาตรฐานการศึกษาที่กำาหนดต้อง
อาศัยครูที่มีความเชี่ยวชาญ จึง
ต้องมีการนิเทศแนะนำาครูอย่างต่อ
เนื่อง
• กระบวนการสังคมเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ผู้นิเทศเป็นผู้นำาการ
เปลี่ยนแปลง(Change Agent)
• การศึกษาเปลี่ยนแปลง หลักสูตร
และการเรียนการสอน
เปลี่ยนแปลงต้องมีการฝึกอบรม
ประชุมสัมมนา
• มาตรฐานการศึกษาที่กำาหนดต้อง
อาศัยครูที่มีความเชี่ยวชาญ จึง
ต้องมีการนิเทศแนะนำาครูอย่างต่อ
เนื่อง
ความมุ่งหมายของการ
นิเทศการศึกษา
เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าวิชาชีพครู
เพื่อส่งเสริมความเจริญงอกงามของครู
เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนของครู
เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างครู ผู้
เรียน ผู้ปกครองและชุมชน
บริกส์
หน้าที่
ของผู้นิเทศตามแนวคิด ลูซิ
โอและ แมคนีล
การวางแผน
การบริหาร
การนิเทศ
การพัฒนา
หลักสูตรการสาธิตการ
สอนการวิเคราะห์
วิวัฒนากา
ร
การนิเทศ
การศึกษา
แบ่งระยะ
วิวัฒนาการ
ออกเป็น 4
ระยะระยะที่ 1 การตรวจตราจาก
ฝ่ายบริหาร
ระยะที่ 3 การนิเทศโดยใช้แนวทาง
วิทยาศาสตร์
ระยะที่ 2 เป็นหน้าที่ผู้
เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ระยะที่ 4 นิเทศการศึกษาโดยใช้วิถี
ทางประชาธิปไตย
ประวัติ
การนิเทศการ
ศึกษา
ในประเทศไทย
แบ่งออกเป็น
5 ระยะ
ระยะที่ 1 การควบคุมดูแลการ
ศึกษาโดยKing
ระยะที่ 2 นิเทศโดยการควบคุม
โดยเสนาบดี
ระยะที่ 3 นิเทศโดยการจัดตั้ง
พนักงานตรวจการ
ระยะที่ 4 นิเทศโดย
ศึกษานิเทศก์กรมและจังหวัด
ช่วยเหลือ แนะนำา
ปรับปรุงการเรียนการสอน
ระยะที่ 5 นิเทศโดยกลุ่มนิเทศ
บทบาท
ของผู้นิเทศ
1.เป็นผู้นำาของกลุ่มบุคคล
2.เป็นผู้สร้างขวัญและส่งเสริมให้
มีความงอกงามในอาชีพ
3.เป็นผู้บริการให้คำาปรึกษาหารือ
4.เป็นผู้ประสานงานให้เกิดความ
ร่วมมือ
5.เป็นผู้พัฒนาและติดตามผลการ
ความแตกต่างระหว่าง
การนิเทศ
อดีต
เป็นการไปตรวจ
งาน
ประกอบด้วยคน
จำานวนน้อย
ใช้วิธีการบังคับ
และใช้อำานาจ
เพ่งเล็งที่ครูผู้สอน
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
เป็นการยอมรับ
และร่วมมือกัน
เป็นการศึกษาและ
วิเคราะห์งาน
มุ่งวัตถุประสงค์
ของการศึกษา
ปัจจุบัน
เทคนิคในการนิเทศ
การศึกษา
1. เทคนิคเสนอแนะ : ใช้แทนคำาสั่ง
บังคับ ใช้แนะให้ทราบสิ่งจำาเป็น
2. เทคนิคสาธิต : ลงมือทำาเองเป็น
ตัวอย่าง
3. เทคนิคกัยวิกัย : ปล่อยให้
แสดงออกมาให้หมดแล้วค่อยเติมเต็ม
4. เทคนิคชวนพาที : สนทนาหลักการ
และวิชาการ เติมสิ่งที่ขาด
5. เทคนิคแพร่พิมพ์ : เสนอสิ่งที่ควร
สนใจ ในลักษณะสิ่งพิมพ์
6. เทคนิคปลูกมหานิยม : ช่วยทุกข์ยาก
เป็นการส่วนตัว แต่มุ่งที่เด็ก
7. เทคนิคป้อนขนมนมเนย : ป้อนปัญหา
วิธีนิเทศการ
ศึกษา
จัดทำาแผนการ
โครงการนิเทศ
ปฏิบัติตาม
แผนงาน
ติดตามและ
ประเมิน
ทักษะและความ
รู้ที่ต้องมี
ความรู้ที่สำาคัญ
4 ด้าน
ทักษะที่จำาเป็น 4
ด้านความรู้เรื่อง
ปรัชญาการ
ศึกษา ความรู้
ด้านพัฒนา
หลักสูตร ความ
รู้เรื่องการนิเทศ
ความรู้ด้าน
ทักษะแห่งความ
เป็นผู้นำา
ทักษะใน
มนุษยสัมพันธ์
ทักษะ
กระบวนการ
ใดมีการเรียนการ
สอน
ที่นั่นมีการนิเทศ
นิเทศ เพื่อการไม่
ปรัชญาการนิเทศ
การศึกษา
หลักการนิเทศ
การศึกษา
การนิเทศการศึกษา คือ ปรัชญา เป็นการ
เสาะแสวงหาความจริง ทำาหน้าที่ประเมินผล
วัตถุประสงค์และผลลัพธ์
การนิเทศการศึกษา คือ ความร่วมมือ ต้อง
อาศัยความช่วยเหลือกัน
การนิเทศการศึกษา คือ งานสร้างสรรค์
ค้นหาความสามารถพิเศษที่ซ่อนอยู่ในแต่ละ
บุคคล
การนิเทศการศึกษา คือ วิทยาศาสตร์
แสวงหาคำาตอบโดยการทดลอง ค้นคว้า
พิสูจน์ตัวเองของกระบวนการนิเทศการ
ศึกษา
ศึกษานิเทศก์...
ควรมีความฉลาดทาง
อารมณ์
มีความเฉียบคมทาง
ปัญญา
มีการพัฒนาความคิด
พิชิต หัวใจครู
สู่....งานการศึกษา
ศึกษานิเทศก์ที่ดี
ต้องมากด้วยปัญญา วาจาดี มีนำ้าใจ
อยู่ใกล้แล้วเป็นสุข
SMART & SMILE SMILE
S.. Pirit S..mile
M..anagement A..ctive
M..otivation
R..ational
I..nstructional Supervition
T..each L..eader
ต้องมากด้วยปัญญา วาจาดี มีนำ้าใจ
อยู่ใกล้แล้วเป็นสุข
SMART & SMILE SMILE
S.. Pirit S..mile
M..anagement A..ctive
M..otivation
R..ational
I..nstructional Supervition
T..each L..eader
ขอบข่าย
ของการ
นิเทศ
ขอบข่าย
ของการ
นิเทศ
1.ขอบข่ายการนิเทศ
ภายนอก โดยผู้มีหน้าที่
2.ขอบข่ายการนิเทศภายใน
สถานศึกษา
3.ขอบข่ายการนิเทศ
ภายนอกประสานการนิเทศ
ภายในสถานศึกษา โดยผู้
มีหน้าที่ร่วมกัน
ประเภทของการ
นิเทศการศึกษา
แบ่งตามลักษณะ
งาน
1.นิเทศภายใน
2.นิเทศภายนอก
3.นิเทศทางไกล
แบ่งตามลักษณะ
กิจกรรม
1.นิเทศการสอน
แบ่งประเภทตาม
เทคนิควิธีการนิเทศ
แบ่งประเภทตาม
เทคนิควิธีการนิเทศ
1.การนิเทศแบบ
วิทยาศาสตร์(Scientific
Supervision)
2.การนิเทศแบบคลินิก(Clinical
Supervision)
3.การนิเทศแบบมนุษย
นิยม(Humanistic Supervision)
กระบวนการ
นิเทศขั้นที่ 1 Planning
Processes (P)
ขั้นที่ 1 Planning
Processes (P)
ขั้นที่ 4 Controlling
Processes (C)
ขั้นที่ 4 Controlling
Processes (C)
ขั้นที่ 3 Leading
Processes (L)
ขั้นที่ 3 Leading
Processes (L)
ขั้นที่ 5 Assessing
Processes (A)
ขั้นที่ 5 Assessing
Processes (A)
ขั้นที่ 2 Organizing
Processes (O)
ขั้นที่ 2 Organizing
Processes (O)
ลักษณะการนิเทศ
ลักษณะการ
นิเทศ
ลักษณะการ
นิเทศ
3
ลักษ
ณะ
แบบ
เผด็จกา
ร
แบบ
ประชาธิปไ
ตย
แบบปล่อย
ปละละเลย
ผู้นำาการ
เปลี่ยนแปลงเป็น
เช่นไร
ในคืนแรมไร้ดาว
ทุกราวฟ้า
แม้นเรายืนหยัด
กล้าถือทวนร่าย
เราจักจุด
แสงทองส่องประกาย
บรรณาการทาง
ทุกสายให้ประชา
ให้สว่าง
กระจ่างแจ้งทุกแห่งหน
ด้วยคง
มั่นคงทนเยี่ยงหินผา
ใช่ฝุ่นผง
ปลิวไหวไร้ราคา
ในคืนแรมไร้ดาว
ทุกราวฟ้า
แม้นเรายืนหยัด
กล้าถือทวนร่าย
เราจักจุด
แสงทองส่องประกาย
บรรณาการทาง
ทุกสายให้ประชา
ให้สว่าง
กระจ่างแจ้งทุกแห่งหน
ด้วยคง
มั่นคงทนเยี่ยงหินผา
ใช่ฝุ่นผง
ปลิวไหวไร้ราคา
ผู้
THE  END

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
wiraja
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
issareening
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Nampeung Kero
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
Rainbow Tiwa
 

La actualidad más candente (20)

วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 

Similar a นิเทศการศึกษา

ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 

Similar a นิเทศการศึกษา (20)

สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
วิทยากรปัจฉิมนิเทศ
วิทยากรปัจฉิมนิเทศวิทยากรปัจฉิมนิเทศ
วิทยากรปัจฉิมนิเทศ
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไป
 
080จิตภาวนา
080จิตภาวนา080จิตภาวนา
080จิตภาวนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 

Más de tanongsak

ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
tanongsak
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
tanongsak
 

Más de tanongsak (13)

ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
คู่มือการใช้ Wordpress
คู่มือการใช้ Wordpressคู่มือการใช้ Wordpress
คู่มือการใช้ Wordpress
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษา
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
Chi square
Chi squareChi square
Chi square
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Mediafilesharing
MediafilesharingMediafilesharing
Mediafilesharing
 

นิเทศการศึกษา