SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 127
Descargar para leer sin conexión
2. โครงสร้ างและหน้ าทีของลําต้ น
                       ่
จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือให้ นักเรียนสามารถ
                              ่
1. สื บค้ นข้ อมูล ทดลอง อธิบาย และอภิปรายเกียวกับ
                                             ่
   โครงสร้างและหน้าทของลาต้น
                        ี่   ํ
2. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเกยวกบโครงสร้างภายใน
                                  ี่ ั
   ของลาต้นํ
ลาต้น(stem)
                   ํ
เป็ นอวัยวะของพืชทีเ่ จริญมาจากส่ วนทีเ่ รียกว่ า
Hypocotyl ของเมล็ด อยู่ถดขึนมาจากราก ซึ่งส่ วนใหญ่
                              ั ้
เจริญขึนมาเหนือดิน ตรงข้ ามกับแรงดึงดูดของโลก
        ้
(negative geotropism) แต่ กมลาต้ นบางชนิดที่
                                        ็ ีํ
เจริญอยู่ใต้ดน
             ิ
ลาต้นมีลักษณะท่ ี
   ํ
แตกต่ างจากราก
คือ มีข้อ ปล้ อง ตา
ซึ่งเป็ นที่เกิดของกิ่ง
ใบ ดอก และผล
ลําต้ น ประกอบด้ วยส่ วนสํ าคัญ 2 ส่ วนคือ
-ข้ อ (Node) ส่วนใหญ่มกมตา (Bud) ซึ่งจะเจริญไป
                            ั ี
เป็ น กิง ก้ าน ใบ หรือดอก โดยอาจเป็ นตายอด
        ่
(terminal bud) หรือตาข้าง(axillary bud)
-ปล้ อง (Internode) ซึ่งอย่ ูระหว่างข้อ โดยในพชใบ         ื
เลียงเดียว จะเห็นข้ อและปล้ องชัดเจน เช่ น หญ้ า อ้ อย
    ้ ่
มะพร้ าว ไผ่ เป็ นต้ น
พืชใบเลียงคู่ทเี่ ป็ นไม้ ล้มลุก จะเห็นข้ อและปล้ องได้ ชัดเจน
          ้
เช่ น ต้ นฟักทอง และผักบุ้ง รวมทั้งในขณะทีเ่ ป็ นต้ นอ่ อน
หรือกิงอ่ อน แต่ เมือเจริญเติบโตเต็มที่ จะมีการสร้ าง
       ่              ่
Cork มาหุ้ม ทําให้ เห็นข้ อ และปล้ องไม่ ชัดเจน
ข้ อ และ ปล้ องของลําต้ น
หน้าทของลาต้น
                        ่ี  ํ
1. เป็ นแกนสําหรับพยุง (Support) กิงก้ าน ใบ ดอก และ
                                   ่
ผล ให้อย่ ูเหนือระดบผวดน และยงให้ได้รับแสงแดดมาก
                    ั ิ ิ      ั
ทสุด เนื่องจากแสงแดดจําเป็นสําหรับกระบวนการสร้ าง
  ี่
อาหารของพืช จึงต้ องมีกระบวนการที่จะคลีใบ ให้ ได้ รับ
                                           ่
แสงแดดได้อย่างทัวถึง
                  ่
หน้าทของลาต้น(ต่ อ)
                      ่ี  ํ
2. เป็ นตัวกลางในการลําเลียง (Transport) นํา แร่ธาตุ
                                              ้
และอาหารส่ งผ่ านไปสู่ ส่วนต่ าง ๆ ของพืช
คอ เมื่อลําต้ นได้ รับนํา และแร่ธาตุ ทีส่งมาจากรากแล้ ว
      ื                 ้              ่
ลาต้ นจะลําเลียงส่ งไปยังใบ และส่ วนอืน ๆ เมื่อใบ
    ํ                                    ่
สั งเคราะห์ อาหาร โดยกระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
กจะส่ งผ่ านไปยังส่ วนต่ าง ๆ ของพืช เช่ นเดียวกัน
  ็
นอกจากนีลาต้นของพชอกหลายชนิด ยงทาหน้าทพเิ ศษ
             ้ํ           ื ี           ั ํ         ี่
ต่ างๆ อีก เช่ น
• ลําต้ นสะสมอาหาร เป็ นลําต้ นทีทําหน้ าทีเ่ ป็ นแหล่ งเก็บ
                                  ่
    สะสมอาหาร จะมลาต้นอย่ ูใต้ดน เช่น ขง ข่า ขมน เผอก
                       ีํ       ิ          ิ           ิ้ ื
    มันฝรั่ง เป็ นต้ น
• ลําต้ นสั งเคราะห์ แสง พืชบางชนิดมีลาต้ นเป็ นสี เขียว ไว้
                                      ํ
    สําหรับสร้างอาหาร โดยวธีการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น
                              ิ
    กระบองเพชร พญาไร้ ใบ ผักบุ้ง เป็ นต้ น
• ลาต้นขยายพนธ์ ุ เช่น โหระพา พลูด่าง โกสน คุณนายตน
   ํ           ั                                  ื่
  สาย ลีลาวดี เป็ นต้ น

• ลําต้ นเปลียนไปเป็ นมือพัน เพือช่ วยพยุงคําจุนลําต้ น เช่ น
             ่                  ่           ้
  บวบ ตําลึง นําเต้ า เป็ นต้ น
               ้
โครงสร้างของลาต้นจากปลายยอด
                     ํ

1. เนือเยือเจริญส่ วนปลายยอด (apical shoot
      ้ ่
meristem) อยู่บริเวณปลายสุ ดของลําต้ น เนือเยือ
                                              ้ ่
บริเวณนีมีกลุ่มเซลล์ ทพฒนาไปเป็ นลําต้ น ใบ และ ตาตาม
          ้             ี่ ั
ซอกหรือตาข้าง (axillary bud) โดยปกติ ตาตาม
ซอกจะเจริญไปเป็ นกิง  ่
เนือเยือบริเวณปลายยอด
                 ้ ่                      leaf
 Young leaf                           primordium




                                                    Apical
                                                   meristem



Young stem
                                                       14
2. ใบเริ่มเกิด (leaf primordium) อย่ ูตรงด้านข้าง
ของปลายยอด ส่ วนทีเ่ ป็ นขอบของความโค้ งของเนือเยือ
                                               ้ ่
เจริญปลายยอด ใบเริ่มเกิดนีจะเจริญพัฒนาไปเป็ นใบอ่ อน
                           ้
บริเวณตรงกลางของโคนใบเริ่มเกิดจะเห็นเซลล์ ทจะเจริญไป
                                            ี่
เป็นเนือเยอท่อลาเลยงแยกจากลาต้นส่ ู ใบ
       ้ ื่       ํ ี        ํ
(ใบเริ่ มเกิด)




ใบอ่ อน
3. ใบอ่ อน(young leaf) เป็ นใบทียงเจริญเติบโตไม่
                                       ่ั
เต็มที่ เซลล์ ของใบยังมีการเจริญเติบโต และเปลียนสภาพ
                                              ่
ต่ อไปอีก เพือเพิมความหนา และขนาดของใบ ระยะนีใบ
              ่ ่                                  ้
อ่ อนจะยังไม่ แผ่ กางออกเต็มที่ ตรงซอกใบอ่ อนจะเห็นตา
ตามซอกเริ่มเกิด (axillary bud primodium)
ซึ่งต่ อไปจะพัฒนาเป็ นตาตามซอก เมือใบทีรองรับอยู่น้ันได้
                                     ่    ่
เจริญเต็มที่
4. ลําต้ นอ่ อน (Young stem) อย่ ูถัดจากตาแหน่งใบ    ํ
เริ่มเกิดลงมา(leaf primodium) ประกอบด้ วย
เนือเยือทีเ่ ซลล์ ยงมีการแบ่ งเซลล์ และพัฒนาจนเป็ นเนือเยือ
     ้ ่           ั                                        ้ ่
ทีเ่ จริญเต็มที่ ลําต้ นส่ วนใต้ ใบเริ่มเกิด เซลล์ บางบริเวณยัง
เจริญไม่ เต็มที่ ได้ แก่ เอพเิ ดอร์มส เมือเป็ นลําต้ นระยะที่
                                     ิ      ่
เจริญเต็มที่ เนือเยือบริเวณต่ างๆ จะทําหน้ าทีเ่ ฉพาะได้ อย่ าง
                 ้ ่
สมบูรณ์ ซึ่งจัดเป็ นการเจริญเติบโตปฐมภูมิ (primary
      growth)
การเจริ ญของปลายยอดพืช แบ่งเป็ น 3 บริ เวณ
1. เนือเยือเจริญส่ วนปลายยอด (apical shoot
      ้ ่
meristem) อยู่บริเวณปลายสุ ดของลําต้ น เนือเยือ
                                              ้ ่
บริเวณนีมีกลุ่มเซลล์ ทพฒนาไปเป็ นลําต้ น ใบ และ ตาตาม
          ้           ี่ ั
ซอกหรือตาข้าง (axillary bud)
2. บริเวณทีเ่ ซลล์ มการยืดตัว(elongation zone)
                      ี
เป็ นบริเวณทีอยู่ใต้ เนือเยือเจริญบริเวณปลายยอดลงมา เป็ น
             ่          ้ ่
บริเวณทเี่ ซลล์มการขยายยดออกตามยาว จะมการ
                 ี            ื              ี
เปลียนแปลงไปจากเดิม เป็ น protoderm ,
     ่
 procambium, ground meristem เนือเย่อ              ้ ื
ทั้งหมดเรียกรวมกันว่ า primary meristem
การเจริญของปลายยอดพืช




      บริเวณทีเ่ ซลล์ มการยืดตัว
                       ี
                           Differentiation
                           zone and
                           maturation
3. maturation and differentiation
    zone
 เป็ นบริเวณที่เซลล์ มีการเจริญเติบโตเต็มที่ และ
เปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง เพื่อไปทําหน้ าที่เฉพาะ คือ เจริญ
เป็ นเนือเยื่อถาวร
        ้
(permanent meristem) มี 2 ระยะ คือ
- การเจริญระยะที่ 1 (primary growth) มการเจริญเป็น
                                      ี
  เนือเยอถาวร ดงนี้
     ้ ่ื      ั
  protoderm                  epidermis
  procambium                   xylem, phloem
  cambium
  ground meristem                cortex , pith
- การเจริญระยะที่ 2 (secondary growth)
  cambium               xylem, phloem
  (annual ring = วงปี )
การเจริญเติบโตขั้นทีสองของลําต้ นพืชใบเลียงคู่
                          ่                    ้
              (secondary growth)
เป็ นการเจริญเติบโตที่ต่อเนื่องจากการเติบโตระยะที่ 1 ซ่ึง
เกียวข้ องกับการสร้ างเนือเยือลําเลียงของพืช เพิมมากขึน
    ่                    ้ ่                     ่    ้
 เพือขยายขนาดทางด้ านข้ างของลําต้ น ทําให้ พชมีขนาด
      ่                                        ื
ใหญ่ขน และอายุยนยาวขน
        ึ้        ื       ึ้
การเจริญเติบโตในระยะที่ 2 เร่ ิมจากแคมเบยม ท่ อย่ ูระหว่าง
                                             ี   ี
โฟลเอ็ม และไซเลมระยะแรก มีการแบ่งเซลล์ ถ้าแคมเบียม
                  ็
แบ่ งตัวไปทางด้ านในของลําต้ น ก็จะเกิดเป็ นไซเลมระยะท่ ี 2
ถ้าแคมเบยม แบ่ งเซลล์ เจริญเติบโตไปทางด้ านนอกของลําต้ น
          ี
ก็จะเกิดเป็ นโฟลเอ็มระยะท่ ี 2 โดยอัตราการเปลี่ยนสภาพของ
เซลล์ใน ไซเลมระยะท่ ี 2 จะเกดได้เร็วกว่า โฟลเอ็มระยะท่ ี 2
                               ิ
จงทาให้ ไซเลมระยะท่ ี 2 มีปริมาณมากกว่า
  ึ ํ
เมื่อพืชเจริญเติบโตครบ 1 ปี กลุ่มเนือเยื่อท่ อลําเลียง
                                     ้
(vascular cambium) ของพืช จะมีการแบ่ งเซลล์
เพิ่มขึนจํานวนมากน้ อย ต่ างกันในแต่ ละฤดู ขึนอยู่กับ
       ้                                      ้
ปริมาณนําและธาตุอาหาร เซลล์ ชันไซเล็มที่สร้ างขึน
            ้                     ้                 ้
ในฤดูฝน จะมีขนาดใหญ่ กว้ าง และมีสีจางมากกว่ าใน
ฤดูแล้ ง
ลักษณะเนือไม้ ท่ มีสีจาง และเข้ มสลับกัน เกิดเป็ นวง
              ้   ี
เรี ยกว่ า วงปี (annual ring)
วงปี (annual ring) คอ secondary xylem
                            ื
ทเี่ กดจากการแบ่งตวของแคมเบียม พบเฉพาะในพืชใบเลียง
       ิ             ั                                  ้
คู่เท่ านั้น โดยในแต่ ละปี 1 วงปี ประกอบด้ วย เนือไม้ 2
                                                 ้
ชนิด คอ    ื
• Spring wood เซลล์ มขนาดใหญ่ ผนังบาง สี จาง
                              ี
แถบกว้ าง เกิดในฤดูนํามาก (ฤดูฝน) การแบ่งเซลล์เกดขนได้
                        ้                          ิ ึ้
มาก
• Summer wood เซลล์ มีขนาดเล็ก ผนังหนา สี
  เข้ ม แถบแคบ เกิดในฤดูแล้ ง มีนําน้ อย การแบ่ ง
                                  ้
  เซลล์ เกิดขึนได้ น้อย
              ้
การเจริญระยะทุตยภูมิ (Secondary growth)
                      ิ
          ของลาต้น แสดงวงปี (Annual ring)
               ํ




                                                 Annual ring
       12                                        (2° xylem)
            3
Pith



                                                           33
• ไซเล็มที่มีอายุมากจะมีสีเข้ ม เนื่องจากมีการสะสม
ของสารอาหารมาก ทําให้ อุดตันไม่ สามารถลําเลียงนํา     ้
ต่อไปได้อีก เรียกบริเวณนีว่า แก่นไม้ (heart
                          ้
wood) ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่ าส่ วนอื่น แก่ นไม้ นี ้
จะเพิ่มขึนเรื่ อยๆ
         ้
• ไซเล็มที่มีสีจางกว่ าจะอยู่รอบนอก เรี ยกว่ า กระพีไม้
                                                    ้
  (sap wood) ซึ่งมีความหนาค่ อนข้ างคงที่
การเจริญระยะทุตยภูมิ (Secondary growth) ของ
               ิ
                  ลาต้น
                     ํ




                                              36
• ทังกระพีไม้ และ แก่ นไม้ รวมเรี ยกว่ า เนือไม้ (wood)
      ้      ้                               ้
ซ่ งเป็นไซเล็มทงหมด หรือตังแต่ไซเล็มขันท่ ี 2 เข้ าไปข้ าง
   ึ              ั้            ้          ้
ใน
สําหรั บส่ วนที่อยู่ถัดจาก vascular cambium ออกมา
ข้ างนอก เรี ยกว่ า เปลือกไม้ (bark) พบในลําต้ นที่มี
อายุมาก โดยเอพิเดอร์ มสหลุดสลายไปนานแล้ ว เหลือ
                            ิ
แต่คอร์ ก ซึ่งเป็ นเนือเยื่อที่ประกอบด้ วยเซลล์ คอร์ก ที่
                       ้
มีซูเบอริน เป็ นส่ วนประกอบสําคัญของผนังเซลล์ และ
คอร์ กแคมเบียม
• จํานวนวงปีของพช สามารถนํามาใช้คาดคะเนอายุของพช
                        ื                                    ื
  ได้ ถ้ าจะให้ ใกล้ เคียงต้ องนับวงปี ทีโคนต้ น เพราะจํานวน
                                         ่
  ของวงปีจะลดลงทางปลายยอด
• พืชใบเลียงคู่เท่ านั้นทีมวงปี พืชใบเลียงเดียวจะไม่ มวงปี
            ้              ่ ี             ้ ่           ี
  แม้จะสามารถขยายขนาดทางด้านข้างได้
เปลือกไม้


แก่นไม้




   กระพี้ไม้
แก่นไม้ (heart wood) คือ ไซเล็มด้านท่ีอยในสุดของลา
                                                   ู่        ํ
ต้นที่มีอายุมากแล้วอุดตัน
         กระพีไม้ (sapwood) คือ ไซเล็มที่อยรอบนอกซ่ ึ งมีสีจาง
               ้                              ู่
   ่
กวาชั้นใน ทําหนาท่ีลาเลียงน้ า
                   ้ ํ       ํ
         เนือไม้ (wood) คือ เน้ือเยอไซเลมทั้งหมด (กระพีไม้ +
            ้                      ่ื                  ้
แก่นไม้)
เปลอกไม้ (bark) คือ ส่วนท่ีอยถดจากวาสคิวลาร์แคมเบียม ออกมา
   ื                               ู่ ั
ประกอบด้วย เอพเิ ดอร์มิส คอร์เทกซ์ และโฟลเอม ส่ วนลําต้นที่อายุ
                                           ็
            ่ื      ั ็
มากๆ เน้ือเยอบางช้ นกตายไป ทาใหมี คอร์ก คอร์กแคมเบียม
                                  ํ ้
โฟลเอ็มขั้นที่ 2 ทําหน้าที่ลาเลียงอาหารได้
                            ํ
เมือมีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 ในลําต้ น มักพบลักษณะ
   ่
ของรอยแผลทเี่ กดขนตามลาต้น หรือรากของพช เรียกว่า
                ิ ึ้         ํ                 ื
Lenticel (เลนทิเซล) รอยแผลเป็ นซึ่งเกิดขึนขณะที่พช
                                             ้        ื
กาลงมการสร้างคอร์ก และสามารถให้ออกซิเจนผ่านเข้าทาง
  ํ ั ี
ลําต้ นได้ รอยแผลทีเ่ กิดขึนสามารถพบได้ ตามลําต้ นหรือราก
                           ้
ของพืช
Lenticel (เลนทิเซล)

                   Lenticel         Cork




ลําต้ นปี บ
                                           45
โครงสร้ างภายในของลําต้ น
ลําต้ นถือว่ าเป็ นอวัยวะส่ วนหนึ่งของพืช เช่ นเดียวกับราก
ดังนั้นจึงมีเนือเยือชนิดต่ าง ๆ เช่ นเดียวกัน แต่ อาจแตกต่ าง
                ้ ่
กันในลักษณะการเรียงตัว อีกทั้งพืชใบเลียงเดียว และพชใบ
                                            ้ ่          ื
เลียงคู่ยงมีโครงสร้ างภายในทีแตกต่ างกัน
   ้ ั                          ่
โครงสร้ างภายในของลําต้ นตัดตามขวาง ระยะที่มีการเจริญเติบโตขันแรก
                                                             ้




                       พืชใบเลียงคู่
                               ้




                    พืชใบเลียงเดี่ยว
                            ้
โครงสร้ างภายในของลําต้ นพืชใบเลียงคู่
                                         ้
  (ลาต้นอ่อน – ตดตามขวางหรือ cross section)
    ํ            ั
1.epidermis อยู่ด้านนอกสุด ปกติมีอยู่เพียงแถว
  เดียวอาจเปลี่ยนแปลงเป็ นเซลล์ คุม (Guard
  cell) ขน หรือหนาม ด้านนอกของ เอพิเดอร์ มสิ
  จะมีควทิน เคลือบอยู่
       ิ
2. Cortex ชันคอร์ เทกซ์ ของลําต้ นแคบกว่ าของราก
                  ้
เซลล์ ในชันคอร์ เทกซ์ ส่ วนใหญ่ เป็ นเซลล์ พาเรงคิมา
            ้
เซลล์ บริ เวณด้ านนอก 2-3 แถว อยู่ตดกับ เอพิเดอร์ มส
                                      ิ              ิ
เป็ นเซลล์ คอลเลงคิมา ที่ช่วยให้ ลาต้ นมีความแข็งแรง
                                  ํ
ขึน ในระยะที่ลาต้ นยังอ่ อนอยู่ พาเรงคิมา อาจมี
  ้                 ํ
คลอโรพลาสต์ ช่ วยในการสังเคราะห์ ด้วยแสง
เรี ยกเซลล์ นีว่า คลอเรงคิมา(Chlorenchyma)
              ้
เมื่อลําต้ นเจริญเติบโตมากยิ่งขึน เซลล์ พาเรงคิมา หรือ
                                ้
คอลเลงคมา ในชันคอร์ เทกซ์ จะแปรสภาพเป็ น
            ิ      ้
 คอร์กแคมเบียม (Cork cambium) ซึ่งจะแบ่ งตัว
ตลอดเวลา ให้ คอร์ก หรื อ เฟลเลม (Phellem)
ทางด้ านนอก เซลล์ เหล่ านีมีอายุสันมากและตายเร็ว และมี
                            ้      ้
สารพวก ซูเบอริน หรือ ลิกนิน มาสะสม ทําให้ ชัน คอร์ก
                                                ้
หนาขึนแล้ วดันเอพิเดอร์ มส ให้ หลุดร่ วงไป
        ้                 ิ
****การแตกกิ่ งของลําต้ น แตกมาจากชันคอร์ เทกซ์
                                           ้
 ชันคอร์ เทกซ์ นีสินสุดที่ เอนโดเดอร์มส
   ้             ้ ้                  ิ
 ในลาต้นพชส่วนใหญ่จะเหน เอนโดเดอร์ มสได้ไม่
     ํ     ื                 ็               ิ
ชัดเจนหรื ออาจจะไม่ มี ซึ่งต่ างจากรากที่เห็นได้ อย่ าง
ชัดเจน
3. stele (สตล) ในลําต้ นจะกว้ างมาก ไม่ สามารถแบ่ งแยกออก
                ี
จากคอร์เทกซ์ ได้ชัดเจน ซ่ึงแตกต่างจากรากทแบ่งช้ัน เห็นได้
                                              ่ี
ชัดเจนกว่า
มีส่วนประกอบต่ าง ๆ ดังนี้
3.1 vascular bundle หรือมัดท่ อลําเลียง ประกอบด้ วย
เนือเยือไซเล็มอยู่ด้านใน และโฟลเอมอยู่ด้านนอก มัดท่ อลําเลียงจะ
   ้ ่                            ็
เรียงตัวอยู่ในแนวรัศมีเดียวกัน และเรียงอยู่รอบลําต้ นอย่ างมี
ระเบียบ ระหว่ างเนือเยือทั้งสองชนิดมี วาสคิวลาร์แคมเบียมคันอยู่
                     ้ ่                                      ่
ตรงกลาง
3.2 vascular ray เป็ นพาเรงคิมาที่อยู่ระหว่ าง
กลุ่มท่ อลําเลียง ที่กลุ่มท่ อลําเลียงเรี ยงตัวเป็ นวง
เชื่อมต่ อระหว่ างคอร์ เทกซ์ และพิธ

3.3 pith เป็ นเนือเยื่อชันในสุดของลําต้ น เนือเยื่อ
                  ้      ้                   ้
  ส่ วนนีคือ พาเรงคิมา ทําหน้ าที่สะสมอาหารพวก
         ้
  แปงหรือสารอ่ ืน ๆ เช่น ลิกนิน ผลึกแทนนิน
      ้
  (Tannin) เป็ นต้ น
X-section ลําต้ นหมอน้ อย (พชใบ
                            ื                        Chlorenchyma
             เลยงคู่)
                ี้                Trichome (hair)

                    Collenchyma
                     Epidermis

                      Cortex

                      Phloem                        Pith


                       Phloem         Xylem
                       fiber
                                    Parenchyma
                                                               55
โครงสร้ างภายในของลําต้ นพืชใบเลียงเดียว
                                      ้ ่

ลําต้ นพืชใบเลียงเดี่ยว ส่ วนใหญ่ มีการเจริญเติบโต
                  ้
ขันต้น (Primary growth)เท่ านัน มีเนือเยื่อชัน
   ้                                  ้     ้      ้
ต่ าง ๆ เช่ นเดียวกับลําต้ นพืชใบเลียงคู่
                                    ้
คือ มีชันเอพิเดอร์ มส คอร์ เทกซ์ และ สตีล
        ้              ิ
ต่ างกันที่มัดท่ อลําเลียง
กลุ่มของเนือเยือลําเลียงของพืชใบเลียงเดียว (vascular
           ้ ่                     ้ ่
bundle) รวมกันเป็ นกลุ่ม ๆ ซึ่งจะกระจายอยู่ทุกส่ วนของ
ลําต้ น ประกอบด้ วย
ส่ วนของ xylem, phloem จะเรียงตัวกันมองคล้ ายๆ ใบหน้ า
คน มีส่วนของ vessel อยู่บริเวณคล้ายดวงตา
ส่ วน phloem อยู่บริเวณคล้ายหน้าผาก xylem และ
phloem จะถูกล้ อมรอบด้ วยเนือเยือ parenchyma หรือ
                                 ้ ่
อาจเป็ น sclerenchyma และเรียกเซลล์ ทมาล้ อมรอบนี้
                                              ี่
ว่า bundle sheath
ภาพลําต้นพืชคู่เดี่ยว
ท่ อลําเลียงของลําต้ น
พืชใบเลียงเดียว
          ้ ่
มัดท่ อลําเลียงของพืชใบเลียงเดียว ไม่ มเี นือเยือเจริญ
                            ้ ่               ้ ่
   ด้านข้างหรือ แคมเบียม จึงมักจะเจริญทางด้ านสู ง
    มากกว่า เพราะมเี นือเยอเจริญเหนือข้อ และปล้อง
                       ้ ื่
    ทาให้ยดยาวได้ดกว่า
      ํ ื            ี
พืชบางชนิดเนือเยือตรงกลางจะสลายไปเป็ นช่ องกลวง
                 ้ ่
 ภายในของลําต้ น เรียกว่ า ช่ องพิธ (Pith cavity)
เช่ น ในลําต้ นของต้ นไผ่ หญ้ า เป็ นต้ น แต่ บริเวณข้ อ
ยงคงมพธ (pith) อย่ ู
 ั ี ิ
พืชใบเลียงเดียวบางชนิด เช่ น จันทน์ ผา หมากผู้หมากเมีย
         ้ ่
พืชตระกูลปาล์ ม เป็ นต้ น จะมีแคมเบียม เป็ นเนือเยือเจริญ
                                                 ้ ่
คล้ ายลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ทําให้ เจริญเติบโตทางด้ านข้ างได้
                     ้
และสามารถสร้าง คอร์ กได้ เมือมีอายุมากขึน
                                  ่           ้
ลําต้ นพืชใบเลียงเดียว
               ้ ่




                         61
ลําต้ นพืชใบเลียงเดี่ยว
                 ้
1.วาสควลาร์ บันเดิล
            ิ                 3. ชัน คอร์เทกซ์บางๆ
                                    ้
กระจัดกระจายทั่วลําต้ น       ไม่ มีการรวมตัวเป็ น
2. ส่ วนใหญ่ ไม่ มีแคมเบียม   เปลือกไม้
ระหว่ างโฟลเอ็มและไซเลม       4. ส่วนใหญ่ไม่มีการ
                              สร้ างไม้ เนือแข็ง และ
                                           ้
จงไม่เพ่ มขนาดทาง
  ึ       ิ                   กลางลําต้ น อาจกลวง
ด้ านข้ างมีแต่ การเพิ่ม
ความสูง
• ลําต้ นพืชใบเลียงคู่
                    ้
1. วาสควลาร์ บันเดิล เรี ยง
          ิ                    โฟลเอ็มท่ มีอายุ
                                          ี
   เป็ นระเบียบในแนวรั ศมี     กลายเป็ นเปลือกไม้
2. มีแคมเบียมระหว่ าง          4. เมื่อพืชอายุมากขึน้
   โฟลเอ็ม และไซเลม จงมี   ึ   ไซเลมที่มีอายุมากจะถูก
   การเจริญเติบโตขันที่ 2้     ดันเข้ าไปข้ างใน
   ทําให้ ลาต้ นอ้ วนขึน
            ํ          ้       กลายเป็ นไม้ เนือแข็ง
                                                ้
3. ชันคอร์ เทกซ์รวมกับ
     ้
ชนิดของลาต้น
                            ํ
ปกติลาต้ นจะขึนตั้งตรงเหนือพืนดิน พืชหลายชนิดใช้ ลาต้ น
         ํ       ้             ้                       ํ
พันหลักหรือเลือยไปตามดิน บางชนิดลําต้ นอาจเจริญอยู่
                   ้
ใต้ ดน ดังนั้นจึงมีการแบ่ งชนิดของลําต้ น ออกเป็ น 2 พวก
     ิ
ใหญ่ ๆ คือ ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem)
และลาต้นใต้ดน (Underground stem)
       ํ       ิ
ลาต้นเหนือดน เป็ นลําต้ นทีปรากฏอยู่เหนือพืนดินทัว ๆ ไป
 ํ                 ิ             ่             ้ ่
ของต้ นไม้ ต่าง ๆ จําแนกตามลกษณะของลาต้น
                                      ั      ํ
ได้ เป็ น 3 ชนิด
            1. ต้นไม้ใหญ่(tree) หรือไม้ ยนต้ น
                                           ื
            2. ต้ นไม้ พ่ ม (shrub)
                          ุ
            3. ต้ นไม้ ล้มลุก (herb)
ทั้งทีเ่ ป็ นไม้ เนือแข็ง และไม้ เนืออ่ อน
                     ้              ้
ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem)




ไมยนตน (tree)
  ้ื ้              ้ ุ่
                  ไมพม (shrub)           ไมลมลุก (herb)
                                           ้้
ลําต้ นเหนือดินของพืชหลายชนิด อาจเปลียนแปลงรู ปร่ าง เพือทํา
                                     ่                  ่
หน้าทพเิ ศษซ่ึงต่างไปจากเดม จาแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ดงนี้
        ่ี                ิ ํ                             ั

1.ลาต้นเลือยขนานไปกับผิวดน หรือผิวนํา
    ํ     ้                 ิ            ้
  (Prostrate หรื อ Creeping stem) ส่วนใหญ่
  ของพืชพวกนีมีลาต้ นอ่ อน ตังตรงไม่ ได้ จึงต้ องเลือย
              ้ ํ             ้                     ้
  ขนานไปกับผิวดน เช่น ผักบ้ ุง หญ้า แตงโม บัวบก
                ิ
  ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็ นต้ น
บริเวณข้ อมีรากแตกเป็ นแขนงออกมา แล้ วปั กลงดิน
เพื่อยึดลําต้ นให้ ตดแน่ นกับที่ มีการแตกแขนงลําต้ น
                    ิ
ออกจากตาบริเวณที่เป็ นข้ อ ทําให้ มีลาต้ นแตกแขนง
                                         ํ
ออกไป ซึ่งเป็ นการแพร่ พนธุ์วธีหนึ่ง แขนงที่แตก
                           ั ิ
ออกมาเลือยขนานไปกับผิวดินหรื อนํานี ้ เรี ยกว่ า
           ้                           ้
 สโตลอน(Stolon) หรื อรั นเนอร์ (Runner) - ไหล
แสดงลําต้ นเลือยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวนํา
              ้                          ้
ลาต้นชนิดครีพพง สเตม
        ํ            ิ ็
ผักตบชวา
       (creeping stem
บัวบก
)
2. ลําต้ นเลือยขึนสู ง (Climbing stem หรือ
             ้ ้
Climber) พืชพวกนีมลาต้ นอ่ อนเช่ นเดียวกับพวกแรก
                          ้ ีํ
แต่ ไต่ ขนสู ง โดยขึนไปตามหลักหรือต้ นไม้ ทอยู่ตดกัน
         ึ้         ้                       ี่ ิ
- ใช้ ลาต้ นพันหลักเป็ นเกลียวขึนไป (Twining stem
       ํ                        ้
   หรือ Twiner)
   การพันอาจเวียนซ้ าย หรือเวียนขวา เช่ น ต้ นถั่วฝักยาว
   ฝอยทอง เถาวัลย์ ชนิดต่ าง ๆ ผักบุ้งฝรั่ง บอระเพ็ด
ลําต้ นพันหลักเป็ นเกลียวขึนไป (Twining stem)
                           ้
ต้ นถัวฝักยาว
      ่         บอระเพ็ด
เถาวลย์ชนิดต่างๆ
    ั
- ลาต้นเปล่ ียนเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรื อ
   ํ
  Tendril climber) โดยส่ วนที่เป็ นมือเกาะเจริญมา
จากตาข้างหรือตายอด มือเกาะจะบดเป็นเกลียวคล้ายสปริง
                                        ิ
เพ่ อให้มีการยดหย่ ุน เม่ ือลมพดผ่านมือเกาะจะยดหดได้
    ื           ื                 ั               ื
ตัวอย่ างเช่ น ต้ นบวบ นําเต้ า ฟั กทอง องุ่น แตงกวา ตําลึง
                         ้
พวงชมพู กะทกรก ลัดดา ลินมังกร เสาวรส โคกกระออม
                                ้
เป็ นต้ น (บางครัง Tendril อาจเกดจากใบท่ เปล่ ียนแปลง
                   ้                  ิ         ี
ไป จะทราบจากการสังเกต เช่น ใบถ่ ัวลันเตา บริเวณปลาย
ใบเปลี่ยนไปเป็ นมือเกาะ)
มือเกาะของต้ นองุ่น
แตงกวา
บวบ
- ใช้ รากพัน (Root climber)

เป็นลาต้นทไต่ขนสูง โดยงอกรากออกมาบริเวณข้อยดกบ
     ํ    ี่ ึ ้                           ึ ั

หลักหรือต้ นไม้ ต้นอืน ตัวอย่ างเช่ น ต้ นพลู พลูด่าง พริกไทย
                     ่

รากพชเหล่านีหากยดตดกบต้นไม้ จะไม่แทงรากเข้าไปในลา
    ื       ้ ึ ิ ั                             ํ

ต้ นของพืชทีเ่ กาะ ไม่ เหมือนพวกกาฝากหรือฝอยทองซึ่งเป็ น

พืชปรสิ ตที่แทงรากเข้ าไปในมัดท่ อลําเลียงของพืชที่เกาะ
พลู
พริกไทย
พลูด่าง
- ลําต้ นเปลี่ยนเป็ นหนาม (Stem spine หรื อ
  Stem thorn) ทําหน้ าที่ปองกันอันตราย เช่ น
                          ้
  หนามของต้ นเฟื่ องฟา หรื อตรุ ษจีน มะนาว มะกรูด
                     ้
  ส้ มชนิดต่ าง ๆ ซ่ งเกดจากตาตามซอกใบ(ตาข้ าง)
                     ึ ิ
  ติดกับลําต้ นไม่ สามารถปลิดออกได้
หนามมะกรูด   เฟื่   องฟ้ า
ส่วนต้นกระดังงา และการะเวก มีขอเกี่ยว(Hook) ที่
เปลี่ยนแปลงมาจากลําต้ น แล้ วยังมีดอกออกมาจาก
ขอเกี่ยวได้ ด้วย บางทีเรี ยกลําต้ นชนิดนีว่า สแครม
                                         ้
เบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ ในการไต่ ขนที่สูงึ้
   ส่วนหนามกุหลาบเกดจากผิวนอก(prickle)
                       ิ
ของลําต้ นงอกออกมาเป็ นหนาม ซึ่งสามารถปลิด
ออกมาได้
การะเวก
          กระดังงา
3. ลําต้ นทีเ่ ปลียนแปลงไปมีลกษณะคล้ ายใบ
                       ่          ั

• ฟี ลโลเคลด (phylloclade) เป็นลาต้นท่ มี
                                ํ      ี

ลักษณะแบน จนกระทั่งคล้ ายกับลักษณะของใบ

ในพชท่ ว ๆ ไป ลําต้ นแบบนีปกติ จะทําหน้ าที่ของใบ
   ื ั                    ้

ด้ วย คือ สังเคราะห์ แสง ดังนันพืชที่มีลาต้ นแบบนีจง
                              ้         ํ         ้ึ

ไม่ มีใบหรื อมีกเล็กมาก เช่ น กระบองเพชร พญาไร้ ใบ
                ็
กระบองเพชร
พญาไร้ใบ
• แคลโดฟี ลล์ (cladophyll) หรื อ แคลโดด
 (cladode) เป็นลาต้นท่ เปล่ ียนไปมีลักษณะคล้าย
                ํ      ี
 ใบเช่ นเดียวกันกับฟี ลโลเคลด แต่ มักใช้ กับกิ่งก้ านที่
 เป็ นเส้ นเรี ยวเล็ก ทําหน้ าที่แทนใบโดยมีสีเขียว
 สามารถสังเคราะห์ แสงได้ เช่ น หน่ อไม้ ฝรั่ ง สน
 ประดิพทธ์ โปร่ งฟา
       ั          ้
หน่ อไม้ ฝรั่ง(asparagus)
สนประดิพทธ์
        ั
              โปร่งฟา
                    ้
ลาต้นใต้ดน (underground stem)
      ํ       ิ
ลาต้นใต้ดนบางชนิดมกมผ้ ูเข้าใจผดว่าเป็นราก ท้งนีเ้ พราะ
 ํ       ิ        ั ี          ิ             ั
  ลาต้นเหล่านี้ ไม่มคลอโรฟีลล์ มีรากเลก ๆ งอกออกมา
   ํ                ี                 ็

  ซึ่งคล้ายกบรากแขนงที่แตกออกมาจากราก
            ั

  ลกษณะของลาต้นใต้ดนทแตกต่างจากราก คอมข้อ และ
   ั       ํ       ิ ี่             ื ี
  ปล้ องเห็นได้ ชัดเจนบางครั้งมีตาอยู่ด้วย
ต้นไม้ท่ ีมีลาต้นใต้ดนมักมีอายุยืน ในแต่ละปีจะส่ง
             ํ       ิ
หน่ อที่เป็ นส่ วนของลําต้ นหรื อกิ่งขึนมาเหนือพืนผิว
                                       ้         ้
ดิน เพื่อออกดอกและให้ ผล แล้ วส่ วนนีกตายไป
                                     ้็
เหลือแต่ ลาต้ นใต้ ดนเอาไว้ ลําต้ นใต้ ดนมีรูปร่ าง
          ํ         ิ                   ิ
แตกต่ างไปจากลําต้ นเหนือดิน ส่ วนใหญ่ ทาหน้ าที่
                                        ํ
สะสมอาหาร
ลําต้ นใต้ ดน สามารถจําแนกได้ 4 ชนิด
                  ิ
1. แง่ ง หรือเหง้ า หรือ ไรโซม (Rhizome) มกอย่ ู ั
ขนานกับผิวดิน มีข้อและปล้ องเห็นได้ ชัดเจน ตามข้อมใบ    ี
ทีเ่ ปลียนแปลงมาเป็ นสี นําตาล ใบนีไม่ มคลอโรฟิ ลล์
        ่                  ้         ้ ี
มกเรียกว่าใบเกลด ห่อห้ ุมตาเอาไว้ภายใน ตาเหล่านีอาจ
     ั             ็                                 ้
แตกแขนงเป็ นลําต้ นที่อยู่ใต้ ดนหรือ แตกเป็ นใบ เป็ นมัด
                                ิ
ขนมาเหนือดน ลาต้นชนิดนีถ้ามการสะสมอาหารไว้มาก
  ึ้           ิ ํ             ้ ี
ก็จะอวบอ้ วนขึน เช่ น ขมิน ขิง ข่ า พุทธรักษา หญ้ าคา
                ้            ้
หญ้าแพรก ต้นกล้วย
ลําต้ นใต้ ดนชนิด แง่ งหรือเหง้ า (Rhizome)
            ิ
ขมน
  ิ้   ลาต้นเป็นแง่ง หรือเหง้า หรือ ไรโซม
        ํ
       (Rhizome)

                                 ใบเกล็ด
ข่า




      ข้อ
2. ทเบอร์ (tuber) เป็นลาต้นใต้ดนสัน ๆ
      ู                     ํ        ิ ้
ประกอบด้ วย ข้ อและปล้ องประมาณ 3-4 ปล้ องเท่ านัน
                                                 ้
ไม่ มีใบเกล็ด
ลําต้ นมีอาหารสะสมทําให้ อวบอ้ วน มีตาอยู่โดยรอบซึ่ง
มักจะบุ๋มลงไป สามารถงอกต้ นใหม่ ชูขึนเหนือดินใน
                                       ้
บริเวณตานัน ได้แก่ มันฝร่ ั ง มันมือเสือ มันกลอย
             ้
ตา   มันฝรั่ง
มันมือเสื อ   มันกลอย
3. หวกลีบ หรือ บัลบ์ (bulb) เป็ นลําต้ นใต้ ดนที่ตัง
    ั                                        ิ ้
  ตรง อาจโผล่ พ้นดินขึนมาบ้ าง มีปล้ องสันมาก ตาม
                      ้                  ้
  ปล้ องมีใบเกล็ดซ้ อนกันหลายชันห่ อหุ้มลําต้ นเอาไว้
                               ้
  เห็นเป็ นหัวขึนมา ใบเกล็ดนีจะทําหน้ าที่สะสม
                ้            ้
  อาหาร ในขณะที่ลาต้ นไม่ มีอาหารสะสมอยู่
                 ํ
ยกตัวอย่ าง เช่ น เมื่อนําหัวหอมมาผ่ าตามยาว จะพบ
ใบเกล็ดเป็นชัน ๆ ชันนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆ
               ้       ้
เนื่องจากไม่ มีอาหารสะสม ชันถัดเข้ าไปมีอาหารสะสม
                              ้
จึงมีความหนากว่ าแผ่ นนอก
   ชันในสุดของลําต้ นเป็ นส่ วนยอด ถ้ าเอาหัวชนิดนีไป
     ้                                             ้
ปลูกส่ วนยอดจะงอกออกมาเป็ นใบสีเขียว ส่ วนล่ าง
ของลําต้ นมีรากเป็ นกระจุก เช่ น หอม กระเทียม
พลับพลึง ว่านส่ ีทศิ
ลําต้ นใต้ ดน ชนิดหัวกลีบหรือบลบ์ (Bulb)
            ิ                   ั
              แสดงใบเกลดเป็นช้ัน ๆ
                       ็
หอมแดง
กระเทียม
4. คอร์ ม (corm) เป็นลาต้นใต้ดนท่ ตังตรง
                          ํ        ิ ี ้
เช่ นเดียวกับบัลบ์ ลักษณะที่แตกต่ างกันคือเก็บอาหาร
ไว้ ในลําต้ นแทนที่จะเก็บไว้ ในใบเกล็ด ลาต้นจงมี
                                           ํ     ึ
ลักษณะอวบใหญ่ มีตาตามข้ อสามารถงอกเป็ นใบโผล่
ขนเหนือดน หรืออาจแตกเป็นลาต้นใต้ดนต่อไปได้
 ึ้          ิ                   ํ           ิ
ทางด้ านล่ างของลําต้ นมีรากฝอยเส้ นเล็กๆ จํานวน
มาก ตัวอย่ างเช่ น เผือก ซ่ อนกลิ่นฝรั่ ง (แกลดิโอลัส)
และ แห้ว เป็นต้น
ลําต้ นใต้ ดน ชนิดคอร์ ม (Corm)
            ิ
หวแกลดิโอลัส
 ั
เผอก
  ื
แห้ว
*****คอร์มต่างกบบัลบ์ ตรงที่ว่าบัลบ์ มีกลีบหว แต่คอร์มเป็ น
               ั                            ั
  โครงสร้ างลําต้ นที่มีเนือแน่ น มีข้อและปล้ องเห็นชัดเจน
                           ้
ความแตกต่างของราก และลาตน
                      ํ ้
สะสมอาหาร
จดทาโดย
          ั ํ
   นางสาวแอนนา ปัญโญ
      ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
       ํ
โรงเรียนนารีรัตน์จงหวดแพร่
                  ั ั


     Thank you

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdfNoeyWipa
 
ผล.pptx
ผล.pptxผล.pptx
ผล.pptxBewwyKh1
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's PlantBus Blue Lotus
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
 
ผล.pptx
ผล.pptxผล.pptx
ผล.pptx
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 

Similar a Stemแก้net

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 

Similar a Stemแก้net (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 

Más de Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 

Más de Anana Anana (13)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 

Stemแก้net

  • 1. 2. โครงสร้ างและหน้ าทีของลําต้ น ่
  • 2. จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือให้ นักเรียนสามารถ ่ 1. สื บค้ นข้ อมูล ทดลอง อธิบาย และอภิปรายเกียวกับ ่ โครงสร้างและหน้าทของลาต้น ี่ ํ 2. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเกยวกบโครงสร้างภายใน ี่ ั ของลาต้นํ
  • 3. ลาต้น(stem) ํ เป็ นอวัยวะของพืชทีเ่ จริญมาจากส่ วนทีเ่ รียกว่ า Hypocotyl ของเมล็ด อยู่ถดขึนมาจากราก ซึ่งส่ วนใหญ่ ั ้ เจริญขึนมาเหนือดิน ตรงข้ ามกับแรงดึงดูดของโลก ้ (negative geotropism) แต่ กมลาต้ นบางชนิดที่ ็ ีํ เจริญอยู่ใต้ดน ิ
  • 4. ลาต้นมีลักษณะท่ ี ํ แตกต่ างจากราก คือ มีข้อ ปล้ อง ตา ซึ่งเป็ นที่เกิดของกิ่ง ใบ ดอก และผล
  • 5. ลําต้ น ประกอบด้ วยส่ วนสํ าคัญ 2 ส่ วนคือ -ข้ อ (Node) ส่วนใหญ่มกมตา (Bud) ซึ่งจะเจริญไป ั ี เป็ น กิง ก้ าน ใบ หรือดอก โดยอาจเป็ นตายอด ่ (terminal bud) หรือตาข้าง(axillary bud)
  • 6. -ปล้ อง (Internode) ซึ่งอย่ ูระหว่างข้อ โดยในพชใบ ื เลียงเดียว จะเห็นข้ อและปล้ องชัดเจน เช่ น หญ้ า อ้ อย ้ ่ มะพร้ าว ไผ่ เป็ นต้ น พืชใบเลียงคู่ทเี่ ป็ นไม้ ล้มลุก จะเห็นข้ อและปล้ องได้ ชัดเจน ้ เช่ น ต้ นฟักทอง และผักบุ้ง รวมทั้งในขณะทีเ่ ป็ นต้ นอ่ อน หรือกิงอ่ อน แต่ เมือเจริญเติบโตเต็มที่ จะมีการสร้ าง ่ ่ Cork มาหุ้ม ทําให้ เห็นข้ อ และปล้ องไม่ ชัดเจน
  • 7.
  • 8. ข้ อ และ ปล้ องของลําต้ น
  • 9. หน้าทของลาต้น ่ี ํ 1. เป็ นแกนสําหรับพยุง (Support) กิงก้ าน ใบ ดอก และ ่ ผล ให้อย่ ูเหนือระดบผวดน และยงให้ได้รับแสงแดดมาก ั ิ ิ ั ทสุด เนื่องจากแสงแดดจําเป็นสําหรับกระบวนการสร้ าง ี่ อาหารของพืช จึงต้ องมีกระบวนการที่จะคลีใบ ให้ ได้ รับ ่ แสงแดดได้อย่างทัวถึง ่
  • 10. หน้าทของลาต้น(ต่ อ) ่ี ํ 2. เป็ นตัวกลางในการลําเลียง (Transport) นํา แร่ธาตุ ้ และอาหารส่ งผ่ านไปสู่ ส่วนต่ าง ๆ ของพืช คอ เมื่อลําต้ นได้ รับนํา และแร่ธาตุ ทีส่งมาจากรากแล้ ว ื ้ ่ ลาต้ นจะลําเลียงส่ งไปยังใบ และส่ วนอืน ๆ เมื่อใบ ํ ่ สั งเคราะห์ อาหาร โดยกระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง กจะส่ งผ่ านไปยังส่ วนต่ าง ๆ ของพืช เช่ นเดียวกัน ็
  • 11. นอกจากนีลาต้นของพชอกหลายชนิด ยงทาหน้าทพเิ ศษ ้ํ ื ี ั ํ ี่ ต่ างๆ อีก เช่ น • ลําต้ นสะสมอาหาร เป็ นลําต้ นทีทําหน้ าทีเ่ ป็ นแหล่ งเก็บ ่ สะสมอาหาร จะมลาต้นอย่ ูใต้ดน เช่น ขง ข่า ขมน เผอก ีํ ิ ิ ิ้ ื มันฝรั่ง เป็ นต้ น • ลําต้ นสั งเคราะห์ แสง พืชบางชนิดมีลาต้ นเป็ นสี เขียว ไว้ ํ สําหรับสร้างอาหาร โดยวธีการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น ิ กระบองเพชร พญาไร้ ใบ ผักบุ้ง เป็ นต้ น
  • 12. • ลาต้นขยายพนธ์ ุ เช่น โหระพา พลูด่าง โกสน คุณนายตน ํ ั ื่ สาย ลีลาวดี เป็ นต้ น • ลําต้ นเปลียนไปเป็ นมือพัน เพือช่ วยพยุงคําจุนลําต้ น เช่ น ่ ่ ้ บวบ ตําลึง นําเต้ า เป็ นต้ น ้
  • 13. โครงสร้างของลาต้นจากปลายยอด ํ 1. เนือเยือเจริญส่ วนปลายยอด (apical shoot ้ ่ meristem) อยู่บริเวณปลายสุ ดของลําต้ น เนือเยือ ้ ่ บริเวณนีมีกลุ่มเซลล์ ทพฒนาไปเป็ นลําต้ น ใบ และ ตาตาม ้ ี่ ั ซอกหรือตาข้าง (axillary bud) โดยปกติ ตาตาม ซอกจะเจริญไปเป็ นกิง ่
  • 14. เนือเยือบริเวณปลายยอด ้ ่ leaf Young leaf primordium Apical meristem Young stem 14
  • 15. 2. ใบเริ่มเกิด (leaf primordium) อย่ ูตรงด้านข้าง ของปลายยอด ส่ วนทีเ่ ป็ นขอบของความโค้ งของเนือเยือ ้ ่ เจริญปลายยอด ใบเริ่มเกิดนีจะเจริญพัฒนาไปเป็ นใบอ่ อน ้ บริเวณตรงกลางของโคนใบเริ่มเกิดจะเห็นเซลล์ ทจะเจริญไป ี่ เป็นเนือเยอท่อลาเลยงแยกจากลาต้นส่ ู ใบ ้ ื่ ํ ี ํ
  • 17. 3. ใบอ่ อน(young leaf) เป็ นใบทียงเจริญเติบโตไม่ ่ั เต็มที่ เซลล์ ของใบยังมีการเจริญเติบโต และเปลียนสภาพ ่ ต่ อไปอีก เพือเพิมความหนา และขนาดของใบ ระยะนีใบ ่ ่ ้ อ่ อนจะยังไม่ แผ่ กางออกเต็มที่ ตรงซอกใบอ่ อนจะเห็นตา ตามซอกเริ่มเกิด (axillary bud primodium) ซึ่งต่ อไปจะพัฒนาเป็ นตาตามซอก เมือใบทีรองรับอยู่น้ันได้ ่ ่ เจริญเต็มที่
  • 18. 4. ลําต้ นอ่ อน (Young stem) อย่ ูถัดจากตาแหน่งใบ ํ เริ่มเกิดลงมา(leaf primodium) ประกอบด้ วย เนือเยือทีเ่ ซลล์ ยงมีการแบ่ งเซลล์ และพัฒนาจนเป็ นเนือเยือ ้ ่ ั ้ ่ ทีเ่ จริญเต็มที่ ลําต้ นส่ วนใต้ ใบเริ่มเกิด เซลล์ บางบริเวณยัง เจริญไม่ เต็มที่ ได้ แก่ เอพเิ ดอร์มส เมือเป็ นลําต้ นระยะที่ ิ ่ เจริญเต็มที่ เนือเยือบริเวณต่ างๆ จะทําหน้ าทีเ่ ฉพาะได้ อย่ าง ้ ่ สมบูรณ์ ซึ่งจัดเป็ นการเจริญเติบโตปฐมภูมิ (primary growth)
  • 19. การเจริ ญของปลายยอดพืช แบ่งเป็ น 3 บริ เวณ 1. เนือเยือเจริญส่ วนปลายยอด (apical shoot ้ ่ meristem) อยู่บริเวณปลายสุ ดของลําต้ น เนือเยือ ้ ่ บริเวณนีมีกลุ่มเซลล์ ทพฒนาไปเป็ นลําต้ น ใบ และ ตาตาม ้ ี่ ั ซอกหรือตาข้าง (axillary bud)
  • 20. 2. บริเวณทีเ่ ซลล์ มการยืดตัว(elongation zone) ี เป็ นบริเวณทีอยู่ใต้ เนือเยือเจริญบริเวณปลายยอดลงมา เป็ น ่ ้ ่ บริเวณทเี่ ซลล์มการขยายยดออกตามยาว จะมการ ี ื ี เปลียนแปลงไปจากเดิม เป็ น protoderm , ่ procambium, ground meristem เนือเย่อ ้ ื ทั้งหมดเรียกรวมกันว่ า primary meristem
  • 21. การเจริญของปลายยอดพืช บริเวณทีเ่ ซลล์ มการยืดตัว ี Differentiation zone and maturation
  • 22. 3. maturation and differentiation zone เป็ นบริเวณที่เซลล์ มีการเจริญเติบโตเต็มที่ และ เปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง เพื่อไปทําหน้ าที่เฉพาะ คือ เจริญ เป็ นเนือเยื่อถาวร ้ (permanent meristem) มี 2 ระยะ คือ
  • 23. - การเจริญระยะที่ 1 (primary growth) มการเจริญเป็น ี เนือเยอถาวร ดงนี้ ้ ่ื ั protoderm epidermis procambium xylem, phloem cambium ground meristem cortex , pith - การเจริญระยะที่ 2 (secondary growth) cambium xylem, phloem (annual ring = วงปี )
  • 24.
  • 25. การเจริญเติบโตขั้นทีสองของลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ่ ้ (secondary growth) เป็ นการเจริญเติบโตที่ต่อเนื่องจากการเติบโตระยะที่ 1 ซ่ึง เกียวข้ องกับการสร้ างเนือเยือลําเลียงของพืช เพิมมากขึน ่ ้ ่ ่ ้ เพือขยายขนาดทางด้ านข้ างของลําต้ น ทําให้ พชมีขนาด ่ ื ใหญ่ขน และอายุยนยาวขน ึ้ ื ึ้
  • 26. การเจริญเติบโตในระยะที่ 2 เร่ ิมจากแคมเบยม ท่ อย่ ูระหว่าง ี ี โฟลเอ็ม และไซเลมระยะแรก มีการแบ่งเซลล์ ถ้าแคมเบียม ็ แบ่ งตัวไปทางด้ านในของลําต้ น ก็จะเกิดเป็ นไซเลมระยะท่ ี 2 ถ้าแคมเบยม แบ่ งเซลล์ เจริญเติบโตไปทางด้ านนอกของลําต้ น ี ก็จะเกิดเป็ นโฟลเอ็มระยะท่ ี 2 โดยอัตราการเปลี่ยนสภาพของ เซลล์ใน ไซเลมระยะท่ ี 2 จะเกดได้เร็วกว่า โฟลเอ็มระยะท่ ี 2 ิ จงทาให้ ไซเลมระยะท่ ี 2 มีปริมาณมากกว่า ึ ํ
  • 27.
  • 28. เมื่อพืชเจริญเติบโตครบ 1 ปี กลุ่มเนือเยื่อท่ อลําเลียง ้ (vascular cambium) ของพืช จะมีการแบ่ งเซลล์ เพิ่มขึนจํานวนมากน้ อย ต่ างกันในแต่ ละฤดู ขึนอยู่กับ ้ ้ ปริมาณนําและธาตุอาหาร เซลล์ ชันไซเล็มที่สร้ างขึน ้ ้ ้ ในฤดูฝน จะมีขนาดใหญ่ กว้ าง และมีสีจางมากกว่ าใน ฤดูแล้ ง ลักษณะเนือไม้ ท่ มีสีจาง และเข้ มสลับกัน เกิดเป็ นวง ้ ี เรี ยกว่ า วงปี (annual ring)
  • 29.
  • 30.
  • 31. วงปี (annual ring) คอ secondary xylem ื ทเี่ กดจากการแบ่งตวของแคมเบียม พบเฉพาะในพืชใบเลียง ิ ั ้ คู่เท่ านั้น โดยในแต่ ละปี 1 วงปี ประกอบด้ วย เนือไม้ 2 ้ ชนิด คอ ื • Spring wood เซลล์ มขนาดใหญ่ ผนังบาง สี จาง ี แถบกว้ าง เกิดในฤดูนํามาก (ฤดูฝน) การแบ่งเซลล์เกดขนได้ ้ ิ ึ้ มาก
  • 32. • Summer wood เซลล์ มีขนาดเล็ก ผนังหนา สี เข้ ม แถบแคบ เกิดในฤดูแล้ ง มีนําน้ อย การแบ่ ง ้ เซลล์ เกิดขึนได้ น้อย ้
  • 33. การเจริญระยะทุตยภูมิ (Secondary growth) ิ ของลาต้น แสดงวงปี (Annual ring) ํ Annual ring 12 (2° xylem) 3 Pith 33
  • 34.
  • 35. • ไซเล็มที่มีอายุมากจะมีสีเข้ ม เนื่องจากมีการสะสม ของสารอาหารมาก ทําให้ อุดตันไม่ สามารถลําเลียงนํา ้ ต่อไปได้อีก เรียกบริเวณนีว่า แก่นไม้ (heart ้ wood) ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่ าส่ วนอื่น แก่ นไม้ นี ้ จะเพิ่มขึนเรื่ อยๆ ้ • ไซเล็มที่มีสีจางกว่ าจะอยู่รอบนอก เรี ยกว่ า กระพีไม้ ้ (sap wood) ซึ่งมีความหนาค่ อนข้ างคงที่
  • 37.
  • 38. • ทังกระพีไม้ และ แก่ นไม้ รวมเรี ยกว่ า เนือไม้ (wood) ้ ้ ้ ซ่ งเป็นไซเล็มทงหมด หรือตังแต่ไซเล็มขันท่ ี 2 เข้ าไปข้ าง ึ ั้ ้ ้ ใน สําหรั บส่ วนที่อยู่ถัดจาก vascular cambium ออกมา ข้ างนอก เรี ยกว่ า เปลือกไม้ (bark) พบในลําต้ นที่มี อายุมาก โดยเอพิเดอร์ มสหลุดสลายไปนานแล้ ว เหลือ ิ แต่คอร์ ก ซึ่งเป็ นเนือเยื่อที่ประกอบด้ วยเซลล์ คอร์ก ที่ ้ มีซูเบอริน เป็ นส่ วนประกอบสําคัญของผนังเซลล์ และ คอร์ กแคมเบียม
  • 39. • จํานวนวงปีของพช สามารถนํามาใช้คาดคะเนอายุของพช ื ื ได้ ถ้ าจะให้ ใกล้ เคียงต้ องนับวงปี ทีโคนต้ น เพราะจํานวน ่ ของวงปีจะลดลงทางปลายยอด • พืชใบเลียงคู่เท่ านั้นทีมวงปี พืชใบเลียงเดียวจะไม่ มวงปี ้ ่ ี ้ ่ ี แม้จะสามารถขยายขนาดทางด้านข้างได้
  • 41.
  • 42.
  • 43. แก่นไม้ (heart wood) คือ ไซเล็มด้านท่ีอยในสุดของลา ู่ ํ ต้นที่มีอายุมากแล้วอุดตัน กระพีไม้ (sapwood) คือ ไซเล็มที่อยรอบนอกซ่ ึ งมีสีจาง ้ ู่ ่ กวาชั้นใน ทําหนาท่ีลาเลียงน้ า ้ ํ ํ เนือไม้ (wood) คือ เน้ือเยอไซเลมทั้งหมด (กระพีไม้ + ้ ่ื ้ แก่นไม้) เปลอกไม้ (bark) คือ ส่วนท่ีอยถดจากวาสคิวลาร์แคมเบียม ออกมา ื ู่ ั ประกอบด้วย เอพเิ ดอร์มิส คอร์เทกซ์ และโฟลเอม ส่ วนลําต้นที่อายุ ็ ่ื ั ็ มากๆ เน้ือเยอบางช้ นกตายไป ทาใหมี คอร์ก คอร์กแคมเบียม ํ ้ โฟลเอ็มขั้นที่ 2 ทําหน้าที่ลาเลียงอาหารได้ ํ
  • 44. เมือมีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 ในลําต้ น มักพบลักษณะ ่ ของรอยแผลทเี่ กดขนตามลาต้น หรือรากของพช เรียกว่า ิ ึ้ ํ ื Lenticel (เลนทิเซล) รอยแผลเป็ นซึ่งเกิดขึนขณะที่พช ้ ื กาลงมการสร้างคอร์ก และสามารถให้ออกซิเจนผ่านเข้าทาง ํ ั ี ลําต้ นได้ รอยแผลทีเ่ กิดขึนสามารถพบได้ ตามลําต้ นหรือราก ้ ของพืช
  • 45. Lenticel (เลนทิเซล) Lenticel Cork ลําต้ นปี บ 45
  • 46. โครงสร้ างภายในของลําต้ น ลําต้ นถือว่ าเป็ นอวัยวะส่ วนหนึ่งของพืช เช่ นเดียวกับราก ดังนั้นจึงมีเนือเยือชนิดต่ าง ๆ เช่ นเดียวกัน แต่ อาจแตกต่ าง ้ ่ กันในลักษณะการเรียงตัว อีกทั้งพืชใบเลียงเดียว และพชใบ ้ ่ ื เลียงคู่ยงมีโครงสร้ างภายในทีแตกต่ างกัน ้ ั ่
  • 47. โครงสร้ างภายในของลําต้ นตัดตามขวาง ระยะที่มีการเจริญเติบโตขันแรก ้ พืชใบเลียงคู่ ้ พืชใบเลียงเดี่ยว ้
  • 48. โครงสร้ างภายในของลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ้ (ลาต้นอ่อน – ตดตามขวางหรือ cross section) ํ ั 1.epidermis อยู่ด้านนอกสุด ปกติมีอยู่เพียงแถว เดียวอาจเปลี่ยนแปลงเป็ นเซลล์ คุม (Guard cell) ขน หรือหนาม ด้านนอกของ เอพิเดอร์ มสิ จะมีควทิน เคลือบอยู่ ิ
  • 49. 2. Cortex ชันคอร์ เทกซ์ ของลําต้ นแคบกว่ าของราก ้ เซลล์ ในชันคอร์ เทกซ์ ส่ วนใหญ่ เป็ นเซลล์ พาเรงคิมา ้ เซลล์ บริ เวณด้ านนอก 2-3 แถว อยู่ตดกับ เอพิเดอร์ มส ิ ิ เป็ นเซลล์ คอลเลงคิมา ที่ช่วยให้ ลาต้ นมีความแข็งแรง ํ ขึน ในระยะที่ลาต้ นยังอ่ อนอยู่ พาเรงคิมา อาจมี ้ ํ คลอโรพลาสต์ ช่ วยในการสังเคราะห์ ด้วยแสง เรี ยกเซลล์ นีว่า คลอเรงคิมา(Chlorenchyma) ้
  • 50. เมื่อลําต้ นเจริญเติบโตมากยิ่งขึน เซลล์ พาเรงคิมา หรือ ้ คอลเลงคมา ในชันคอร์ เทกซ์ จะแปรสภาพเป็ น ิ ้ คอร์กแคมเบียม (Cork cambium) ซึ่งจะแบ่ งตัว ตลอดเวลา ให้ คอร์ก หรื อ เฟลเลม (Phellem) ทางด้ านนอก เซลล์ เหล่ านีมีอายุสันมากและตายเร็ว และมี ้ ้ สารพวก ซูเบอริน หรือ ลิกนิน มาสะสม ทําให้ ชัน คอร์ก ้ หนาขึนแล้ วดันเอพิเดอร์ มส ให้ หลุดร่ วงไป ้ ิ
  • 51. ****การแตกกิ่ งของลําต้ น แตกมาจากชันคอร์ เทกซ์ ้ ชันคอร์ เทกซ์ นีสินสุดที่ เอนโดเดอร์มส ้ ้ ้ ิ ในลาต้นพชส่วนใหญ่จะเหน เอนโดเดอร์ มสได้ไม่ ํ ื ็ ิ ชัดเจนหรื ออาจจะไม่ มี ซึ่งต่ างจากรากที่เห็นได้ อย่ าง ชัดเจน
  • 52. 3. stele (สตล) ในลําต้ นจะกว้ างมาก ไม่ สามารถแบ่ งแยกออก ี จากคอร์เทกซ์ ได้ชัดเจน ซ่ึงแตกต่างจากรากทแบ่งช้ัน เห็นได้ ่ี ชัดเจนกว่า มีส่วนประกอบต่ าง ๆ ดังนี้ 3.1 vascular bundle หรือมัดท่ อลําเลียง ประกอบด้ วย เนือเยือไซเล็มอยู่ด้านใน และโฟลเอมอยู่ด้านนอก มัดท่ อลําเลียงจะ ้ ่ ็ เรียงตัวอยู่ในแนวรัศมีเดียวกัน และเรียงอยู่รอบลําต้ นอย่ างมี ระเบียบ ระหว่ างเนือเยือทั้งสองชนิดมี วาสคิวลาร์แคมเบียมคันอยู่ ้ ่ ่ ตรงกลาง
  • 53. 3.2 vascular ray เป็ นพาเรงคิมาที่อยู่ระหว่ าง กลุ่มท่ อลําเลียง ที่กลุ่มท่ อลําเลียงเรี ยงตัวเป็ นวง เชื่อมต่ อระหว่ างคอร์ เทกซ์ และพิธ 3.3 pith เป็ นเนือเยื่อชันในสุดของลําต้ น เนือเยื่อ ้ ้ ้ ส่ วนนีคือ พาเรงคิมา ทําหน้ าที่สะสมอาหารพวก ้ แปงหรือสารอ่ ืน ๆ เช่น ลิกนิน ผลึกแทนนิน ้ (Tannin) เป็ นต้ น
  • 54.
  • 55. X-section ลําต้ นหมอน้ อย (พชใบ ื Chlorenchyma เลยงคู่) ี้ Trichome (hair) Collenchyma Epidermis Cortex Phloem Pith Phloem Xylem fiber Parenchyma 55
  • 56. โครงสร้ างภายในของลําต้ นพืชใบเลียงเดียว ้ ่ ลําต้ นพืชใบเลียงเดี่ยว ส่ วนใหญ่ มีการเจริญเติบโต ้ ขันต้น (Primary growth)เท่ านัน มีเนือเยื่อชัน ้ ้ ้ ้ ต่ าง ๆ เช่ นเดียวกับลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ้ คือ มีชันเอพิเดอร์ มส คอร์ เทกซ์ และ สตีล ้ ิ ต่ างกันที่มัดท่ อลําเลียง
  • 57. กลุ่มของเนือเยือลําเลียงของพืชใบเลียงเดียว (vascular ้ ่ ้ ่ bundle) รวมกันเป็ นกลุ่ม ๆ ซึ่งจะกระจายอยู่ทุกส่ วนของ ลําต้ น ประกอบด้ วย ส่ วนของ xylem, phloem จะเรียงตัวกันมองคล้ ายๆ ใบหน้ า คน มีส่วนของ vessel อยู่บริเวณคล้ายดวงตา ส่ วน phloem อยู่บริเวณคล้ายหน้าผาก xylem และ phloem จะถูกล้ อมรอบด้ วยเนือเยือ parenchyma หรือ ้ ่ อาจเป็ น sclerenchyma และเรียกเซลล์ ทมาล้ อมรอบนี้ ี่ ว่า bundle sheath
  • 59. มัดท่ อลําเลียงของพืชใบเลียงเดียว ไม่ มเี นือเยือเจริญ ้ ่ ้ ่ ด้านข้างหรือ แคมเบียม จึงมักจะเจริญทางด้ านสู ง มากกว่า เพราะมเี นือเยอเจริญเหนือข้อ และปล้อง ้ ื่ ทาให้ยดยาวได้ดกว่า ํ ื ี พืชบางชนิดเนือเยือตรงกลางจะสลายไปเป็ นช่ องกลวง ้ ่ ภายในของลําต้ น เรียกว่ า ช่ องพิธ (Pith cavity) เช่ น ในลําต้ นของต้ นไผ่ หญ้ า เป็ นต้ น แต่ บริเวณข้ อ ยงคงมพธ (pith) อย่ ู ั ี ิ
  • 60. พืชใบเลียงเดียวบางชนิด เช่ น จันทน์ ผา หมากผู้หมากเมีย ้ ่ พืชตระกูลปาล์ ม เป็ นต้ น จะมีแคมเบียม เป็ นเนือเยือเจริญ ้ ่ คล้ ายลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ทําให้ เจริญเติบโตทางด้ านข้ างได้ ้ และสามารถสร้าง คอร์ กได้ เมือมีอายุมากขึน ่ ้
  • 62.
  • 63. ลําต้ นพืชใบเลียงเดี่ยว ้ 1.วาสควลาร์ บันเดิล ิ 3. ชัน คอร์เทกซ์บางๆ ้ กระจัดกระจายทั่วลําต้ น ไม่ มีการรวมตัวเป็ น 2. ส่ วนใหญ่ ไม่ มีแคมเบียม เปลือกไม้ ระหว่ างโฟลเอ็มและไซเลม 4. ส่วนใหญ่ไม่มีการ สร้ างไม้ เนือแข็ง และ ้ จงไม่เพ่ มขนาดทาง ึ ิ กลางลําต้ น อาจกลวง ด้ านข้ างมีแต่ การเพิ่ม ความสูง
  • 64. • ลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ้ 1. วาสควลาร์ บันเดิล เรี ยง ิ โฟลเอ็มท่ มีอายุ ี เป็ นระเบียบในแนวรั ศมี กลายเป็ นเปลือกไม้ 2. มีแคมเบียมระหว่ าง 4. เมื่อพืชอายุมากขึน้ โฟลเอ็ม และไซเลม จงมี ึ ไซเลมที่มีอายุมากจะถูก การเจริญเติบโตขันที่ 2้ ดันเข้ าไปข้ างใน ทําให้ ลาต้ นอ้ วนขึน ํ ้ กลายเป็ นไม้ เนือแข็ง ้ 3. ชันคอร์ เทกซ์รวมกับ ้
  • 65. ชนิดของลาต้น ํ ปกติลาต้ นจะขึนตั้งตรงเหนือพืนดิน พืชหลายชนิดใช้ ลาต้ น ํ ้ ้ ํ พันหลักหรือเลือยไปตามดิน บางชนิดลําต้ นอาจเจริญอยู่ ้ ใต้ ดน ดังนั้นจึงมีการแบ่ งชนิดของลําต้ น ออกเป็ น 2 พวก ิ ใหญ่ ๆ คือ ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem) และลาต้นใต้ดน (Underground stem) ํ ิ
  • 66. ลาต้นเหนือดน เป็ นลําต้ นทีปรากฏอยู่เหนือพืนดินทัว ๆ ไป ํ ิ ่ ้ ่ ของต้ นไม้ ต่าง ๆ จําแนกตามลกษณะของลาต้น ั ํ ได้ เป็ น 3 ชนิด 1. ต้นไม้ใหญ่(tree) หรือไม้ ยนต้ น ื 2. ต้ นไม้ พ่ ม (shrub) ุ 3. ต้ นไม้ ล้มลุก (herb) ทั้งทีเ่ ป็ นไม้ เนือแข็ง และไม้ เนืออ่ อน ้ ้
  • 67. ลําต้ นเหนือดิน (Terrestrial stem) ไมยนตน (tree) ้ื ้ ้ ุ่ ไมพม (shrub) ไมลมลุก (herb) ้้
  • 68. ลําต้ นเหนือดินของพืชหลายชนิด อาจเปลียนแปลงรู ปร่ าง เพือทํา ่ ่ หน้าทพเิ ศษซ่ึงต่างไปจากเดม จาแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ดงนี้ ่ี ิ ํ ั 1.ลาต้นเลือยขนานไปกับผิวดน หรือผิวนํา ํ ้ ิ ้ (Prostrate หรื อ Creeping stem) ส่วนใหญ่ ของพืชพวกนีมีลาต้ นอ่ อน ตังตรงไม่ ได้ จึงต้ องเลือย ้ ํ ้ ้ ขนานไปกับผิวดน เช่น ผักบ้ ุง หญ้า แตงโม บัวบก ิ ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็ นต้ น
  • 69. บริเวณข้ อมีรากแตกเป็ นแขนงออกมา แล้ วปั กลงดิน เพื่อยึดลําต้ นให้ ตดแน่ นกับที่ มีการแตกแขนงลําต้ น ิ ออกจากตาบริเวณที่เป็ นข้ อ ทําให้ มีลาต้ นแตกแขนง ํ ออกไป ซึ่งเป็ นการแพร่ พนธุ์วธีหนึ่ง แขนงที่แตก ั ิ ออกมาเลือยขนานไปกับผิวดินหรื อนํานี ้ เรี ยกว่ า ้ ้ สโตลอน(Stolon) หรื อรั นเนอร์ (Runner) - ไหล
  • 71. ลาต้นชนิดครีพพง สเตม ํ ิ ็ ผักตบชวา (creeping stem
  • 72.
  • 73.
  • 75. )
  • 76. 2. ลําต้ นเลือยขึนสู ง (Climbing stem หรือ ้ ้ Climber) พืชพวกนีมลาต้ นอ่ อนเช่ นเดียวกับพวกแรก ้ ีํ แต่ ไต่ ขนสู ง โดยขึนไปตามหลักหรือต้ นไม้ ทอยู่ตดกัน ึ้ ้ ี่ ิ - ใช้ ลาต้ นพันหลักเป็ นเกลียวขึนไป (Twining stem ํ ้ หรือ Twiner) การพันอาจเวียนซ้ าย หรือเวียนขวา เช่ น ต้ นถั่วฝักยาว ฝอยทอง เถาวัลย์ ชนิดต่ าง ๆ ผักบุ้งฝรั่ง บอระเพ็ด
  • 78. ต้ นถัวฝักยาว ่ บอระเพ็ด
  • 80. - ลาต้นเปล่ ียนเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรื อ ํ Tendril climber) โดยส่ วนที่เป็ นมือเกาะเจริญมา จากตาข้างหรือตายอด มือเกาะจะบดเป็นเกลียวคล้ายสปริง ิ เพ่ อให้มีการยดหย่ ุน เม่ ือลมพดผ่านมือเกาะจะยดหดได้ ื ื ั ื ตัวอย่ างเช่ น ต้ นบวบ นําเต้ า ฟั กทอง องุ่น แตงกวา ตําลึง ้ พวงชมพู กะทกรก ลัดดา ลินมังกร เสาวรส โคกกระออม ้ เป็ นต้ น (บางครัง Tendril อาจเกดจากใบท่ เปล่ ียนแปลง ้ ิ ี ไป จะทราบจากการสังเกต เช่น ใบถ่ ัวลันเตา บริเวณปลาย ใบเปลี่ยนไปเป็ นมือเกาะ)
  • 81.
  • 85.
  • 86. - ใช้ รากพัน (Root climber) เป็นลาต้นทไต่ขนสูง โดยงอกรากออกมาบริเวณข้อยดกบ ํ ี่ ึ ้ ึ ั หลักหรือต้ นไม้ ต้นอืน ตัวอย่ างเช่ น ต้ นพลู พลูด่าง พริกไทย ่ รากพชเหล่านีหากยดตดกบต้นไม้ จะไม่แทงรากเข้าไปในลา ื ้ ึ ิ ั ํ ต้ นของพืชทีเ่ กาะ ไม่ เหมือนพวกกาฝากหรือฝอยทองซึ่งเป็ น พืชปรสิ ตที่แทงรากเข้ าไปในมัดท่ อลําเลียงของพืชที่เกาะ
  • 90. - ลําต้ นเปลี่ยนเป็ นหนาม (Stem spine หรื อ Stem thorn) ทําหน้ าที่ปองกันอันตราย เช่ น ้ หนามของต้ นเฟื่ องฟา หรื อตรุ ษจีน มะนาว มะกรูด ้ ส้ มชนิดต่ าง ๆ ซ่ งเกดจากตาตามซอกใบ(ตาข้ าง) ึ ิ ติดกับลําต้ นไม่ สามารถปลิดออกได้
  • 91. หนามมะกรูด เฟื่ องฟ้ า
  • 92. ส่วนต้นกระดังงา และการะเวก มีขอเกี่ยว(Hook) ที่ เปลี่ยนแปลงมาจากลําต้ น แล้ วยังมีดอกออกมาจาก ขอเกี่ยวได้ ด้วย บางทีเรี ยกลําต้ นชนิดนีว่า สแครม ้ เบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ ในการไต่ ขนที่สูงึ้ ส่วนหนามกุหลาบเกดจากผิวนอก(prickle) ิ ของลําต้ นงอกออกมาเป็ นหนาม ซึ่งสามารถปลิด ออกมาได้
  • 93. การะเวก กระดังงา
  • 94.
  • 95. 3. ลําต้ นทีเ่ ปลียนแปลงไปมีลกษณะคล้ ายใบ ่ ั • ฟี ลโลเคลด (phylloclade) เป็นลาต้นท่ มี ํ ี ลักษณะแบน จนกระทั่งคล้ ายกับลักษณะของใบ ในพชท่ ว ๆ ไป ลําต้ นแบบนีปกติ จะทําหน้ าที่ของใบ ื ั ้ ด้ วย คือ สังเคราะห์ แสง ดังนันพืชที่มีลาต้ นแบบนีจง ้ ํ ้ึ ไม่ มีใบหรื อมีกเล็กมาก เช่ น กระบองเพชร พญาไร้ ใบ ็
  • 97.
  • 99. • แคลโดฟี ลล์ (cladophyll) หรื อ แคลโดด (cladode) เป็นลาต้นท่ เปล่ ียนไปมีลักษณะคล้าย ํ ี ใบเช่ นเดียวกันกับฟี ลโลเคลด แต่ มักใช้ กับกิ่งก้ านที่ เป็ นเส้ นเรี ยวเล็ก ทําหน้ าที่แทนใบโดยมีสีเขียว สามารถสังเคราะห์ แสงได้ เช่ น หน่ อไม้ ฝรั่ ง สน ประดิพทธ์ โปร่ งฟา ั ้
  • 101. สนประดิพทธ์ ั โปร่งฟา ้
  • 102. ลาต้นใต้ดน (underground stem) ํ ิ ลาต้นใต้ดนบางชนิดมกมผ้ ูเข้าใจผดว่าเป็นราก ท้งนีเ้ พราะ ํ ิ ั ี ิ ั ลาต้นเหล่านี้ ไม่มคลอโรฟีลล์ มีรากเลก ๆ งอกออกมา ํ ี ็ ซึ่งคล้ายกบรากแขนงที่แตกออกมาจากราก ั ลกษณะของลาต้นใต้ดนทแตกต่างจากราก คอมข้อ และ ั ํ ิ ี่ ื ี ปล้ องเห็นได้ ชัดเจนบางครั้งมีตาอยู่ด้วย
  • 103. ต้นไม้ท่ ีมีลาต้นใต้ดนมักมีอายุยืน ในแต่ละปีจะส่ง ํ ิ หน่ อที่เป็ นส่ วนของลําต้ นหรื อกิ่งขึนมาเหนือพืนผิว ้ ้ ดิน เพื่อออกดอกและให้ ผล แล้ วส่ วนนีกตายไป ้็ เหลือแต่ ลาต้ นใต้ ดนเอาไว้ ลําต้ นใต้ ดนมีรูปร่ าง ํ ิ ิ แตกต่ างไปจากลําต้ นเหนือดิน ส่ วนใหญ่ ทาหน้ าที่ ํ สะสมอาหาร
  • 104. ลําต้ นใต้ ดน สามารถจําแนกได้ 4 ชนิด ิ 1. แง่ ง หรือเหง้ า หรือ ไรโซม (Rhizome) มกอย่ ู ั ขนานกับผิวดิน มีข้อและปล้ องเห็นได้ ชัดเจน ตามข้อมใบ ี ทีเ่ ปลียนแปลงมาเป็ นสี นําตาล ใบนีไม่ มคลอโรฟิ ลล์ ่ ้ ้ ี มกเรียกว่าใบเกลด ห่อห้ ุมตาเอาไว้ภายใน ตาเหล่านีอาจ ั ็ ้ แตกแขนงเป็ นลําต้ นที่อยู่ใต้ ดนหรือ แตกเป็ นใบ เป็ นมัด ิ ขนมาเหนือดน ลาต้นชนิดนีถ้ามการสะสมอาหารไว้มาก ึ้ ิ ํ ้ ี ก็จะอวบอ้ วนขึน เช่ น ขมิน ขิง ข่ า พุทธรักษา หญ้ าคา ้ ้ หญ้าแพรก ต้นกล้วย
  • 105. ลําต้ นใต้ ดนชนิด แง่ งหรือเหง้ า (Rhizome) ิ
  • 106. ขมน ิ้ ลาต้นเป็นแง่ง หรือเหง้า หรือ ไรโซม ํ (Rhizome) ใบเกล็ด
  • 107. ข่า ข้อ
  • 108. 2. ทเบอร์ (tuber) เป็นลาต้นใต้ดนสัน ๆ ู ํ ิ ้ ประกอบด้ วย ข้ อและปล้ องประมาณ 3-4 ปล้ องเท่ านัน ้ ไม่ มีใบเกล็ด ลําต้ นมีอาหารสะสมทําให้ อวบอ้ วน มีตาอยู่โดยรอบซึ่ง มักจะบุ๋มลงไป สามารถงอกต้ นใหม่ ชูขึนเหนือดินใน ้ บริเวณตานัน ได้แก่ มันฝร่ ั ง มันมือเสือ มันกลอย ้
  • 109.
  • 110. ตา มันฝรั่ง
  • 111. มันมือเสื อ มันกลอย
  • 112. 3. หวกลีบ หรือ บัลบ์ (bulb) เป็ นลําต้ นใต้ ดนที่ตัง ั ิ ้ ตรง อาจโผล่ พ้นดินขึนมาบ้ าง มีปล้ องสันมาก ตาม ้ ้ ปล้ องมีใบเกล็ดซ้ อนกันหลายชันห่ อหุ้มลําต้ นเอาไว้ ้ เห็นเป็ นหัวขึนมา ใบเกล็ดนีจะทําหน้ าที่สะสม ้ ้ อาหาร ในขณะที่ลาต้ นไม่ มีอาหารสะสมอยู่ ํ
  • 113. ยกตัวอย่ าง เช่ น เมื่อนําหัวหอมมาผ่ าตามยาว จะพบ ใบเกล็ดเป็นชัน ๆ ชันนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆ ้ ้ เนื่องจากไม่ มีอาหารสะสม ชันถัดเข้ าไปมีอาหารสะสม ้ จึงมีความหนากว่ าแผ่ นนอก ชันในสุดของลําต้ นเป็ นส่ วนยอด ถ้ าเอาหัวชนิดนีไป ้ ้ ปลูกส่ วนยอดจะงอกออกมาเป็ นใบสีเขียว ส่ วนล่ าง ของลําต้ นมีรากเป็ นกระจุก เช่ น หอม กระเทียม พลับพลึง ว่านส่ ีทศิ
  • 114. ลําต้ นใต้ ดน ชนิดหัวกลีบหรือบลบ์ (Bulb) ิ ั แสดงใบเกลดเป็นช้ัน ๆ ็
  • 115.
  • 118.
  • 119. 4. คอร์ ม (corm) เป็นลาต้นใต้ดนท่ ตังตรง ํ ิ ี ้ เช่ นเดียวกับบัลบ์ ลักษณะที่แตกต่ างกันคือเก็บอาหาร ไว้ ในลําต้ นแทนที่จะเก็บไว้ ในใบเกล็ด ลาต้นจงมี ํ ึ ลักษณะอวบใหญ่ มีตาตามข้ อสามารถงอกเป็ นใบโผล่ ขนเหนือดน หรืออาจแตกเป็นลาต้นใต้ดนต่อไปได้ ึ้ ิ ํ ิ ทางด้ านล่ างของลําต้ นมีรากฝอยเส้ นเล็กๆ จํานวน มาก ตัวอย่ างเช่ น เผือก ซ่ อนกลิ่นฝรั่ ง (แกลดิโอลัส) และ แห้ว เป็นต้น
  • 120. ลําต้ นใต้ ดน ชนิดคอร์ ม (Corm) ิ
  • 121.
  • 125. *****คอร์มต่างกบบัลบ์ ตรงที่ว่าบัลบ์ มีกลีบหว แต่คอร์มเป็ น ั ั โครงสร้ างลําต้ นที่มีเนือแน่ น มีข้อและปล้ องเห็นชัดเจน ้
  • 127. จดทาโดย ั ํ นางสาวแอนนา ปัญโญ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ํ โรงเรียนนารีรัตน์จงหวดแพร่ ั ั Thank you