SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
Descargar para leer sin conexión
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
                               กุสุมา พึ่งเพาะปลูก
                            นักวิชาการโภชนาการ 6
                   ฝายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช
                                   9 ธันวาคม 2551
เพื่อใหมีภาวะโภชนาการที่ดี


 ♥ ซึ่งเปนพื้นฐานของการมีสุขภาพที่ดี
ขอปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย

วัตถุประสงค
1. เพือปองกันปญหาโภชนาการ ทั้งการขาดสารอาหาร
      ่
     และการไดรับสารอาหารเกิน
2. ปองกันโรคเรื้อรังที่เกี่ยวกับโภชนาการ
3. คํานึงถึงความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร
ขอปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย

1.   กินอาหารครบ 5 หมู แตละหมูใหหลากหลายและหมันดูแลน้ําหนักตัว
                                                     ่
2.   กินขาวเปนอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ
3.   กินพืชผักใหมากและกินผลไมเปนประจํา
4.   กินปลา เนื้อสัตวไมตดมัน ไขและถั่วเมล็ดแหงเปนประจํา
                          ิ
5.   ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย
ขอปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย
   (ตอ)
     6. กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร
     7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
     8. กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอน
     9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
ปริมาณอาหารที่แนะนําใหบริโภคในแตละวัน

1. กําหนดปริมาณพลังงาน ขึ้นอยูกบเพศ อายุ และภารกิจประจําวัน
                                ั
ของแตละคน
2. กําหนดเปาหมายของสารอาหาร โดยอางอิงจากขอกําหนดปริมาณ
สารอาหารทีแนะนําใหบริโภคตอวัน
           ่
3. กําหนดกลุมอาหารและการแลกเปลี่ยนภายในกลุม แบงออกเปน 6 กลุม
                                                             
4. กําหนดหนวยตวงวัด สําหรับอาหารแตละกลุม
                                         
กําหนดปริมาณพลังงาน พลังงานที่แนะนํา มี 3 ระดับ

    1,600 กิโลแคลอรี สําหรับ เด็ก หญิงวัยทํางาน และผูสูงอายุ
    2,000 กิโลแคลอรี สําหรับวัยรุน หญิง-ชาย ชายวัยทํางาน
    2,400 กิโลแคลอรี สําหรับผูใชพลังงานมาก เชน เกษตรกร
                               
ผูใชแรงงาน และผูที่ออกกําลังกาย หรือเลนกีฬาสม่าเสมอ
                                                ํ
กําหนดเปาหมายของสารอาหาร
 โปรตีน         =   10 - 15 %
 ไขมัน          =   20 - 30 %
 คารโบไฮเดรต   =   55 - 65 %
 ใยอาหาร        =   25 กรัม / วัน
 โคเลสเตอรอล    <   300 มก.
กําหนดกลุมอาหาร
              
และการแลกเปลี่ยนภายในกลุม
                        

   แบงออกเปน 6 กลุม
                    
1. กลุมขาว – แปง ไดแก
  ขาวตางๆ ขนมปงเผือก มัน กวยเตี๋ยว
  อาหารในกลุมนี้อาจสลับสับเปลี่ยนกันไดเชน ถากินขนมปง 1
  แผน หรือกวยเตี๋ยว 1 ทัพพี ก็เหมือนกับกินขาว 1 ทัพพี
2. กลุมผัก
  ผักชนิดใบ ดอก ฝกและผล
  โดยผักสุก 1 สวนคือ 1 ทัพพี
  ถาเปนผักสด เชน ผักสลัด 1 สวน คือ 2 ทัพพี
3. กลุมผลไม

   กําหนดใหเปนสวนแตละสวนใหพลังงานประมาณ
60 กิโลแคลอรี
   ผลไม 1 สวน ใหพลังงาน 60 กิโลแคลอรี
ตัวอยางปริมาณผลไม 1 สวน

               ชื่อ             ปริมาณ
   •   กลวยน้ําวา    •   1 ผลกลาง
   •   กลวยหอม        •   ½ ผลใหญ
   •   สมเขียวหวาน    •   2 ผลกลาง
   •   ฝรัง
          ่            •   ½ ผลกลาง
   •   ทุเรียน         •   1 เม็ดกลาง
   •   มะละกอสุก       •   8 ชิ้นคํา
   •   สมโอ           •   2 กลีบใหญ
4. กลุมเนื้อสัตว ไดแก
  เนื้อหมู ไก เตาหู ไข
  กินสลับแลกเปลี่ยนกันไดเชน กินเนื้อไกหรือหมู 1 ชอนกินขาว ใหคุณคา
  ใกลเคียงกับปลาทู ½ ตัว หรือเตาหูขาว เตาหูเ หลือง ½ กอน หรือเตาหูขาว
  หลอด ประมาณ 2/3 หลอด หรือไข ½ ฟอง
5. กลุมน้ํานม ไดแก

  นมสด หรือ นมพรองมันเนย หรือ โยเกิรต 1 สวน คือ 1 แกว
  (200 มิลลิลิตร)
กลุมน้ํามัน น้ําตาล เกลือ

กลุมนีกินในปริมาณนอยๆ เทาที่จําเปน
       ้
4. กําหนดหนวยตวงวัด
  ทัพพี ใชในการตวงวัดอาหารกลุมขาว – แปง และ ผัก
  ขาว 1 ทัพพี ประมาณ ½ ถวยตวง
  ผักสุก 1 ทัพพี ประมาณ ½ ถวยตวง
  ชอนกินขาว อาจใชชอนกินขาวดามยาวหรือชอนสแตนเลสที่ใชเปนชอน
  ตักแกง หรือชอนกลาง ใชสําหรับตวงวัดปริมาณอาหารกลุมเนื้อสัตว เนื้อ
                                                     
  ไก เนื้อหมู 1 ชอนกินขาว ปริมาณ 15 กรัม
  ชอนกาแฟ ใชในการตวงน้ํามันพืชและน้าตาล 1 ชอนกาแฟประมาณ 5
                                          ํ
  มิลลิลิตร หรือ 5 กรัม
4. กําหนดหนวยตวงวัด (ตอ)
 สวน ใชในการกําหนดปริมาณผลไม
 ผลไม 1 สวน สําหรับผลไมผลเล็ก เชน สมเขียวหวานผลใหญ 1
 ผล หรือกลวยน้ําหวา 1 ผล
 ผลไม 1 สวน สําหรับผลไมผลใหญ เชน มะละกอหรือสับปะรด
 หรือแตงโม ประมาณ 6 – 8 ชิ้นพอคํา
 แกวใชในการตวงวัดน้ํานม น้ํานม 1 แกว = 200 มิลลิลิตร
สรุปตารางแสดงการกําหนดปริมาณของอาหารกลุม

              กลุมอาหาร                  พลังงาน (กิโลแคลอรี่)
                                  1600           2000             2400
 ขาว – แปง     (ทัพพี)            8              10              12
 เนื้อสัตว       (ชอนกินขาว)     6               9              12
 ผัก             (ทัพพี)          4 (6)             5              6
 ผลไม           (สวน)           3 (4)             4              5
 น้ํานม           (แกว)          2 (1)             1              1
 ไขมัน           (ชอนกาแฟ)         5               7              9
 น้ําตาล         (ชอนกาแฟ)         4               6              8
( ) จํานวนสวนสําหรับผูใหญ
การบริโภคอาหาร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebookค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
Wan Ngamwongwan
 
10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน
10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน
10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน
รุ่งตะวัน อาลูวาลิ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
pasutitta
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
Rose Banioki
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
an1030
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
techno UCH
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
Aobinta In
 

La actualidad más candente (18)

บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
Food for CVD
Food for CVDFood for CVD
Food for CVD
 
ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebookค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
 
10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน
10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน
10 อาหารลดน้าหนัก ง่ายๆ ด้วยการกินโปรตีน
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ใบความรู้+สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f28-4page
 ใบความรู้+สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f28-4page ใบความรู้+สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f28-4page
ใบความรู้+สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย+ป.6+291+dltvscip6+54sc p06 f28-4page
 
อาหารชีวจิต
อาหารชีวจิตอาหารชีวจิต
อาหารชีวจิต
 

Destacado

แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
Wilailak Luck
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Wannalak Santipapwiwatana
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
Wichai Likitponrak
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ธงชัย ควรคนึง
 

Destacado (20)

แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเราบท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 

Similar a การบริโภคอาหาร

อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
pasutitta
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
Chirarat Boonperm
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
pasutitta
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
110441
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
luckana9
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
atunya petkeaw
 
งานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมงานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอม
Pea Pornpisuth
 

Similar a การบริโภคอาหาร (20)

อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Egg
EggEgg
Egg
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
งานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมงานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอม
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 

การบริโภคอาหาร