SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
Descargar para leer sin conexión
แบบโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. ชื่อโครงการ
โครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “สหวิทยาการ: สร้างโอกาส เพิ่มปัญญา พัฒนาท้องถิ่น”
2. ลักษณะโครงการ
 โครงการใหม่  โครงการต่อเนื่อง จากปี 2559
3. ผู้รับผิดชอบโครงการ
สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
-
5. หลักการและเหตุผล
การศึกษานับว่าเป็นสิ่งที่มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้เกิด
พลเมืองที่มีคุณภาพ อันจะนาไปสู่การพัฒนาในด้านต่างๆ แต่ด้วยปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นทาให้การจัด
การศึกษาในส่วนของภาครัฐจัดให้ เป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นต่อการเสริมสร้างการเรียนรู้ด้าน
วิชาการ เพื่อประโยชน์ในการวัดและประเมินผลระดับชาติ และ/หรือ เพื่อการสอบเข้าศึกษาต่อ
ด้วยการบ่มเพาะค่านิยมทางการศึกษารูปแบบเดิม ผู้เรียนจึงขาดความสัมพันธ์ในการเชื่อมโยงองค์
ความรู้และการประยุกต์ใช้ เพื่อเกิดประโยชน์อย่างแท้จริงในบริบทแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นของ
ผู้เรียน ดังนั้นแล้ว การส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่พร้อมต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชีวิต จึงควรเป็นการเรียนรู้ที่มากกว่าวิชาการ นั้นคือการพัฒนาทักษะที่จาเป็น เพื่อการจัดการ
เรียนรู้เพื่อตนเองของผู้เรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงแนวทางการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพในสังคม
ด้วยปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น ทางกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้เสนอโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “สร้างโอกาส เพิ่ม
ปัญญา พัฒนาท้องถิ่น” เพื่อเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเปิด
โลกทัศน์แห่งการเรียนรู้ โดยอาศัยชุมชน สิ่งแวดล้อม และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นผ่านการจัดกิจกรรม
เชิงวิชาการ รวมทั้งการสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน(Project Based Learning)
อันมุ่งเน้นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยกระบวนการลงมือปฏิบัติ(Active Learning) และเป็น
ส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้และสร้างความพร้อมให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า
ของท้องถิ่นและเป็นผู้ที่มีทักษะในศตวรรษที่ 21 มีความสุขกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในขณะเดียวกันก็
เป็นการสร้างความเป็นนักศึกษาครูมืออาชีพที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษารูปแบบใหม่ สร้าง
ครูที่มีทักษะการสร้างสรรค์การเรียนรู้โดยในท้องถิ่นเป็นฐาน ผ่านสหวิทยาการ ด้วยความร่วมมือของ
นักศึกษาในคณะ ต่างคณะ ต่างสถาบัน และต่างชุมชน เพื่อสร้างทางเลือกและกระบวนการเรียนรู้ที่
หลากหลายให้กับผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับปณิธานของโครงการว่า “สร้างโอกาส เพิ่มปัญญา พัฒนา
ท้องถิ่น” ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นส่วนในการกระตุ้นและสร้างผู้เรียนคุณภาพ ตลอดจนนักศึกษาครู
คุณภาพ เพื่อเป็นกาลังในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ต่อไป
6. วัตถุประสงค์ของโครงการ
6.1 เพิ่มพูนศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนด้านวิชาการและทักษะทางสังคมศึกษา ผ่าน
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งวิทยาการชุมชนในเชิงสหวิทยาการ เพื่อให้ผู้เรียนเป็น
ผู้ที่มีความพร้อมและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
6.2 ขยายโอกาสทางการศึกษาของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านกิจกรรมการแนะแนวด้าน
การศึกษาต่อ
6.3 เพื่อพัฒนาทักษะการสอนของนักศึกษาสู่การเป็นนักศึกษาครูมืออาชีพและสร้างความ
ร่วมมือเชิงสหวิทยาการ และก้าวสู่รูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ในอนาคตต่อนักศึกษา
7. กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 400 คน
2. มีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 130 คน
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ ทักษะ และเจตคติ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการ
ลงมือปฏิบัติ(Active Learning)
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนในวิชาสังคมศึกษา และใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เหมาะสม
ในการเลือกศึกษาต่อใน คณะ/สาขาวิชา ที่มีความสนใจได้
3. กลุ่มนักศึกษาได้เพิ่มพูนทักษะในด้านการสร้างกระบวนการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์
ผ่านความร่วมมือเชิงสหวิทยาการแก่เยาวชนรุ่นน้องที่อยู่ในพื้นที่ชนบทห่างไกล
เป้าหมายด้านประชากร
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย
2. นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และนักศึกษา
ผู้สนใจ
8. วิธีการดาเนินงาน
กิจกรรม
ปี 2559-2560
(ระบุเดือนที่ดาเนินการ)
ผู้รับผิดชอบ
1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อจัดทาร่างโครงการ ธันวาคม นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้
2. เสนอโครงการเพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาอนุมัติ มกราคม นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้
3. สารวจสถานที่จัดกิจกรรม มีนาคม นายธนินท์รัฐ เจริญธีราพงษ์
4. จัดหางบประมาณ กุมภาพันธ์ – เมษายน นางสาวณิชกานต์ บัวคามา
5. จัดเตรียมกิจกรรม กุมภาพันธ์ – มีนาคม นางสาวสุวนันท์ ชูเล็ก
6. เตรียมค่าย กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม นางสาวธันย์ฐิตา วรกุลศิริศักดิ์
7. จัดค่าย 22-26 พฤษภาคม นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้
8. สรุปผลการดาเนินงาน พฤษภาคม นายธนากร สร้อยเสพ
9. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
22-26 พฤษภาคม พ.ศ.2560
10. สถานที่ปฏิบัติงาน
โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
11. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดีครั้งที่ 5 ผู้จัดกิจกรรมได้ใช้รูปแบบ
กระบวนการเรียนรู้ในห้องเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ซึ่งเป็นกระบวนการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ (Learning by doing) ผ่านกิจกรรมที่วางไว้ โดยทีมผู้สอน (team
teaching) จะเป็นเพียงผู้อานวยความสะดวกและให้คาแนะนาระหว่างการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ได้นา 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้แก่ ภาษาไทย,
คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สุขศึกษาและพลศึกษา, ศิลปะ, การงานอาชีพและเทคโนโลยี, และ
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) มาบูรณาการกับกิจกรรมนอกห้องเรียน ได้แก่ .... โดยทั้ง 7 กิจกรรม
จะดาเนินการอย่างสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปี
นอกจากนี้ ยังมีรายวิชากิจกรรมภายในห้องเรียน ได้แก่ “กิจกรรมแนะแนว” ซึ่งเป็นกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง
สามารถกาหนดเป้าหมายและวางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและการประกอบอาชีพในอนาคตได้ และ
“กิจกรรมพลังมด ลดขยะ” โดยให้ผู้เรียนได้รู้จักการบริหารจัดการขยะในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสามารถ
นาไปปรับประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ มีเป้าประสงค์ให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์
การใช้เหตุผล การสังเกต การทางานร่วมกับผู้อื่น และเห็นคุณค่าของท้องถิ่นตนเอง สะท้อนออกมาใน
ลักษณะของการพัฒนาและก่อให้เกิดนวัตกรรมเพื่อชุมชน ตามแนวคิด “ประเทศไทย 4.0”
รายวิชา
1. กิจกรรมแนะแนว ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3
 คาอธิบายรายวิชา : วิชาแนะแนวเป็นวิชาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จัก
ตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิต
ทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและ
เข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วม
พัฒนาผู้เรียน
 หัวหน้า “กิจกรรมแนะแนว” : นางสาวจารีย์พร สีสุก
2. กิจกรรมพลังมด ลดขยะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3
 คาอธิบายรายวิชา : กิจกรรมพลังมด ลดขยะ เป็นกิจกรรมที่เกิดจากปัญหาขยะในโรงเรียน
ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่มีอยู่ในทุกโรงเรียนซึ่งมีปริมาณมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตเป็นอย่างมาก การกาจัดขยะนับวันจะมีความยุ่งยากและต้อง
สิ้นเปลืองพลังงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้พื้นที่รองรับขยะในแต่ละพื้นที่ของโรงเรียนนับวันจะหายาก
เพราะกระทบกับวิถีชีวิตชุมชน ดังนั้นจาเป็นที่ต้องมีการบริหารจัดการอย่างถูกวิธี โดยทุกคน
ต้องมีส่วนร่วมจึงจะสามารถควบคุมปัญหาขยะได้อย่างยั่งยืน ทุกคนในโรงเรียนอันมีนักเรียนที่
เปรียบดังว่าเป็นพลังเล็ก ๆ ถือว่าเป็นกลไกสาคัญที่จะได้ส่งเสริมเพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ
เกี่ยวกับการจัดการขยะได้ ปัญหาขยะก็จะลดน้อยลง และส่งผลให้โรงเรียนสะอาด สวยงาม น่า
อยู่ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และปราศจากมลพิษ
 หัวหน้า “กิจกรรมพลังมด ลดขยะ” : นางสาวชรินรัตน์ คันทะสินธ์
ข้อมูลทั่วไป
ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ประจาปีการศึกษา 2560
จานวนนักเรียน/ห้องเรียน1
:
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 : (รอข้อมูลจากโรงเรียน)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 : ม.2/1 นักเรียน 35 คน
ม.2/2 นักเรียน 26 คน
ม.2/3 นักเรียน 32 คน
ม.2/4 นักเรียน 34 คน
ม.2/5 นักเรียน 29 คน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 : ม.3/1 นักเรียน 29 คน
ม.3/2 นักเรียน 29 คน
ม.3/3 นักเรียน 29 คน
คาบเรียน : เรียนวันละ 7 คาบ คาบละ 55 นาที
1
ปรับปรุงจากข้อมูลรายชื่อนักเรียนโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม ประจาปีการศึกษา 2559
ตารางเรียนโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน แนะแนว HR
24 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน พลังมด ลดขยะ HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ แผนผังสุขภาพชุมชน HR
24 พ.ค. 60 HR แนะแนว แผนผังสุขภาพชุมชน HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR แนะแนว ประวัติชุมชน HR
24 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ประวัติชุมชน HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ แผนผังสุขภาพชุมชน HR
24 พ.ค. 60 HR แนะแนว แผนผังสุขภาพชุมชน HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน แนะแนว HR
24 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน พลังมด ลดขยะ HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต พลังมด ลดขยะ HR
24 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต แนะแนว HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR แนะแนว ปฏิทินชุมชน HR
24 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ปฏิทินชุมชน HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ประวัติชุมชน HR
24 พ.ค. 60 HR แนะแนว ประวัติชุมชน HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR แนะแนว ปฏิทินชุมชน HR
24 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ปฏิทินชุมชน HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต พลังมด ลดขยะ HR
24 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต แนะแนว HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR แผนที่เดินดิน แนะแนว HR
24 พ.ค. 60 HR แผนที่เดินดิน พลังมด ลดขยะ HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ พลังมด ลดขยะ HR
24 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ แนะแนว HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
08.00
08.30 –
09.30
09.30 – 10.30 10.30 – 11.30
11.30 –
12.30
12.30 – 13.30 13.30 – 14.30
14.30 –
15.30
16.00
21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม
22 พ.ค. 60 พิธีเปิด
พักกลางวัน
Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR
23 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ แนะแนว HR
24 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ พลังมด ลดขยะ HR
25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR
26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด
27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตารางสอนโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
แนะแนว พลังมด ลดขยะ
23 พฤษภาคม 2560 (เช้า) ม.1/3
ม.2/2
ม.2/4
ม.1/2
ม.1/4
ม.2/3
23 พฤษภาคม 2560 (บ่าย) ม.1/1
ม.1/5
ม.3/1
ม.3/3
ม.2/1
ม.2/5
ม.3/2
24 พฤษภาคม 2560 (เช้า) ม.1/2
ม.1/4
ม.2/3
ม.1/3
ม.2/2
ม.2/4
24 พฤษภาคม 2560 (บ่าย) ม.2/1
ม.2/5
ม.3/2
ม.1/1
ม.1/5
ม.3/1
ม.3/3
คณะทางานฝ่ายวิชาการ
1. นางสาวธัญญ์ฐิตา วรกุลสิริศักดิ์ รองหัวหน้าโครงการฝ่ายวิชาการและงานกิจการ
เบอร์โทรศัพท์ 085 410 5443
2. นายสหรัฐ เพิ่มทรัพย์ หัวหน้างานวิชาการ
เบอร์โทรศัพท์ 061 624 6363
3. นายมนัสชัย ปามะ ผู้ดาเนินงาน
เบอร์โทรศัพท์ 0813522476
4. นางสาวชรินรัตน์ คันทะสินธ์ ผู้ดาเนินงาน
เบอร์โทรศัพท์ 0890731602
5. นายวรากร สิทธิน้อย ผู้ดาเนินงาน
เบอร์โทรศัพท์ 0947145731
6. นายนรากร หิงทอง ผู้ดาเนินงาน
เบอร์โทรศัพท์ 062 256 7300
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ณ โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม ทางโครงการได้ดาเนินการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและตามแหล่งการเรียนรู้นอกสถานที่ จานวน ๗ กิจกรรมการเรียนรู้
ดังต่อไปนี้
กิจกรรมการเรียนรู้แหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
กิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานที่เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อตอบสนองการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
เป็นฐาน(Project Based Learning) ผ่านแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ด้วยกระบวนการเรียนรู้สหวิทยาการที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ(Active Learning) โดยมีเครื่องมือวิถีชุมชน 7 ชิ้น ของนายแพทย์โกมาตร จึง
เสถียรทรัพย์ ดังนั้นการดาเนินกิจกรรมจึงเป็นกระบวนการผ่านเครื่องมือสารวจและเรียนรู้ชุมชน เพื่อ
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะและสามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
1.1) กิจกรรม “ฝิ่น: พืชเงินสด กาหนดเศรษฐกิจ”
สถานที่จัดกิจกรรม : หอฝิ่น
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่
ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมมีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คาอธิบาย
ในอดีตฝิ่นมีอิทธิพลแทรกซึมในภูมิภาคต่างๆของโลก เข้าครอบงาระบบเศรษฐกิจและเป็น
มาตรฐานในการแลกเปลี่ยนที่สาคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่ง พื้นที่อาเภอเชียงแสนก็เป็น 1 ในพื้นที่ที่ถูก
กาหนดด้วยนโยบายการปลูกฝิ่นของประเทศจีน การเข้ามาของฝิ่นก่อให้เกิดอาชีพ และความมั่งคั่ง
ประกอบกับการเป็นจุดยุทธศาสตร์สาคัญที่มีแม่น้าโขงไหลผ่าน จึงสามารถติดต่อกับประเทศบริเวณลุ่ม
น้าโขงได้ดี นั้นคือบริเวณ “สามเหลี่ยมทองคา” เมื่อพื้นที่บริเวณนี้ ทวีความสาคัญขึ้นจากการมีฝิ่น
การสร้างมูลค่าและความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่างประเทศเจริญขึ้น ให้คานิยามแทนฝิ่น ว่าเป็น
ทองดา เพื่อใช้เรียกแทนมูลค่ามหาศาล แต่ในปัจจุบัน นโยบายของประเทศไทยได้เข้ามาเปลี่ยนแปลง
ระบบวิธีคิด และมูลค่าของฝิ่น จากทรัพย์สินกลับกลายเป็นยาเสพติด การเคลื่อนย้ายของความสาคัญ
ถึงการมีอยู่ของฝิ่นถูกโอนผ่านระบบวิธีคิดแบบใหม่ ส่งผลถึงการแทนที่ของสินค้าทางเศรษฐกิจที่
นโยบายรัฐมอบให้ การลงพื้นที่ ณ พิพิธภัณฑ์บ้านฝิ่น ผู้ร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์เชิง
เศรษฐกิจ รวมถึงศึกษาผลกระทบ และท้ายสุด ผู้เรียนจะสามารถเข้าใจในความสาคัญของ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเชิงเศรษฐกิจ และสามารถถอดบทเรียนจากอดีตสู่การสร้างสรรค์
แนวทางแห่งการปรับตัวเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของตน
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: โครงสร้างองค์กรชุมชน (Community Organizations)
--------------------------------------
1.2)กิจกรรม “หนองบงคาย : ทะเลสาบเชียงแสน ดินแดนในตานาน”
สถานที่จัดกิจกรรม: หนองบงคาย
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่
ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมมีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คาอธิบาย
พื้นที่บริเวณหนองบงคายในอดีต ได้ชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งของเวียงหนองหล่ม ซึ่งเวียงหนองหล่ม
ถือเป็นพื้นที่สาคัญในการตั้งเมืองเชียงแสนในอดีต ตามตานานเมืองเชียงแสนที่กล่าวขานกันมา ปัจจุบัน
หนองบงคายได้มีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทางกายภาพเป็นพื้นที่ชุ่มน้า และเป็นพื้นที่ชุ่มน้า 1 ใน 12 แห่งของ
ประเทศไทยภายใต้อนุสัญญาแรมซาร์ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์และยับยั้งพื้นที่ชุ่มน้าภายในโลก
ซึ่งทาให้เกิดการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเชิงปศุสัตว์ เกษตรกรรม และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ลักษณะ
ดังกล่าว สะท้อนถึงความเชื่อทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่ โดยมีการปรับเปลี่ยนมาใช้ประโยชน์ในพื้นที่
บริเวณเดียวกันตามกาลเวลา ผู้ร่วมกิจกรรมจะได้ร่วมกันสืบเสาะแสวงหาความจริงโดยใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์นามาสู่การวิเคราะห์สาเหตุที่เกิดขึ้นสู่การอธิบายอย่างเป็นเหตุผล และเป็นขั้นตอนนามา
ผนวกกับองค์ความรู้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ ท้ายที่สุด ผู้ร่วมกิจกรรมจะสามารถจุด
ประกายความคิดสู่การพัฒนาพื้นที่ให้สามารถก้าวสู่ความเป็นโลกาภิวัตน์ได้
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ประวัติศาสตร์ชุมชน (Local History)
--------------------------------------
1.3)กิจกรรม “สบรวกศึกษา : ชาติพันธุ์บนความสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม”
สถานที่จัดกิจกรรม:บ้านสบรวก
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่
ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลก
อย่างสันติสุข
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
คาอธิบาย
ชาติพันธุ์ที่หลากหลายก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ความเป็นตัวตนของตนเอง เพื่อแสดงและยืน
หยัดการมีตัวตน ภายใต้พื้นที่ลุ่มน้าเดียวกัน การปรับตัวและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใหม่ๆจึงเกิด
ขึ้นมาเพื่อการดารงชีวิต และเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในชุมชน ทั้งในส่วนของ ภูมิปัญญาด้าน
อาหาร ภูมิปัญญาด้านศาสนา หรือภูมิปัญญาทางชีวิต ในหน่วยกิจกรรมนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาความเป็น
เอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ที่มีความหลากหลายในบริเวณพื้นที่เดียวกันในทางภูมิศาสตร์ ผ่านทัศนะการ
เกิด การสืบทอด และการสูญหายทางวัฒนธรรม นอกจากนั้นผู้เรียนจะสร้างองค์ความรู้ของตนเองผ่าน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อเรียนรู้เหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงที่กาลังปรับตัวเพื่อการเป็นส่วน
หนึ่งของชุมชนเดียวกัน และเพื่อการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมโลก ท้ายที่สุดผู้เรียนจะสามารถแสดง
ทัศนะร่วมกันหาแนวทางเพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมใหม่ที่จะนาความเป็นอัตลักษณ์
ของชาติพันธุ์ไปสู่ความยั่งยืนและความเป็นสากลของโลกาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ผังเครือญาติ (Genogram)
--------------------------------------
1.4 )กิจกรรม“ ภูมิปัญญาเชียงแสน : อิทธิพลศาสนาผ่านลุ่มน้า “
สถานที่จัดกิจกรรม: วัดเจดีย์หลวง
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม
หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
คาอธิบาย
ลุ่มน้า ถือเป็นปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่สาคัญในการตั้งถิ่นฐานของประชากร ซึ่งการตั้งถิ่นฐานนั้น
จะเกิดขึ้นควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะวัตถุธรรม การขยาย
อิทธิพลในด้านต่างๆจึงมักจะขยายไปพร้อมกับความเป็นเอกลักษณ์ของภูมิปัญญานั้นๆ เช่น ภูมิปัญญา
เชียงแสน ที่มีการขยายอิทธิพลผ่านการใช้วัตถุธรรมทางศาสนาเป็นเครื่องมือ หลักฐานของการขยาย
อิทธิพลของภูมิปัญญาเชียงแสนที่สะท้อนอย่างเด่นชัด คือ พระพุทธรูปเชียงแสน บ่งชี้ถึงสาคัญของ
ศาสนาที่มีผลต่อวิถีชีวิตของคนดังนั้นการมีอยู่ของพระพุทธรูปภูมิปัญญาเชียงแสน จึงเป็นเครื่องมือที่
ช่วยอธิบายความสาคัญและความสัมพันธ์ของเมืองต่างๆต่อเมืองเชียงแสน ในแหล่งเรียนรู้นี้ผู้เรียนจะ
เรียนรู้ถึงการกระจายและอิทธิพลของเชียงแสนต่อเมืองต่างๆ อาศัยปัจจัยเกื้อหนุนที่ผ่านกระบวนการ
คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยกระบวนทัศน์วิธีการทางประวัติศาสตร์ผนวกกับปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มี
ส่วนสาคัญต่อการขยายอิทธิพลผ่านลุ่มน้าของภูมิปัญญาเชียงแสน ท้ายสุดผู้เรียนจะสามารถนามาองค์
ความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียนมาประยุกต์ใช้และเกิดการสร้างสรรค์แนวทางเพื่อการพัฒนา ผลิต
ชิ้นงาน และเผยแพร่องค์ความรู้ของตน ผ่านบทเรียนเพื่อการขับเคลื่อนภูมิปัญญาทางศาสนาสู่ความ
เป็นสากล
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ประวัติชีวิต (Life Story)
--------------------------------------
1.5 )กิจกรรม“ สามเหลี่ยมทองคา : พื้นที่แบ่งปันแห่งลุ่มน้าโขง “
สถานที่จัดกิจกรรม:สามเหลี่ยมทองคา
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่
ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลก
อย่างสันติสุข
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่
ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คาอธิบาย
สามเหลี่ยมทองคา เป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างสามประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ลาว และ
เมียนมาร์ มีลักษณะเป็นพื้นที่สามเหลี่ยมบรรจบกัน โดยมีแม่น้าโขงและแม่น้ารวกเป็นพรมแดน
ธรรมชาติ พื้นที่บริเวณนี้เต็มเปี่ยมไปด้วยความหลากหลายทั้งทางวัฒนธรรม ประเพณี และความอุดม
สมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ แต่เนื่องด้วยเป็นพื้นที่ที่ต้องพึ่งพาอาศัยและแบ่งปันทรัพยากรที่มี
ร่วมกันในบริเวณโดยรอบ ทาให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม ประเพณีร่วม นอกจากนี้พื้นที่บริเวณ
สามเหลี่ยมทองคายังเป็นพื้นที่สาคัญทางการค้า เนื่องด้วยเป็นแหล่งทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์ ความ
เหมาะสมของทาเลที่ตั้ง ซึ่งอยู่ไม่ห่างจากจีนมากนัก จึงถือเป็นข้อได้เปรียบในการทาการค้าในพื้นที่
ดังกล่าว โดยยึดหลักการอยู่ร่วมกันอย่างแบ่งปันและสันติสุข ในแหล่งการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนจะสามารถ
วิเคราะห์ถึงข้อได้เปรียบ เสียเปรียบ ในการพึ่งพาอาศัยกันในด้านต่างๆของประเทศอาณาเขตโดยรอบ
พื้นที่สามเหลี่ยมทองคา นาไปสู่การนาเสนอแนวคิดการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ผ่านการใช้พื้นที่แบ่งปัน
อย่างสร้างสรรค์และคุ้มค่า นอกจากนี้ ผู้เรียนจะสามารถสร้างชิ้นงานหรือผลงานที่จะสะท้อนถึงการมี
ส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่แบ่งปันระหว่างประเทศต่างๆได้
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ปฏิทินชุมชน (Community Calendar)
--------------------------------------
1.6 )กิจกรรม “ ชุมชนเชียงแสน : เมื่อท้องถิ่นกลายเป็นเมือง “
สถานที่จัดกิจกรรม: ชุมชนริมน้าโขงเชียงแสน
มาตรฐานการเรียนรู้ ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการ
บริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของ
สรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา
วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
คาอธิบาย
จากกาลเวลาตามประวัติศาสตร์จะเห็นว่าเชียงแสนมีบริบทความเป็นเมืองที่ต่างกันตามยุค
ตามสมัย มีการเปลี่ยนแปลงมากมายหลายด้านทั้งลักษณะสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนไปเนื่องจากระบบ
เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงจากระบบยังชีพแต่เดิม เป็นระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้าขาย ลักษณะดังกล่าวจึง
ทาให้เกิดการเปลี่ยนกระบวนการวิธีคิดของผู้คนในท้องถิ่นเชียงแสนด้วย ส่งผลต่อการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องที่ อ.เชียงแสนในการผลิตและการบริโภคใช้เพื่อตอบสนองความต้องการ
อย่างไม่จากัดมากขึ้น การผลิตและใช้ทรัพยากรที่ตอบสนองระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้าของคนในพื้นที่นี้
เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดกระบวนการกลายเป็นเมือง (Urbanlization) ในบริเวณพื้นที่ ชุมชนเชียงแสน
แต่เดิมมีความเป็นท้องถิ่นแต่เมื่อผ่านไปตามยุคสมัยและกาลเวลา ชุมชนเชียงแสนมีความเป็นเมืองมาก
ขึ้น สังเกตได้จากลักษณะบ้านเรือนที่มีการเปลี่ยนแปลงจากศิลปะบ้านเรือนแบบท้องถิ่นล้านนามาเป็น
ตึกแถวมากขึ้น กิจกรรมชุมชนเชียงแสนนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ประโยชน์จากการใช้เครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์ นั่นก็คือ แผนที่เดินดิน (Geo-social mapping) ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลกระบวนการ
กลายเป็นเมือง (Urbanlization) และได้นาองค์ความรู้เหล่านี้ศึกษาทาความเข้าใจกับชุมชนเชียงแสนของ
ตนมากขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: แผนที่เดินดิน (Geo-social mapping)
--------------------------------------
1.7 )กิจกรรม “ครัว : เล่าเรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน ผ่านภูมิปัญญาอาหารชุมชน “
สถานที่จัดกิจกรรม:โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม และ ตลาดในเมืองเชียงแสน
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี
ความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ที่ ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คาอธิบาย
สมุนไพรพื้นบ้าน เป็นพืชที่มีประโยชน์มากมายใช้ทาเป็นอาหาร ยารักษาโรค โดยใช้ส่วนต่าง
ของพืชชนิดเดียวหรือหลายชนิดพร้อมกัน สมุนไพรพื้นบ้านหาได้ง่ายตามพื้นบ้านพื้นถิ่น สมุนไพรบาง
ชนิดมีเฉพาะถิ่นเฉพาะที่ เคยมีการศึกษาวิจัยการใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านของกลุ่มชนพื้นเมืองตามป่าเขา
หรือในชนบทที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษที่ได้สังเกตว่าพืชใดนามาใช้บาบัดโรคได้ มีสรรพคุณ
อย่างไร จากการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ และการทดลองแบบพื้นบ้านที่ได้ทั้งข้อดีและข้อผิดพลาด
จากความเป็นมาและคุณประโยชน์ดังกล่าวของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน เป็นสิ่งที่น่าสนใจในการทากิจกรรม
ศึกษาความรู้จากสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่น อ.เชียงแสน ที่ผู้คนในท้องถิ่นใช้ในการประกอบรายการ
อาหารเพื่อรับประทานกันในชีวิตประจาวัน ในการศึกษากิจกรรมนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้องค์ความรู้
เรื่องของสมุนไพรพื้นบ้าน เห็นกระบวนการกว่าจะนาสมุนไพรพื้นบ้านมาประกอบเป็นอาหารพื้นเมือง
แต่ละชนิด และผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้ทักษะการทาอาหารโดยใช้สมุนไพรพื้นบ้าน ในพื้นที่
อ.เชียงแสนอีกด้วย
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: แผนผังสุขภาพชุมชน (Community health mapping)
--------------------------------------
1.8 )กิจกรรม “สื่อ : สร้างสรรค์สื่อ เล่าลือชุมชนของฉัน“
สถานที่จัดกิจกรรม:แหล่งเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของ
สรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ
ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
คาอธิบาย
การผลิตสื่อวีดีทัศน์ เป็นการทางานร่วมกันเป็นทีมซึ่งต้องมีผู้นาที่มีหน้าที่รับผิดชอบ มี
ความสามารถในการวางแผนดาเนินการและตัดสินใจได้ดีในฐานะผู้กากับรายการ การผลิตสื่อวีดีทัศน์
จะมีหลากหลายหน้าที่ ทั้งในการพัฒนาแนวทางดาเนินการผลิตสื่อ ด้านเทคนิคการผลิต และด้าน
ความคิดสร้างสรรค์การผลิต ตลอดจนถึงการลงมือการผลิต จากลักษณะกระบวนการทางานดังกล่าว
กิจกรรมสื่อสร้างสรรค์นี้จะเป็นกิจกรรมที่ให้ประโยชน์แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการลงพื้นที่ผลิตสื่อวีดี
ทัศน์ในบริเวณพื้นที่ อ.เชียงแสน ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเอง ประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วม
กิจกรรมนี้ จะมีทั้งกระบวนการทางานผู้ร่วมปฏิบัติการผลิตสื่อวีดีทัศน์จะต้องให้คาปรึกษาหารือกัน
แนะนากัน และทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ขั้นประชุมก่อนการวางแผนไปถึงขั้นตอนสุดท้าย
ของการลาดับภาพ และขั้นตอนต่างๆ และที่สาคัญคือผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะเข้าใจชุมชนของตนเองมาก
ขึ้นจากกระบวนการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศศึกษาค้นคว้า การผลิตสื่อวีดีทัศน์จะประสบ
ความสาเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับการวางแผนการผลิต และการทางานของฝ่ายสร้างสรรค์ที่ดี โดยอาศัย
จินตนาการ ความอดทนและความรู้ รวมทั้งศิลปะหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนั้นการผลิตรายการวีดีทัศน์
ผู้ผลิตต้องคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ มากมาย
เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: กระบวนการผลิตวีดีทัศน์และภาพยนตร์
--------------------------------------
12. งบประมาณ
เด็กนักเรียน 400 คน / ผู้เข้าร่วมโครงการ 130 คน
ฝ่ายกิจกรรม
- มี 7 กิจกรรม ค่าอุปกรณ์ทาสื่อกิจกรรม ฐานละ 1,500 บาท : 1500 x 7 = 10,500 บาท
- ชุดฝึกกิจกรรมของนักเรียน ชุดละ 50 บาท : 50 x 400 = 20,000 บาท
- ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรม
23/05/60 24/05/60
ค่าน้ามันรถ 2 คัน 1,000 บาท 1,000 บาท
ค่าคนขับรถ 2 คน 1,000 บาท 1,000 บาท
รวม 4,000 บาท
ผลงาน/ชิ้นงานของเด็กนักเรียน
- ค่าอุปกรณ์ทาชิ้นงานของนักเรียน ห้องละ 1,000 บาท ทั้งหมด 13 ห้อง : 1,000 x 13 =
13,000 บาท
ฝ่ายสื่อ
- ค่าจัดทาป้ายไวนิลค่าย 1,200 บาท
- ค่าจัดทาวารสาร ถอดบทเรียนจากกิจกรรม จานวน 10 เล่ม : 10 x 150 = 1,500 บาท
ฝ่ายประสานงาน
- ค่าจัดส่งเอกสาร 3,000 บาท
ฝ่ายสวัสดิการ ( ค่าอาหาร )
- เลี้ยงอาหารกลางวันนักเรียน คนละ 20 บาท จานวน 5 มื้อ : ( 20 x 400 ) x 5 = 40,000
บาท
- เลี้ยงอาหารว่างนักเรียน คนละ 10 บาท จานวน 5 มื้อ : ( 10 x 400 ) x 5 = 20,000 บาท
- เลี้ยงอาหารผู้จัดกิจกรรม คนละ 20 บาท จานวน 12 มื้อ : (20 x 130 ) x 12 = 31,200 บาท
เดินทาง เชียงใหม่ – เชียงแสน ( ไป-กลับ)
- ค่ารถตู้ คันละ 3,200 บาท/รอบ จานวน 11 คัน : ( 3,200 x 11 ) x 2 = 70,400 บาท
รวมทั้งสิ้น = 213,600 บาท
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
12.1 นักเรียนเป็นผู้ที่มีความพร้อมและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
12.2 นักเรียนมีโอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น
12.3 นักศึกษาได้พัฒนาทักษะการสอนนาสู่การเป็นนักศึกษาครูมืออาชีพ
14. ผู้เห็นชอบโครงการ
(นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้)
หัวหน้าโครงการ
(อาจารย์ชัยณรงค์ จารุพงศ์พัฒนะ) (อาจารย์ชญาณิศวร์ ยิ้มสวัสดิ์)
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
(อาจารย์เชษฐภูมิ วรรณไพศาล)
หัวหน้าสาขาวิชาสังคมศึกษา
(รองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง)
หัวหน้าภาควิชาหลักสูตร การสอนและการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57somdetpittayakom school
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาPinmanas Kotcha
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557somdetpittayakom school
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนarunrat bamrungchit
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยKobwit Piriyawat
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555Sircom Smarnbua
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 Watcharasak Chantong
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกsomdetpittayakom school
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้Suhaiming Lotanyong
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินสมนึก สุดหล่อ
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาSaranda Nim
 

La actualidad más candente (20)

แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
5กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ575กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ57
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 

Destacado

11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล
2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล
2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ
2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ
2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบังmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Destacado (14)

11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
 
2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล
2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล
2554 ค่ายปันน้ำใจให้น้อง มหิดล
 
2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ
2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ
2554 ขอทุนค่ายกลางปี ครุศาสตร์ จุฬาฯ
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 

Similar a ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1 Prasong Somarat
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
Best1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูBest1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูPrasong Somarat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 

Similar a ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 (20)

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Best1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูBest1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครู
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Más de mahaoath พระมหาโอ๊ท

พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทองmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียงmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อนmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Más de mahaoath พระมหาโอ๊ท (14)

พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
 
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยากรับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 

ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5

  • 1. แบบโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. ชื่อโครงการ โครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “สหวิทยาการ: สร้างโอกาส เพิ่มปัญญา พัฒนาท้องถิ่น” 2. ลักษณะโครงการ  โครงการใหม่  โครงการต่อเนื่อง จากปี 2559 3. ผู้รับผิดชอบโครงการ สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4. ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น - 5. หลักการและเหตุผล การศึกษานับว่าเป็นสิ่งที่มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้เกิด พลเมืองที่มีคุณภาพ อันจะนาไปสู่การพัฒนาในด้านต่างๆ แต่ด้วยปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นทาให้การจัด การศึกษาในส่วนของภาครัฐจัดให้ เป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นต่อการเสริมสร้างการเรียนรู้ด้าน วิชาการ เพื่อประโยชน์ในการวัดและประเมินผลระดับชาติ และ/หรือ เพื่อการสอบเข้าศึกษาต่อ ด้วยการบ่มเพาะค่านิยมทางการศึกษารูปแบบเดิม ผู้เรียนจึงขาดความสัมพันธ์ในการเชื่อมโยงองค์ ความรู้และการประยุกต์ใช้ เพื่อเกิดประโยชน์อย่างแท้จริงในบริบทแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นของ ผู้เรียน ดังนั้นแล้ว การส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่พร้อมต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต จึงควรเป็นการเรียนรู้ที่มากกว่าวิชาการ นั้นคือการพัฒนาทักษะที่จาเป็น เพื่อการจัดการ เรียนรู้เพื่อตนเองของผู้เรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงแนวทางการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพในสังคม ด้วยปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น ทางกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้เสนอโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “สร้างโอกาส เพิ่ม ปัญญา พัฒนาท้องถิ่น” เพื่อเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเปิด
  • 2. โลกทัศน์แห่งการเรียนรู้ โดยอาศัยชุมชน สิ่งแวดล้อม และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นผ่านการจัดกิจกรรม เชิงวิชาการ รวมทั้งการสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน(Project Based Learning) อันมุ่งเน้นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยกระบวนการลงมือปฏิบัติ(Active Learning) และเป็น ส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้และสร้างความพร้อมให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า ของท้องถิ่นและเป็นผู้ที่มีทักษะในศตวรรษที่ 21 มีความสุขกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในขณะเดียวกันก็ เป็นการสร้างความเป็นนักศึกษาครูมืออาชีพที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษารูปแบบใหม่ สร้าง ครูที่มีทักษะการสร้างสรรค์การเรียนรู้โดยในท้องถิ่นเป็นฐาน ผ่านสหวิทยาการ ด้วยความร่วมมือของ นักศึกษาในคณะ ต่างคณะ ต่างสถาบัน และต่างชุมชน เพื่อสร้างทางเลือกและกระบวนการเรียนรู้ที่ หลากหลายให้กับผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับปณิธานของโครงการว่า “สร้างโอกาส เพิ่มปัญญา พัฒนา ท้องถิ่น” ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นส่วนในการกระตุ้นและสร้างผู้เรียนคุณภาพ ตลอดจนนักศึกษาครู คุณภาพ เพื่อเป็นกาลังในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ต่อไป 6. วัตถุประสงค์ของโครงการ 6.1 เพิ่มพูนศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนด้านวิชาการและทักษะทางสังคมศึกษา ผ่าน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งวิทยาการชุมชนในเชิงสหวิทยาการ เพื่อให้ผู้เรียนเป็น ผู้ที่มีความพร้อมและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 6.2 ขยายโอกาสทางการศึกษาของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านกิจกรรมการแนะแนวด้าน การศึกษาต่อ 6.3 เพื่อพัฒนาทักษะการสอนของนักศึกษาสู่การเป็นนักศึกษาครูมืออาชีพและสร้างความ ร่วมมือเชิงสหวิทยาการ และก้าวสู่รูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ในอนาคตต่อนักศึกษา 7. กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ 1. มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 400 คน 2. มีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 130 คน 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในภาพรวม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ ทักษะ และเจตคติ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติ(Active Learning) 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนในวิชาสังคมศึกษา และใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เหมาะสม ในการเลือกศึกษาต่อใน คณะ/สาขาวิชา ที่มีความสนใจได้ 3. กลุ่มนักศึกษาได้เพิ่มพูนทักษะในด้านการสร้างกระบวนการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์
  • 3. ผ่านความร่วมมือเชิงสหวิทยาการแก่เยาวชนรุ่นน้องที่อยู่ในพื้นที่ชนบทห่างไกล เป้าหมายด้านประชากร 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 2. นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และนักศึกษา ผู้สนใจ 8. วิธีการดาเนินงาน กิจกรรม ปี 2559-2560 (ระบุเดือนที่ดาเนินการ) ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อจัดทาร่างโครงการ ธันวาคม นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้ 2. เสนอโครงการเพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาอนุมัติ มกราคม นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้ 3. สารวจสถานที่จัดกิจกรรม มีนาคม นายธนินท์รัฐ เจริญธีราพงษ์ 4. จัดหางบประมาณ กุมภาพันธ์ – เมษายน นางสาวณิชกานต์ บัวคามา 5. จัดเตรียมกิจกรรม กุมภาพันธ์ – มีนาคม นางสาวสุวนันท์ ชูเล็ก 6. เตรียมค่าย กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม นางสาวธันย์ฐิตา วรกุลศิริศักดิ์ 7. จัดค่าย 22-26 พฤษภาคม นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้ 8. สรุปผลการดาเนินงาน พฤษภาคม นายธนากร สร้อยเสพ 9. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 22-26 พฤษภาคม พ.ศ.2560 10. สถานที่ปฏิบัติงาน โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 11. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดีครั้งที่ 5 ผู้จัดกิจกรรมได้ใช้รูปแบบ กระบวนการเรียนรู้ในห้องเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ซึ่งเป็นกระบวนการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ (Learning by doing) ผ่านกิจกรรมที่วางไว้ โดยทีมผู้สอน (team teaching) จะเป็นเพียงผู้อานวยความสะดวกและให้คาแนะนาระหว่างการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ได้นา 7
  • 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้แก่ ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สุขศึกษาและพลศึกษา, ศิลปะ, การงานอาชีพและเทคโนโลยี, และ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) มาบูรณาการกับกิจกรรมนอกห้องเรียน ได้แก่ .... โดยทั้ง 7 กิจกรรม จะดาเนินการอย่างสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปี นอกจากนี้ ยังมีรายวิชากิจกรรมภายในห้องเรียน ได้แก่ “กิจกรรมแนะแนว” ซึ่งเป็นกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง สามารถกาหนดเป้าหมายและวางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและการประกอบอาชีพในอนาคตได้ และ “กิจกรรมพลังมด ลดขยะ” โดยให้ผู้เรียนได้รู้จักการบริหารจัดการขยะในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสามารถ นาไปปรับประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ มีเป้าประสงค์ให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การสังเกต การทางานร่วมกับผู้อื่น และเห็นคุณค่าของท้องถิ่นตนเอง สะท้อนออกมาใน ลักษณะของการพัฒนาและก่อให้เกิดนวัตกรรมเพื่อชุมชน ตามแนวคิด “ประเทศไทย 4.0” รายวิชา 1. กิจกรรมแนะแนว ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3  คาอธิบายรายวิชา : วิชาแนะแนวเป็นวิชาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จัก ตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิต ทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและ เข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วม พัฒนาผู้เรียน  หัวหน้า “กิจกรรมแนะแนว” : นางสาวจารีย์พร สีสุก 2. กิจกรรมพลังมด ลดขยะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3  คาอธิบายรายวิชา : กิจกรรมพลังมด ลดขยะ เป็นกิจกรรมที่เกิดจากปัญหาขยะในโรงเรียน ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่มีอยู่ในทุกโรงเรียนซึ่งมีปริมาณมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตเป็นอย่างมาก การกาจัดขยะนับวันจะมีความยุ่งยากและต้อง สิ้นเปลืองพลังงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้พื้นที่รองรับขยะในแต่ละพื้นที่ของโรงเรียนนับวันจะหายาก เพราะกระทบกับวิถีชีวิตชุมชน ดังนั้นจาเป็นที่ต้องมีการบริหารจัดการอย่างถูกวิธี โดยทุกคน ต้องมีส่วนร่วมจึงจะสามารถควบคุมปัญหาขยะได้อย่างยั่งยืน ทุกคนในโรงเรียนอันมีนักเรียนที่ เปรียบดังว่าเป็นพลังเล็ก ๆ ถือว่าเป็นกลไกสาคัญที่จะได้ส่งเสริมเพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ
  • 5. เกี่ยวกับการจัดการขยะได้ ปัญหาขยะก็จะลดน้อยลง และส่งผลให้โรงเรียนสะอาด สวยงาม น่า อยู่ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และปราศจากมลพิษ  หัวหน้า “กิจกรรมพลังมด ลดขยะ” : นางสาวชรินรัตน์ คันทะสินธ์ ข้อมูลทั่วไป ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ประจาปีการศึกษา 2560 จานวนนักเรียน/ห้องเรียน1 : ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 : (รอข้อมูลจากโรงเรียน) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 : ม.2/1 นักเรียน 35 คน ม.2/2 นักเรียน 26 คน ม.2/3 นักเรียน 32 คน ม.2/4 นักเรียน 34 คน ม.2/5 นักเรียน 29 คน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 : ม.3/1 นักเรียน 29 คน ม.3/2 นักเรียน 29 คน ม.3/3 นักเรียน 29 คน คาบเรียน : เรียนวันละ 7 คาบ คาบละ 55 นาที 1 ปรับปรุงจากข้อมูลรายชื่อนักเรียนโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม ประจาปีการศึกษา 2559
  • 6. ตารางเรียนโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน แนะแนว HR 24 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน พลังมด ลดขยะ HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 7. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ แผนผังสุขภาพชุมชน HR 24 พ.ค. 60 HR แนะแนว แผนผังสุขภาพชุมชน HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 8. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR แนะแนว ประวัติชุมชน HR 24 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ประวัติชุมชน HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 9. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ แผนผังสุขภาพชุมชน HR 24 พ.ค. 60 HR แนะแนว แผนผังสุขภาพชุมชน HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 10. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน แนะแนว HR 24 พ.ค. 60 HR โครงสร้างองค์กรชุมชน พลังมด ลดขยะ HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 11. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต พลังมด ลดขยะ HR 24 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต แนะแนว HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 12. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR แนะแนว ปฏิทินชุมชน HR 24 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ปฏิทินชุมชน HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 13. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ประวัติชุมชน HR 24 พ.ค. 60 HR แนะแนว ประวัติชุมชน HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 14. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR แนะแนว ปฏิทินชุมชน HR 24 พ.ค. 60 HR พลังมด ลดขยะ ปฏิทินชุมชน HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 15. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต พลังมด ลดขยะ HR 24 พ.ค. 60 HR ประวัติชีวิต แนะแนว HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 16. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR แผนที่เดินดิน แนะแนว HR 24 พ.ค. 60 HR แผนที่เดินดิน พลังมด ลดขยะ HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 17. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ พลังมด ลดขยะ HR 24 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ แนะแนว HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 18. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 08.00 08.30 – 09.30 09.30 – 10.30 10.30 – 11.30 11.30 – 12.30 12.30 – 13.30 13.30 – 14.30 14.30 – 15.30 16.00 21 พ.ค. 60 เดินทางไปโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม 22 พ.ค. 60 พิธีเปิด พักกลางวัน Workshop เครื่องมือเรียนรู้ชุมชน HR 23 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ แนะแนว HR 24 พ.ค. 60 HR แผนผังเครือญาติ พลังมด ลดขยะ HR 25 พ.ค. 60 HR สสส. สสส. HR 26 พ.ค. 60 HR เตรียมนิทรรศการ นิทรรศการ นิทรรศการ พิธีปิด 27 พ.ค. 60 เดินทางไปมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 19. ตารางสอนโครงการต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5 แนะแนว พลังมด ลดขยะ 23 พฤษภาคม 2560 (เช้า) ม.1/3 ม.2/2 ม.2/4 ม.1/2 ม.1/4 ม.2/3 23 พฤษภาคม 2560 (บ่าย) ม.1/1 ม.1/5 ม.3/1 ม.3/3 ม.2/1 ม.2/5 ม.3/2 24 พฤษภาคม 2560 (เช้า) ม.1/2 ม.1/4 ม.2/3 ม.1/3 ม.2/2 ม.2/4 24 พฤษภาคม 2560 (บ่าย) ม.2/1 ม.2/5 ม.3/2 ม.1/1 ม.1/5 ม.3/1 ม.3/3 คณะทางานฝ่ายวิชาการ 1. นางสาวธัญญ์ฐิตา วรกุลสิริศักดิ์ รองหัวหน้าโครงการฝ่ายวิชาการและงานกิจการ เบอร์โทรศัพท์ 085 410 5443 2. นายสหรัฐ เพิ่มทรัพย์ หัวหน้างานวิชาการ เบอร์โทรศัพท์ 061 624 6363 3. นายมนัสชัย ปามะ ผู้ดาเนินงาน เบอร์โทรศัพท์ 0813522476 4. นางสาวชรินรัตน์ คันทะสินธ์ ผู้ดาเนินงาน เบอร์โทรศัพท์ 0890731602 5. นายวรากร สิทธิน้อย ผู้ดาเนินงาน เบอร์โทรศัพท์ 0947145731 6. นายนรากร หิงทอง ผู้ดาเนินงาน เบอร์โทรศัพท์ 062 256 7300
  • 20. ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ณ โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม ทางโครงการได้ดาเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและตามแหล่งการเรียนรู้นอกสถานที่ จานวน ๗ กิจกรรมการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ กิจกรรมการเรียนรู้แหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ กิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานที่เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อตอบสนองการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐาน(Project Based Learning) ผ่านแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ด้วยกระบวนการเรียนรู้สหวิทยาการที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ(Active Learning) โดยมีเครื่องมือวิถีชุมชน 7 ชิ้น ของนายแพทย์โกมาตร จึง เสถียรทรัพย์ ดังนั้นการดาเนินกิจกรรมจึงเป็นกระบวนการผ่านเครื่องมือสารวจและเรียนรู้ชุมชน เพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะและสามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง 1.1) กิจกรรม “ฝิ่น: พืชเงินสด กาหนดเศรษฐกิจ” สถานที่จัดกิจกรรม : หอฝิ่น มาตรฐานการเรียนรู้ ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมมีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คาอธิบาย ในอดีตฝิ่นมีอิทธิพลแทรกซึมในภูมิภาคต่างๆของโลก เข้าครอบงาระบบเศรษฐกิจและเป็น มาตรฐานในการแลกเปลี่ยนที่สาคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่ง พื้นที่อาเภอเชียงแสนก็เป็น 1 ในพื้นที่ที่ถูก กาหนดด้วยนโยบายการปลูกฝิ่นของประเทศจีน การเข้ามาของฝิ่นก่อให้เกิดอาชีพ และความมั่งคั่ง ประกอบกับการเป็นจุดยุทธศาสตร์สาคัญที่มีแม่น้าโขงไหลผ่าน จึงสามารถติดต่อกับประเทศบริเวณลุ่ม น้าโขงได้ดี นั้นคือบริเวณ “สามเหลี่ยมทองคา” เมื่อพื้นที่บริเวณนี้ ทวีความสาคัญขึ้นจากการมีฝิ่น การสร้างมูลค่าและความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจระหว่างประเทศเจริญขึ้น ให้คานิยามแทนฝิ่น ว่าเป็น ทองดา เพื่อใช้เรียกแทนมูลค่ามหาศาล แต่ในปัจจุบัน นโยบายของประเทศไทยได้เข้ามาเปลี่ยนแปลง ระบบวิธีคิด และมูลค่าของฝิ่น จากทรัพย์สินกลับกลายเป็นยาเสพติด การเคลื่อนย้ายของความสาคัญ ถึงการมีอยู่ของฝิ่นถูกโอนผ่านระบบวิธีคิดแบบใหม่ ส่งผลถึงการแทนที่ของสินค้าทางเศรษฐกิจที่ นโยบายรัฐมอบให้ การลงพื้นที่ ณ พิพิธภัณฑ์บ้านฝิ่น ผู้ร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์เชิง
  • 21. เศรษฐกิจ รวมถึงศึกษาผลกระทบ และท้ายสุด ผู้เรียนจะสามารถเข้าใจในความสาคัญของ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเชิงเศรษฐกิจ และสามารถถอดบทเรียนจากอดีตสู่การสร้างสรรค์ แนวทางแห่งการปรับตัวเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของตน เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: โครงสร้างองค์กรชุมชน (Community Organizations) -------------------------------------- 1.2)กิจกรรม “หนองบงคาย : ทะเลสาบเชียงแสน ดินแดนในตานาน” สถานที่จัดกิจกรรม: หนองบงคาย มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้าน ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมมีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คาอธิบาย พื้นที่บริเวณหนองบงคายในอดีต ได้ชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งของเวียงหนองหล่ม ซึ่งเวียงหนองหล่ม ถือเป็นพื้นที่สาคัญในการตั้งเมืองเชียงแสนในอดีต ตามตานานเมืองเชียงแสนที่กล่าวขานกันมา ปัจจุบัน หนองบงคายได้มีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทางกายภาพเป็นพื้นที่ชุ่มน้า และเป็นพื้นที่ชุ่มน้า 1 ใน 12 แห่งของ ประเทศไทยภายใต้อนุสัญญาแรมซาร์ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์และยับยั้งพื้นที่ชุ่มน้าภายในโลก ซึ่งทาให้เกิดการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเชิงปศุสัตว์ เกษตรกรรม และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ลักษณะ ดังกล่าว สะท้อนถึงความเชื่อทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่ โดยมีการปรับเปลี่ยนมาใช้ประโยชน์ในพื้นที่ บริเวณเดียวกันตามกาลเวลา ผู้ร่วมกิจกรรมจะได้ร่วมกันสืบเสาะแสวงหาความจริงโดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์นามาสู่การวิเคราะห์สาเหตุที่เกิดขึ้นสู่การอธิบายอย่างเป็นเหตุผล และเป็นขั้นตอนนามา ผนวกกับองค์ความรู้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ ท้ายที่สุด ผู้ร่วมกิจกรรมจะสามารถจุด ประกายความคิดสู่การพัฒนาพื้นที่ให้สามารถก้าวสู่ความเป็นโลกาภิวัตน์ได้ เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ประวัติศาสตร์ชุมชน (Local History) --------------------------------------
  • 22. 1.3)กิจกรรม “สบรวกศึกษา : ชาติพันธุ์บนความสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม” สถานที่จัดกิจกรรม:บ้านสบรวก มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลก อย่างสันติสุข มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น คาอธิบาย ชาติพันธุ์ที่หลากหลายก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ความเป็นตัวตนของตนเอง เพื่อแสดงและยืน หยัดการมีตัวตน ภายใต้พื้นที่ลุ่มน้าเดียวกัน การปรับตัวและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใหม่ๆจึงเกิด ขึ้นมาเพื่อการดารงชีวิต และเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในชุมชน ทั้งในส่วนของ ภูมิปัญญาด้าน อาหาร ภูมิปัญญาด้านศาสนา หรือภูมิปัญญาทางชีวิต ในหน่วยกิจกรรมนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาความเป็น เอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ที่มีความหลากหลายในบริเวณพื้นที่เดียวกันในทางภูมิศาสตร์ ผ่านทัศนะการ เกิด การสืบทอด และการสูญหายทางวัฒนธรรม นอกจากนั้นผู้เรียนจะสร้างองค์ความรู้ของตนเองผ่าน วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อเรียนรู้เหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงที่กาลังปรับตัวเพื่อการเป็นส่วน หนึ่งของชุมชนเดียวกัน และเพื่อการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมโลก ท้ายที่สุดผู้เรียนจะสามารถแสดง ทัศนะร่วมกันหาแนวทางเพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมใหม่ที่จะนาความเป็นอัตลักษณ์ ของชาติพันธุ์ไปสู่ความยั่งยืนและความเป็นสากลของโลกาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21 เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ผังเครือญาติ (Genogram) -------------------------------------- 1.4 )กิจกรรม“ ภูมิปัญญาเชียงแสน : อิทธิพลศาสนาผ่านลุ่มน้า “ สถานที่จัดกิจกรรม: วัดเจดีย์หลวง มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
  • 23. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น คาอธิบาย ลุ่มน้า ถือเป็นปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่สาคัญในการตั้งถิ่นฐานของประชากร ซึ่งการตั้งถิ่นฐานนั้น จะเกิดขึ้นควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะวัตถุธรรม การขยาย อิทธิพลในด้านต่างๆจึงมักจะขยายไปพร้อมกับความเป็นเอกลักษณ์ของภูมิปัญญานั้นๆ เช่น ภูมิปัญญา เชียงแสน ที่มีการขยายอิทธิพลผ่านการใช้วัตถุธรรมทางศาสนาเป็นเครื่องมือ หลักฐานของการขยาย อิทธิพลของภูมิปัญญาเชียงแสนที่สะท้อนอย่างเด่นชัด คือ พระพุทธรูปเชียงแสน บ่งชี้ถึงสาคัญของ ศาสนาที่มีผลต่อวิถีชีวิตของคนดังนั้นการมีอยู่ของพระพุทธรูปภูมิปัญญาเชียงแสน จึงเป็นเครื่องมือที่ ช่วยอธิบายความสาคัญและความสัมพันธ์ของเมืองต่างๆต่อเมืองเชียงแสน ในแหล่งเรียนรู้นี้ผู้เรียนจะ เรียนรู้ถึงการกระจายและอิทธิพลของเชียงแสนต่อเมืองต่างๆ อาศัยปัจจัยเกื้อหนุนที่ผ่านกระบวนการ คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยกระบวนทัศน์วิธีการทางประวัติศาสตร์ผนวกกับปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มี ส่วนสาคัญต่อการขยายอิทธิพลผ่านลุ่มน้าของภูมิปัญญาเชียงแสน ท้ายสุดผู้เรียนจะสามารถนามาองค์ ความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียนมาประยุกต์ใช้และเกิดการสร้างสรรค์แนวทางเพื่อการพัฒนา ผลิต ชิ้นงาน และเผยแพร่องค์ความรู้ของตน ผ่านบทเรียนเพื่อการขับเคลื่อนภูมิปัญญาทางศาสนาสู่ความ เป็นสากล เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ประวัติชีวิต (Life Story) -------------------------------------- 1.5 )กิจกรรม“ สามเหลี่ยมทองคา : พื้นที่แบ่งปันแห่งลุ่มน้าโขง “ สถานที่จัดกิจกรรม:สามเหลี่ยมทองคา มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลก อย่างสันติสุข มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
  • 24. คาอธิบาย สามเหลี่ยมทองคา เป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างสามประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ลาว และ เมียนมาร์ มีลักษณะเป็นพื้นที่สามเหลี่ยมบรรจบกัน โดยมีแม่น้าโขงและแม่น้ารวกเป็นพรมแดน ธรรมชาติ พื้นที่บริเวณนี้เต็มเปี่ยมไปด้วยความหลากหลายทั้งทางวัฒนธรรม ประเพณี และความอุดม สมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ แต่เนื่องด้วยเป็นพื้นที่ที่ต้องพึ่งพาอาศัยและแบ่งปันทรัพยากรที่มี ร่วมกันในบริเวณโดยรอบ ทาให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม ประเพณีร่วม นอกจากนี้พื้นที่บริเวณ สามเหลี่ยมทองคายังเป็นพื้นที่สาคัญทางการค้า เนื่องด้วยเป็นแหล่งทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์ ความ เหมาะสมของทาเลที่ตั้ง ซึ่งอยู่ไม่ห่างจากจีนมากนัก จึงถือเป็นข้อได้เปรียบในการทาการค้าในพื้นที่ ดังกล่าว โดยยึดหลักการอยู่ร่วมกันอย่างแบ่งปันและสันติสุข ในแหล่งการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนจะสามารถ วิเคราะห์ถึงข้อได้เปรียบ เสียเปรียบ ในการพึ่งพาอาศัยกันในด้านต่างๆของประเทศอาณาเขตโดยรอบ พื้นที่สามเหลี่ยมทองคา นาไปสู่การนาเสนอแนวคิดการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ผ่านการใช้พื้นที่แบ่งปัน อย่างสร้างสรรค์และคุ้มค่า นอกจากนี้ ผู้เรียนจะสามารถสร้างชิ้นงานหรือผลงานที่จะสะท้อนถึงการมี ส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่แบ่งปันระหว่างประเทศต่างๆได้ เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: ปฏิทินชุมชน (Community Calendar) -------------------------------------- 1.6 )กิจกรรม “ ชุมชนเชียงแสน : เมื่อท้องถิ่นกลายเป็นเมือง “ สถานที่จัดกิจกรรม: ชุมชนริมน้าโขงเชียงแสน มาตรฐานการเรียนรู้ ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการ บริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของ สรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คาอธิบาย จากกาลเวลาตามประวัติศาสตร์จะเห็นว่าเชียงแสนมีบริบทความเป็นเมืองที่ต่างกันตามยุค ตามสมัย มีการเปลี่ยนแปลงมากมายหลายด้านทั้งลักษณะสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนไปเนื่องจากระบบ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงจากระบบยังชีพแต่เดิม เป็นระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้าขาย ลักษณะดังกล่าวจึง ทาให้เกิดการเปลี่ยนกระบวนการวิธีคิดของผู้คนในท้องถิ่นเชียงแสนด้วย ส่งผลต่อการใช้
  • 25. ทรัพยากรธรรมชาติในท้องที่ อ.เชียงแสนในการผลิตและการบริโภคใช้เพื่อตอบสนองความต้องการ อย่างไม่จากัดมากขึ้น การผลิตและใช้ทรัพยากรที่ตอบสนองระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้าของคนในพื้นที่นี้ เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดกระบวนการกลายเป็นเมือง (Urbanlization) ในบริเวณพื้นที่ ชุมชนเชียงแสน แต่เดิมมีความเป็นท้องถิ่นแต่เมื่อผ่านไปตามยุคสมัยและกาลเวลา ชุมชนเชียงแสนมีความเป็นเมืองมาก ขึ้น สังเกตได้จากลักษณะบ้านเรือนที่มีการเปลี่ยนแปลงจากศิลปะบ้านเรือนแบบท้องถิ่นล้านนามาเป็น ตึกแถวมากขึ้น กิจกรรมชุมชนเชียงแสนนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ประโยชน์จากการใช้เครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ นั่นก็คือ แผนที่เดินดิน (Geo-social mapping) ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลกระบวนการ กลายเป็นเมือง (Urbanlization) และได้นาองค์ความรู้เหล่านี้ศึกษาทาความเข้าใจกับชุมชนเชียงแสนของ ตนมากขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: แผนที่เดินดิน (Geo-social mapping) -------------------------------------- 1.7 )กิจกรรม “ครัว : เล่าเรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน ผ่านภูมิปัญญาอาหารชุมชน “ สถานที่จัดกิจกรรม:โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม และ ตลาดในเมืองเชียงแสน มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่ ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คาอธิบาย สมุนไพรพื้นบ้าน เป็นพืชที่มีประโยชน์มากมายใช้ทาเป็นอาหาร ยารักษาโรค โดยใช้ส่วนต่าง ของพืชชนิดเดียวหรือหลายชนิดพร้อมกัน สมุนไพรพื้นบ้านหาได้ง่ายตามพื้นบ้านพื้นถิ่น สมุนไพรบาง ชนิดมีเฉพาะถิ่นเฉพาะที่ เคยมีการศึกษาวิจัยการใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านของกลุ่มชนพื้นเมืองตามป่าเขา หรือในชนบทที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษที่ได้สังเกตว่าพืชใดนามาใช้บาบัดโรคได้ มีสรรพคุณ อย่างไร จากการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ และการทดลองแบบพื้นบ้านที่ได้ทั้งข้อดีและข้อผิดพลาด จากความเป็นมาและคุณประโยชน์ดังกล่าวของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน เป็นสิ่งที่น่าสนใจในการทากิจกรรม ศึกษาความรู้จากสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่น อ.เชียงแสน ที่ผู้คนในท้องถิ่นใช้ในการประกอบรายการ อาหารเพื่อรับประทานกันในชีวิตประจาวัน ในการศึกษากิจกรรมนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้องค์ความรู้ เรื่องของสมุนไพรพื้นบ้าน เห็นกระบวนการกว่าจะนาสมุนไพรพื้นบ้านมาประกอบเป็นอาหารพื้นเมือง แต่ละชนิด และผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้ทักษะการทาอาหารโดยใช้สมุนไพรพื้นบ้าน ในพื้นที่ อ.เชียงแสนอีกด้วย
  • 26. เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: แผนผังสุขภาพชุมชน (Community health mapping) -------------------------------------- 1.8 )กิจกรรม “สื่อ : สร้างสรรค์สื่อ เล่าลือชุมชนของฉัน“ สถานที่จัดกิจกรรม:แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและ สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของ สรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คาอธิบาย การผลิตสื่อวีดีทัศน์ เป็นการทางานร่วมกันเป็นทีมซึ่งต้องมีผู้นาที่มีหน้าที่รับผิดชอบ มี ความสามารถในการวางแผนดาเนินการและตัดสินใจได้ดีในฐานะผู้กากับรายการ การผลิตสื่อวีดีทัศน์ จะมีหลากหลายหน้าที่ ทั้งในการพัฒนาแนวทางดาเนินการผลิตสื่อ ด้านเทคนิคการผลิต และด้าน ความคิดสร้างสรรค์การผลิต ตลอดจนถึงการลงมือการผลิต จากลักษณะกระบวนการทางานดังกล่าว กิจกรรมสื่อสร้างสรรค์นี้จะเป็นกิจกรรมที่ให้ประโยชน์แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการลงพื้นที่ผลิตสื่อวีดี ทัศน์ในบริเวณพื้นที่ อ.เชียงแสน ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเอง ประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วม กิจกรรมนี้ จะมีทั้งกระบวนการทางานผู้ร่วมปฏิบัติการผลิตสื่อวีดีทัศน์จะต้องให้คาปรึกษาหารือกัน แนะนากัน และทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ขั้นประชุมก่อนการวางแผนไปถึงขั้นตอนสุดท้าย ของการลาดับภาพ และขั้นตอนต่างๆ และที่สาคัญคือผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะเข้าใจชุมชนของตนเองมาก ขึ้นจากกระบวนการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศศึกษาค้นคว้า การผลิตสื่อวีดีทัศน์จะประสบ ความสาเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับการวางแผนการผลิต และการทางานของฝ่ายสร้างสรรค์ที่ดี โดยอาศัย จินตนาการ ความอดทนและความรู้ รวมทั้งศิลปะหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนั้นการผลิตรายการวีดีทัศน์ ผู้ผลิตต้องคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ มากมาย เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม: กระบวนการผลิตวีดีทัศน์และภาพยนตร์ --------------------------------------
  • 27. 12. งบประมาณ เด็กนักเรียน 400 คน / ผู้เข้าร่วมโครงการ 130 คน ฝ่ายกิจกรรม - มี 7 กิจกรรม ค่าอุปกรณ์ทาสื่อกิจกรรม ฐานละ 1,500 บาท : 1500 x 7 = 10,500 บาท - ชุดฝึกกิจกรรมของนักเรียน ชุดละ 50 บาท : 50 x 400 = 20,000 บาท - ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรม 23/05/60 24/05/60 ค่าน้ามันรถ 2 คัน 1,000 บาท 1,000 บาท ค่าคนขับรถ 2 คน 1,000 บาท 1,000 บาท รวม 4,000 บาท ผลงาน/ชิ้นงานของเด็กนักเรียน - ค่าอุปกรณ์ทาชิ้นงานของนักเรียน ห้องละ 1,000 บาท ทั้งหมด 13 ห้อง : 1,000 x 13 = 13,000 บาท ฝ่ายสื่อ - ค่าจัดทาป้ายไวนิลค่าย 1,200 บาท - ค่าจัดทาวารสาร ถอดบทเรียนจากกิจกรรม จานวน 10 เล่ม : 10 x 150 = 1,500 บาท ฝ่ายประสานงาน - ค่าจัดส่งเอกสาร 3,000 บาท ฝ่ายสวัสดิการ ( ค่าอาหาร ) - เลี้ยงอาหารกลางวันนักเรียน คนละ 20 บาท จานวน 5 มื้อ : ( 20 x 400 ) x 5 = 40,000 บาท - เลี้ยงอาหารว่างนักเรียน คนละ 10 บาท จานวน 5 มื้อ : ( 10 x 400 ) x 5 = 20,000 บาท - เลี้ยงอาหารผู้จัดกิจกรรม คนละ 20 บาท จานวน 12 มื้อ : (20 x 130 ) x 12 = 31,200 บาท เดินทาง เชียงใหม่ – เชียงแสน ( ไป-กลับ) - ค่ารถตู้ คันละ 3,200 บาท/รอบ จานวน 11 คัน : ( 3,200 x 11 ) x 2 = 70,400 บาท รวมทั้งสิ้น = 213,600 บาท 13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 12.1 นักเรียนเป็นผู้ที่มีความพร้อมและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 12.2 นักเรียนมีโอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น 12.3 นักศึกษาได้พัฒนาทักษะการสอนนาสู่การเป็นนักศึกษาครูมืออาชีพ
  • 28. 14. ผู้เห็นชอบโครงการ (นายณัฐวุฒิ เปาหลิมหลี้) หัวหน้าโครงการ (อาจารย์ชัยณรงค์ จารุพงศ์พัฒนะ) (อาจารย์ชญาณิศวร์ ยิ้มสวัสดิ์) อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ (อาจารย์เชษฐภูมิ วรรณไพศาล) หัวหน้าสาขาวิชาสังคมศึกษา (รองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง) หัวหน้าภาควิชาหลักสูตร การสอนและการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่