SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 42
Descargar para leer sin conexión
1
ความหมาย บทบาทและความสําคัญของคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรคืออะไร
ปจจุบันจะพบวาคอมพิวเตอรมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งขนาดคอมพิวเตอรพกพา
คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ คอมพิวเตอรแบบกกระเปาหิ้ว คอมพิวเตอรขนาดใหญ เชน คอมพิวเตอร
เมนเฟรม หรือซุปเปอรคอมพิวเตอร แตไมวาจะเปนรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอรก็มีความหมายที่
ชัดเจนในตัวของมันเองคือเครื่องคํานวณ ในรูปของอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่สามารถรับขอมูลและ
คําสั่งนั้นไปประมวลดวยหนวยประมวลผลเพื่อใหไดผลลัพธที่ตองการ และแสดงผลผานอุปกรณ
แสดงผลตลอดจนสามารถบันทึกรายการตาง ๆ ไวเพื่อใชงานไดดวยอุปกรณบันทึกขอมูลสํารอง
คอมพิวเตอรจึงสามารถมีรูปรางอยางไรก็ได ไมจําเปนตองเปนรูปรางอยางที่เราคุนเคยหรือ
พบเห็น ตัวอยางเชน เครื่องฝากถอดเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรรูปแบบ
หนึ่ง
เหตุผลที่นําคอมพิวเตอรมาใชงาน
1. สามารถบันทึกขอมูลตาง ๆ ไดรวดเร็ว เชน การใชเครื่องอานหัสแทง (Bar - Code)
อานเวลา เขา-ออก ของพนักงานและคิดราคาสินคา ในหางสรรสินคา
2. สามารถเก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ไวฐานขอมูล (Database) เพื่อใชงานไดทันที
3. สามารถนําขอมูลที่เก็บไวมาคํานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุม ทํารายงานลักษณะ
ตาง ๆ ไดโดยระบบประมวลผลขอมูล (Data Processing)
4. สามารถสงขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว
5. สามารถจัดทําเอกสารตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว ดวยระบบประมวลผลคํา(Word Processing)
ซึ่งเปนสวนของระบบสํานักงานอัตโนมัติ(Office Automation)
6. การนํามาใชงานทั้งดานการศึกษา การวิจัย
2
7. การใชงานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐตาง ๆ เชน การนําคอมพิวเตอร มาใช
กับงานบัญชี งานบริหารสํานักงาน งานเอกสาร งานจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ
8. การควบคุมระบบอัตโนมัติตางๆ เชน ระบบจราจร ระบบเปด/ปดน้ําของเขื่อน
9. การใชงานเพื่อวิเคราะหตาง ๆ เชน การวิเคราะหสภาวะดินฟาอากาศ สภาพของดิน น้ํา
เพื่อการเกษตร
10. การใชคอมพิวเตอรเพื่อจําลองรูปแบบ เชน การจําลองในงานวิทยาศาสตร จําลองโมเลกุล
จําลองรูปแบบการฝกขับเครื่องบิน
11. การใชคอมพิวเตอรนันทนาการ เชน การเลนเกม การดูหนัง การฟงเพลง
12. การใชคอมพิวเตอรรวมกับเทคโนโลยีล้ําสมัยอื่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารขอมูล เกิด
เครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน
หลักการทํางานของคอมพิวเตอร
การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบดวยหนวยสําคัญ 4 หนวย คือ
1. หนวยรับขอมูลจะรับขอมูลโดยผูใชเปนผูปอนคําสั่งแลวสงไปยังหนวยประมวลผล
2. หนวยประมวลผลโดยทําตามโปรแกรมที่เก็บไวในหนวยความจําหลัก หนวยความจําหลัก
ซึ่งเปนหนวยความจําที่ประมวลผลสามารถอานเขียนไดรวดเร็วมาก ขอมูลจะถูกเก็บไวที่
หนวยความจําหลักเพื่อประมวลผลตีความและกระทําตามไดอยางรวดเร็ว สวนหนวยความจําสํารอง
มีไวสําหรับเก็บขอมูลหรือโปรแกรมที่มีจํานวนมากและหากจะใชงานก็มีการถายจากหนวยความจํา
สํารองมายังหนวยความจําแลวนําขอมูลที่เก็บไวมาประมวลผล
3. หนวยสงออกหรือแสดงผล เปนหนวยที่นําขอมูลที่ไดรับการประมวลมาแสดงผล
ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร
ประมาณป พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอรที่อยูในโลกนี้ไมมากนัก สวนใหญจะเปนเครื่องในระบบ
เมนเฟรมซึ่งมีขนาดใหญและราคาแพง ใชกับงานทางดานวิทยาศาสตรเทานั้น ซึ่งจะไมเกี่ยวของกับ
ชีวิตประจํามากนักแต ในปจจุบันคอมพิวเตอรไดมีขนาดเล็กลง และ ราคาไมแพงนัก คนทั่วไป
สามารถซื้อหามาใชไดเหมือนกับเรื่องใชไฟฟาโดยทั่วไป งานที่คอมพิวเตอรทํา ตัวอยางเชน
1. งานที่ตองจัดเก็บขอมูลเปนจํานวนมาก เชน เก็บขอมูลงานทะเบียนราษฎร เปนตน
2. งานที่ตองอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความถูกตองและแมนยํามากที่สุด เชน งาน
ดานวิทยาศาสตร
3. งานที่ไมตองการหยุดพัก คือทํางานไดตลอดเวลา ในขณะที่ยังมีไฟฟาอยู
4. งานที่คนไมสามารถเขาไปทําได เชน ในสภาพแวดลอมที่เปนอันตรายตอสุขภาพรางกาย
เชน ที่มีกาซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม
3
งานคอมพิวเตอรกับงานการศึกษา
ปจจุบันตามสถานศึกษาตางๆ ไดมีการนําคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอนอยาง
มากมายรวมทั้งใชคอมพิวเตอรในงานบริหารของโรงเรียน เชน การจัดทําประวัตินักเรียน
ประวัติครูอาจารย การคัดคะแนนสอบ การทําตารางสอน ใชคอมพิวเตอร ในงานหองสมุด เปนตน
คอมพิวเตอรยุคที่ 1 (พ.ศ. 2547 - 2501)
คอมพิวเตอรในยุคนี้ใชหลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส เครื่องยัง
มีขนาดใหญมากกระแสไฟฟาจํานวนมาก ทําใหเครื่องมีความรอนสูงจึงมักเกิดขอผิดพลาดงาย
คอมพิวเตอรในยุคนี้ ไดแก VACI, IBM600
เครื่องคอมพิวเตอร Mark1 เครื่องคอมพิวเตอรENIAC
คอมพิวเตอรยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502 - 2507)
คอมพิวเตอรยุคนี้ใชทรานซิสเตอร(Transistor) เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส และใชวงแหวน
แมเหล็กเปนความจํา คอมพิวเตอรมีขนาดเล็กมากกวายุคแรก ตนทุนต่ํากวา ใชกระแสไฟฟานอยกวา
และมีความแมนยํา
คอมพิวเตอรยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508 - 2513)
คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจรไอซี(Integrated Circuit) เปนสารกึ่งตัวนําที่สามารถบรรจุวงจรทาง
ตรรกะไวแลว แผนซิลิกอน (Silicon) เรียกวา “ชิป”
คอมพิวเตอรยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514 - 2523)
คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เปนการรวบรวมวงจรไอซี
จํานวนมากลงในกอนชิป 1 แผน สามารถบรรจุไดมากกวา 1 ลานวงจรดวยเทคโนโลยีใหมทําใหเกิด
แนวคิดในการบรรจุสําคัญสําหรับการทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรนั้นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว
เรียก “ไมโครโปรเชสเซอร”
คอมพิวเตอรยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524 - ปจจุบัน)
คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciuit) การพัฒนา
ไมโครโปรเชสเซอร สิทธิภาพมากขึ้น
4
ลักษณะและประเภทของคอมพิวเตอร
การจัดแบงประเภทเครื่องคอมพิวเตอรอาจจะแบงไดหลายกรณีดวยกัน แตในที่นี้จะอาศัย
หลักการโดยใชความเร็วและขนาดของหนวยความจําบันทึกขอมูลเปนหลักของการแบงลักษณะและ
ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถแบงได 4 ประเภทไดแก
1. Super Computer
2. Mainframc Computer
3. Mini Computer
4. Micro Computer
Super Computer
เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพสูง มีความเร็วในการประมวลผลที่สูงประมาณ 100 คําสั่ง
ตอวินาที และมีขนาดความจําปริมาณมาก ตองการหองที่สามารถปรับอุณหภูมิได และมักจะใช
งานวิจัยตาง ๆ เชนการวิจัยเกี่ยวกับดินฟาอากาศ(อุตุนิยมวิทยา) การวิเคราะหภาพถาวดาวเทียม การ
วิเคราะหดานโมเลกุลของสารตาง ๆ
Mainframc Computer
เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพรองมาจาก Super Computer มีความตองการการ
บํารุงรักษาคลาย ๆ กับ Super Computer แตมักจะพบในองคกรขนาดใหญ เชน ธนาคาร บริษัท
ธุรกิจการบิน และมหาวิทยาลัยตาง ๆ เพราะเปนคอมพิวเตอรที่สามารถเชื่อมโยงกับเครื่องปลายทางได
จํานวนมาก ทําใหสามารถตอบสนองการใชงานระหวางผูใชไดพรอมกันหลาย ๆ คน
Mainframc Computer Mini Computer
Mini Computer
เปนคอมพิวเตอรขนาดกลางที่มักจะพบในหนวยงานบริษัทที่ใชงานดานเฉพาะ เชน
ประมวลผลงานบัญชีสามารถนําไปเชื่อมตอกับเครื่องปลายทางไดหลายเครื่อง โดยมีลักษณะการ
ทํางานแบบ การประมวลผลกระทําสวนกลางแลวนําไปประมวลผลที่ปลายทาง โดยที่เครื่อง
ปลายทางไมตองประมวลผลเอง(Centralized)
5
Micro Computer
คอมพิวเตอรใชงานที่พบไดอยางแพรหลายโดยอาจจะพบไดทั้งในรูปของเครื่องคอมพิวเตอร
สวนบุคคล แบบตั้งโตะ(Personal Computer)หรือแบบพกพา(Portable Computer)ลักษณะตาง ๆ
ลักษณะการใชงานของเครื่องคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรสวนบุคคล(PC) ไมโครคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็ก บาง
คนเห็นวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานสวนบุคคล หรือเรียกวาพีซี (personal Computer : PC)
สามารถใชเปนเครื่องตอเชื่อมในเครือขาย หรือใชเปนเครื่องปลายทาง (tcrminal) ซึ่งอาจจะทําหนาที่
เปนเพียงอุปกรณรับและแสดงผลสําหรับเขียนขอมูลและดูผลลัพธโดยการดําเนินการประมวลผลบน
เครื่องอื่นในเครือขาย อาจจะกลาวไดวาไมโครคอมพิวเตอร คือเครื่องคอมพิวเตอรที่มีหนวย
ประมวลผลกลางเปนไมโครคอมโพรเซสเซอร ใชงานงาย ทํางานในลักษณะสวนบุคคลได สามารถ
แบงแยกไมโครคอมพิวเตอรตามขนาดของเครื่องไดดังนี้
Desktop Laptop Notebook Palmtop
คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (Desktop Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กถูก
ออกแบบมาใหตั้งโตะ มีการแยกชิ้นสวนประกอบเปน ซีพียู จอภาพ และแผงแปนอักขระ
แล็ปท็อปคอมพิวเตอร (Labtop Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่วางใชงาน
บนตักได ภาพที่ใชเปนแบบแบนราบชนิดจอภาพผนึกเหลว (liquid Crystal Display : LCD)
น้ําหนักของเครื่องประมาณ 18 กิโลกรัม โนตบุคคอมพิวเตอร (Notebook Computer) เปน
ไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาดและมีความหนามากกวาแล็บท็อป น้ําหนักประมาณ 1.5-3 กิโลกรัม
จอภาพแสดงผลเปนแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบสีโนตบุคที่มีขายทั่วไปมี
ประสิทธิภาพและความสามารถเสมือนแล็ปท็อป
ปาลมท็อปคอมพิวเตอร (Plamptop Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรสําหรับทํางาน
เฉพาะอยางเชนเปนพจนานุกรม เปนสมุดจดบันทึกประจําวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บขอมูล
เฉพาะบางอยางที่สามารถพกพาติดไปมาไดสะดวก
6
คอมพิวเตอรเครือขาย
คอมพิวเตอรเครือขายกอใหเกิดความสมารถในการปฏิบัติรวมกัน ซึ่งหมายถึงการใหอุปกรณ
ทุกชิ้นตออยูบนเครือขายทํางานรวมกันไดทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผูใชเห็นเสมือน
ระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่ อุปกรณเหลานั้นอาจจะมาตางยี่หอ ตางบริษัทก็ได
7
องคประกอบของคอมพิวเตอรสวนบุคคล
สวนประกอบภายนอกและการการใชงาน
• จอภาพ (Monitor)
• เคส (Casc)
• คียบอรด (Keyborad)
• เมาส (Mouse)
• ลําโพง (Speaker)
• เครื่องสํารองไฟ (UPS)
สวนประกอบภายในและการการใชงาน
• หนวยประมวลผลกลาง (Contral Processing Unit : CPU)
• หนวยความจําสําหรับเก็บขอมูลและคําสั่ง (Data & Programming Memory)
• เมนบอรด (Mainborad)
• ฮารดดิสกไดรฟ (Harddisk Drive)
• ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive)
• ฟล็อปปดิสกไดรฟ (Floppy Disk Drive)
• ชองขยาย (Slot)
• แหลงจายไฟ (Power Supply)
อุปกรณตอพวง
• เครื่องพิมพชนิดตาง ๆ (Printer)
• เครื่องสแกนภาพ (Scanner)
• โมเด็ม (Modem)
8
สวนประกอบภายในและการทํางาน
หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
หนวยประมวลผลกลางเปรียบไดกับสมองของคอมพิวเตอร เปนสวนที่สําคัญที่สุด ทําหนาที่
เปนศูนยกลางในการประมวลผลและควบคุมระบบตาง ๆ ของคอมพิวเตอร ใหทุกหนวยทํางาน
สอดคลองสัมพันธกัน
หลายทานคงสงสัยวาไมโครโพรเซสเซอร(Microprocessor) , ชิป(Chip) , โพรเซสเซอร
(Processor) เหมือนหรือตางจาก CPU หรือไม อยางไร ? คําตอบคือเหมือนกัน จะเรียกชื่ออะไรก็ได
เนื่องจากสวนประกอบภายในวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ซับซอนจํานวนมาก มีทรายซิสเตอรประกอบกัน
เปนวงจรหลายลานตัว แตละชิ้นมีความกวาง 0.35 ไมครอน (ขณะที่เสนผมคนเรามีเสนผาศูนยกลาง
100 ไมครอน ผานกรรมวิธีการผลิตที่สะอาดในโรงพยาบาลเสียอีก สําหรับยี่หอหรือแบรนด ของ
ซีพียูที่ใชในปจจุบัน คือ Intel , AMD , Cyrix)
หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยหนวยยอย ดังนี้
• หนวยควบคุม (Control Unit)
• หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic unit;ALU)
• หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit)
สื่อสารระหวางหนวยงานตาง ๆ ใน CPU จะใชสายสัญญาณที่เรียกวา Bus Line หรือ Data Bus
หนวยควบคุม (Control Unit)
หนวยควบคุมทําหนาที่ควบคุมการทํางานของทุก ๆ หนวยใน CPU และอุปกรณอื่นที่ตอพวง
เปรียบเสมือนสมองที่ควบคุมการทํางานสวนประกอบตาง ๆ ของรางกายมนุษย เชน แปลคําสั่งที่
ปอน ควบคุมใหหนวยรับขอมูลเขามาเปนตัวหารประมวลผล ตัดสินใจวาจะใหเก็บขอมูลไวที่ไหน
ถูกตองหรือไม ควบคุม ALU ทําการคํานวณขอมูลเขามา ตลอดจนควบคุมการแสดงผลลัพธ เปนตน
หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic unit;ALU)
หนวยคํานวณแลตรรกะ ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร (Arithmetic operations) และการ
คํานวณและคณิตศาสตร (Logical operations) โดยปฏิบัติการเกี่ยวกับการคํานวณไดแก การบวก
(Addition) ลบ (Subtraction)
9
คูณ (Multiplication ) หาร (Division) สําหรับการคํานวณทางตรรกศาสตร ประกอบดวย การ
เปรียบเทียบคาจริงหรือคาเท็จ โดยอาศัยปฏิบัติการพื้นฐาน 3 คา คือ
• เงื่อนไขเทากับ ( = , Equal to condition )
• เงื่อนไขนอยกวา ( < , Less than condition)
• เงื่อนไขมากกวา ( >, Greater than condition )
สําหรับตัวปฏิบัติทางตรรกะ สามารถนํามาผสมกันไดทั้งหมด 6 รูปแบบ คือ
• เงื่อนไขเทากับ (=, Equal to condition )
• เงื่อนไขนอยกวา (< , Less than condition )
• เงื่อนไขมากกวา ( >, Greater than condition )
• เงื่อนไขนอยกวาหรือเทากับ (< = , Less than or equal condition )
• เงื่อนไขมากกวาหรือเทากับ ( <>, Less than or grater than condition ) ซึ่งเปนเงื่อนไขที่มีคา
คือ “ไมเทากับ ( not equal to) ” นั่นเอง
หนวยความจําหลัก ( Main Memory Unit)
หนวยความจําหลัก ซึ่งมีชื่อเรียกหลายชื่อ ไดแก Main Memory Unit ,Primary Starage Unit ,Internal
Storage Unit เปนหนวยที่ใชเก็บขอมูล และคําสั่งที่ใชในการประมวนผล และเก็บขอมูลในการ
ประมวลผล และเก็บขอมูลตลอดจนคําสั่งชั้วคราวเทานั่น ขอมูลและคําสั่งจะถูกสงมาจากหนวย
ควบคุม สามารถแบงไดเปน 2ประเภท คือ
• หนวยความจําสําหรับเก็บคําสั่ง (Program Memory)
• หนวยความจําสําหรับเก็บขอมูลและคําสั่ง (Data & Programming Memory)
หนวยความจําสําหรับเก็บขอมูลและคําสั่ง (Data & Programming Memory ) หรือที่เรียกวา (RAM ;
Random Access Memory) เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูล และคําสั่งจากหนวยรับขอมูล แตขอมูล
และคําสั่งเหลานั่น
สามารถหายไปได เมื่อมีการรับขอมูลหรือคําสั่งใหม หรือปดเครื่อง หรือกระแสไฟฟาขัดของ
หนวยความจํา แรม
เปนหนวยความจําที่สําคัญที่สุดของคอมพิวเตอร จําเปนจะตองเลือกซื้อใหมีขนาดใหญพอสมควร มิ
เชนนั้นจะทํางานไมสะดวกแรมในปจจุบันแบงไดเปน
1. SRAM ( Static RAM ) ทํางานไดโดยไมตองอาศัยนาฬิกา เปนหนวยความจําที่
สามารถอานและเขียนขอมูลไดเร็วกวา DRAM เนื่องจากไมตองมีการรีเฟรชอยูตลอดเวลา แต
หนวยความจําชนิดนี้มีราคาแพงและจุขอมูลไดไมมาก จึงนิยมใชเปนหนวยความจําแครชซึ่งเปน
อุปกรณชวยเพิ่มความเร็วในการทํางานของ DRAM
2. DRAM (Dynamic Ram ) ทํางานโยสัญญานาฬิกามากระตุน แตก็มีจุดเดนคือ มีขนาด
เล็กกวา DRAM และสินเปลืองพลังงานนอยกวา ยังบงยอยไดเปน
- PRM DRAM (Fast Page Mode Dynamic RAM)
10
- EDO RAM ( Extened - Data - Out RAM)
- SDRAM (Synchronous Dynamic RAM)
- DDR SDRAM ( Double data Rate Syncronous Dynamic RAM)
- RDRAM ( Rambys Dynamic RAM )
-
เมนบอรด ( Mainboard )
เมนบอรดเปนอุปกรณที่สําคัญรองมาจากซีพียู เมนบอรดทําหนาที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทํางาน
ของอุปกรณตางๆ แทบทั้งหมด ในเครื่องคอมพิวเตอร ตั้งแตซีพียูไปจนถึงหนวยความจําแคช
หนวยความจําหลัก ฮารดดิสก ระบบบัส
บนเมนบอรดประกอบดวยชิ้นสวนตางๆ มากมายแตสวนสําคัญๆประกอบดวย
ชุดชิพเซ็ต
ชุดซิพเซ็ตเปนเหมือนหัวใจของเมนบอรดอีกทีหนึ่ง เนื่องจากอุปกรณตัวนี้จะมีหนาที่หลัก
เปนเหมือนทั้งอุปกรณแปลภาษาใหอุปกรณตางๆ ที่อยูบนเมนบอรดสามารถทํางานรวมกันได และทํา
หนาที่ควบคุม อุปกรณตางๆ ใหทํางานไดตามตองการโดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบดวยชิพ 2 ตัวคือ ชิพ
System Controller และชิพ PCI to SA Bridge
ชิพ SyStem Controller หรือ AGPSET หรือ NORTH bridge เปนชิพที่ทําหนาที่เปนอุปกรณ
เชื่อมตอกันระหวางระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณอื่นๆ ที่มีความเร็วในการทํางานต่ํากวาเชนระบบ
บัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ
11
USB ชิพ คอนโทรลเลอร IDE ชิพ หนวยความจํารอมไบออส ฟล็อบปดิสก คียบอรด พอรตอนุกรม
และพอรตขนาน
ชุดชิพเซ็ตจะมีอยูดวยกันหลายรุนหลายยี่กอโดยลักษณะการใชงานจะขึ้นอยูกับซีพียู ที่ใช
เปนหลัก เชน ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 430 ของอินเทล เชน ชิพเซ็ต 430FX, 430HX,430VX, และ 430TX
จะใชงานรวมกับซีพียู ตระกูลเพนเทียม เพนเทียม MMX, K5, K6, 6X86L, 6X86MX (M II)
และ IDT Winchip C 6 ชุดชิพเซ็ตตระกูล 440 ของอินเทล เชน ชิพเต 440 FX ,440LX,440EXและ
ชิพเซ็ต 440BXจะใชงานรวมกับ ซีพียูตระกลูเพนเที่ยมโปรเพนเทียมทู และเซลเลอรอน และชุดชิพ
เช็ท450GXและ450NXก็จะใชงานรวมกับซีพียูตระกลูเพนเทียมทูซีนอนสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร
ระดับServer และ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัทอื่นๆอีกหลายรุนหลายยี่หอที่ถูกผลิต
ออกมา แขงกับอินเทล เชน ชุดชิพเซ็ต Apollo VP2 , Apollo VP3และ Apollo mvp3 ของ VIA ,
ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+และAladin V ของ Ali และชุดชิพเซ็ต 5597/98,5581/82 และ5591/92 ของ
SiS สําหรับ ซีพียูตระกลูเพนเทียม เพนเทียม MMx, K5 , K 6 ,6X86L, 6X86MX (M II) และ
IDT Winchip C 6 ชุดชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo Pro ของ VIA , ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II
M162/M1543C ของ Ali ของ ชุดชิพเซ็ต 5601 ของ SiS สําหรับซีพียูตระกูลเพนเทียมทู และเซล
เลอรอน ซึ่งชิพเซ็ตแตละรุน แตละยี่หอนั้นจะมีจุดดีจุดเดนแตกตางกันไป
หนวยความจํารอมไบออส และแบตเตอรี่แบ็คอัพ
ไบออส BIOS ( Basic Input Output Sytem ) หรือ อาจเรียกวา ซีมอส (CMOS) เปน ชิพ
หนวยความจําชนิดหนึ่งที่ใชสําหรับเก็บขอมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จําเปนตอการบูตของระบบ
คอมพิวเตอร โดยในอดีตสวนของชิพรอมไบออสจะประกอบดวย 2 สวนคือ ชิพไบออส และชิพ
ซีมอส ซึ่งชิพไบออสจะทําหนาที่ เก็บขอมูลพื้นฐานที่จําเปนตอการบูตของระบบคอมพิวเตอรสวน
ชิพซีมอสจะทําหนาที่ เก็บโปรแกรมขนาดเล็กที่ใชในการบูตระบบและสามารถเปลี่ยนขอมูลบางสวน
ภายในชิพได ชิพไบออสใชพื้นฐานเทคโนโลยีของรอม สวนชิพซีมอสจะใชเทคโนโลยีของแรม
ดังนั้นชิพไบออสจึงไมจําเปนใชเทคโนโลยีพลังงานไฟฟา ในการเก็บรักษาขอมูลแตชิพซีมอสจะตอง
การพลังงานไฟฟาในการเก็บรักษาขอมูลตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟา ก็จะมาจากแบตเตอรี่ แบ็คอัพที่
อยูบนเมนบอรด
( แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเปนกระปองสีฟา หรือเปนลักษณะแบนกลมสีน้ําเงิน ซึ่งภายในจะ
บรรจุแบตเตอรี่แบบลิเธียมขนาด 3 โวลลไว ) แตตอมาในสมัย ซีพียูตระกูล 80386 จึงไดมีการรวม
ชิพทั้งสองขางไวดวยกันและเรียกชื่อวา ชิพรอมไบออสเพียงอยางเดียว และที่การชิพรอมไบออสเปน
การรวมกันของชิพไบออส และชิพซีมอสจึงทําใหขอมูลบางสวนที่อยูภายใน ชิพรอมไบออสตองการ
พลังงานไฟฟาเพื่อรักษาขอมูลไวแบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเปนสิ่งจําเปนอยูจนถึงปจจุบัน จึงเห็นได
วาเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแลวขอมูลที่คุณเซ็ตไว เชน วันที่ จะหายไป เปนพื้นฐาน
จากโรงงานและก็จะเซ็ตใหมทุกครั้งที่เปดเครื่องเทคโนโลยีรอมไบออสในอดีต หนวยความจํารอม
ชนิดนี้จะเปนแบบ EPROM ( Electrocal Programmable Read Only Memory ) ซึ่งเปนชิพ
12
หนวยความแคชระดับสอง
หนวยความจําแคชระดับสองนั้นเปนอุปกรณ ตัวหนึ่งที่ทําหนาที่เปนเสมือนหนวยความจํา
บัฟเฟอรใหกับซีพียู โดยใชหลักการที่วา การทํางานรวมกับอุปกรณที่ความเร็วสูงกวา จะทําให
เสียเวลาไปกับการรอคอย ใหอุปกรณที่มีความเร็วต่ํา ทํางานเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการ
ทํางานสูงมาก การที่ซีพียูตองการขอมูลซักชุดหนึ่งเพื่อนําไปประมวลผลถาไมมีหนวยความจําแคช
ฮารดดิสกไดรฟ ( Harddisk Drive )
เปนที่สําหรับเก็บขอมูลขนาดใหญ มีความจุสูงถึงหนวยเมกะไบต จนถึงกิกะไบต และมีความเร็ว
สูงในการทํางาน และการสงผานขอมูลมากกวา Secondary Storage ทั่วไปซึ่ง Harddisk จะประกอบ
ไปดวยจาน Disk หรือที่เรียกวา Platters หลายๆแผนรวมกัน ซึ่งแตละดานของ Platters จะถูกปกคลุม
ไปดวยสารประกอบ Oxide เพื่อใหสามารถบันทึกขอมูล Harddisk จะอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรซึ่ง
ไมสะดวกในการเคลื่อนยาย บางทีถูกเรียกวา Fixed Disk
การทํางานของ Harddisk ก็มีลักษณะคลายๆกับแผนดิสกโดยที่จะทําการบันทึกขอมูลจําเปนตอง
Farmat เพื่อใหมีการกําหนด Track , Cylinder ตางๆขึ้นมากอนเพื่อใชในการอางตําแหนง
นอกจากนี้แลวมันยังสามารถจัดแบง partition กลาวคือ Hard Disk ตัวหนึ่งสามารถแบงไดหลาย
partition ขึ้นอยูกับการแบง partition กอนการ Format (การกําหนด partition สามารถทําไดโดยใช
คําสั่ง FDISK ) นอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรวาใชระบบ PCI หรือไม ถาไมใชระบบ
PCI ในเครื่องจะมองเห็นฮารดดิสกขนาดสูงสุดเพียง 540 MB แตถาเปน PCI จะตองมาตรวจสอบ
OS (Operation System) ดูอีกทีวาใชอะไร เชน ถาเปน Window 95 จะสามารถมองเห็น Hard Disk
สูงสุด 1.27 GB 9ตอ 1 partition ซึ่งถาเรามี Hard Disk 1 ตัว
13
แตเปน 2 GB ก็ตองจัดแบงมันเปน 2 partition ถาเปนระบบ Window 95 OSR2 จะสามารถมองเห็น
ได 2 GB เปนตน
ระบบควบคุมการทํางานของ Hard Disk ที่มีการใชงานอยูในคอมพิวเตอรสามารถจําแนกตาม
จุดตอประสาน ( Interface ) ไดเปน 4 ระบบ คือ ระบบ ST – 506/412 ระบบ ESDI ระบบ SCSI และ
ระบบ IDE ซึ่งในปจจุบัน 2 ชนิดแรกไมมีใชแลวซึ่งขอกลาวถึงสองชนิดหลักดังนี้
• SCSI ( Small System Interface) เปนระบบที่ใชกันมากในขนาดนี้ เพราะนอกจากจะสามารถ
ควบคุมฮารดดิสกแลว ยังสามารถควบคุมเสนทางการสงถาย
ขอมูลเกี่ยวกับอุปกรณอื่นๆที่มีโพรเซสเซอรอยูในตัวเอง ทําใหเปนสวนเพิ่มขยายสําหรับ
แผงวงจรใหมและสามารถใชควบคุมอุปกรณเสริมอื่นๆไดดวย เชน โมเด็ม ซีดีรอม เปนตน
• IDE ( Integrated Drive Electronics ) เปนระบบใหมที่มีความใกลเคียงกับ SCSI แตมีราคาต่ํา
กวาปจจุบันนิยมบรรจุ IDE รวมอยูในแผงวงจรของซีพียู ทําใหมีชองวางใหใชงานอื่นๆ
เพิ่มขึ้น
ซีดีรอมไดรฟ (CD- ROM Drive)
CD-ROM เปนอุปกรณที่ทําหนาที่อานขอมูล จากแผนซีดีรอมและทําการแปลงสัญญาณขอมูล
แลวสงไปยังหนวยประมวลผลของคอมพิวเตอร
การทํางานของซีดีรอมภายในซีดีรอมจะแบงเปนแทร็กและเซ็คเตอรเหมือนกับแผนดิสก แตเซ็คเตอร
ในซีดีรอมจะมีขนาดเทากัน ทุกเซ็คเตอรทําใหสามารถเก็บขอมูลไดมากขึ้น เมื่อไดรฟซีดีรอมเริ่ม
ทํางานมอเตอรจะเริ่มหมุนดวยความเร็ว หลายคา ทั้งนี้เพื่อใหอัตราเร็วในการอานขอมูลจากซีดีรอม
คงที่สม่ําเสมอทุกเซ็คเตอร ไมวาจะเปนเซ็คเตอร ที่อยูรอบนอกหรือวงในก็ตาม จากแสงเลเซอรจะฉาย
ซีดีรอม โดยลําแสงจะถูกโฟกัสดวยเลนสที่เคลื่อนที่ดวยตําแหนงได โดยการทํางานของขดลวด
ลําแสงเลเซอรจะทะลุไปที่ซีดีรอมแลวถูกสะทอนกลับที่ผิวหนาของซีดีรอมจะเปน หลุมเปนบอ สวน
ที่เปนหลุม ลงไปเรียกวา “แลนด” สําหรับบริเวณที่ไมมีการเจาะลึกลงไปเรียกวา “พิต” ผิวสอง
รูปแบบนี้เราใชแทนการเก็บขอมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไมสะทอน
กลับ แตเมื่อแสงถูกเลนสจะสะทอยกลับผานแทงปริซึม จากนั้นผานแทงปริซึมไปยัง ตัวตรวจจับแสง
อีกที ทุก ๆ ชวงของลําแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจะกําเนิดแรงดันไฟฟา หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทําให
คอมพิวเตอรสามารถเขาใจได สวนการบันทึกขอมูลลงแผนซีดีรอมนั้นตองแสงเลเซอรเชนกัน โดยมี
ลําแสงเลเซอรจากหัว
14
บันทึกของเครื่อง บันทึกขอมูลสองไปกระทบพื้นผิวหนาแผน ถาสองไปกระทบบริเวณใดจะทําให
บริเวณนั้นเปนหลุมขนาดเล็ก บริเวณที่ไมถูกบันทึกจะมีลักษณะเปนพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอด
ทั้งแผน
แผนซีดีรอมเปนสื่อในการเก็บขอมูลแบบออปติคอล(Optical Storage) ใชลําแสงเลเซอรอาน
ขอมูลแผนซีดีรอม ทํามาจากพลาสติกเคลือบดวยอลูมิเนียม เพื่อสะทอนแสงเลเซอรที่ยิงมา เมื่อแสง
เลเซอรที่ยิงมาสะทอนกลับไปที่ตัวอานขอมูลที่เรียกวา Photo Detector ก็อานขอมูลที่ไดรับกลับมาวา
เปนอะไรและสงคา 0 และ 1 ไปใหกลับซีพียูเพื่อนําไปประมวลผลตอไป
ฟล็อปปดิสกไดรฟ ( floppy Disk Drive)
ในการเลือกใชแผนดิสกแตละชนิดนั้น จะตองมีตัวขับดิสก ( Floppy Disk Drive: FDD) ที่
สนับสนุนการทํางานเหลานี้ดวย โดยดิสกไดรฟตัวแรก พัฒนาโดย Alan Shugat บริษัท ไอบีเอ็มใน
ป ค.ศ. 1967 เปนดิสกไดรฟ
สําหรับแผนบันทึกขอมูลขนาด 8 นิ้ว ( แผนดิสก – Diskette 8”) จากนั้นมีการพัฒนาขนาดลงมาเพื่อ
สนับสนุนแผนดิสกขนาด 5 ¼ นิ้ว และ 3 ½ นิ้ว ในปจจุบัน
ดังนั้นดิสกไดรฟจึงมี 2 ขนาดตามแผนดิสกที่ใชในปจจุบัน คือ ดิสกไดรฟขนาด 3.5 นิ้ว
และ 5.25 นิ้ว
( ปจจุบัน พบ ดิสก 5.25 นิ้วนอยมาก ) และแตละประเภท ยังแบงตามประเภทความจุของแผนดิสก
ไดอีกเปน
• ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 3.5 นิ้ว ความจุ 740 KB
• ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB- HD: high density
• ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 5.25 นิ้ว ความจุ 640 KB
• ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 5.25 นิ้ว ความจุ 1.2 MB-HD: high density
ชองขยาย (Slot)
การมีชองเพิ่มขยาย หรือเรียกอีกอยางวาระบบบัสเพิ่มขยายนั้น จะชวยใหเราสามารถปรับแตง
หรือเพิ่มขยายความสามารถของระบบ โดยผานทาง Plug – in Board หรือเรียกวาเปน Card เพิ่มขยาย
Expransion Card เชน เมื่อตองการให Computer มีเสียง อยากให Computer เลนเพลงได ก็ตอง
หาซื้อได Sound Card และลําโพง มา
15
ตอเพิ่ม โดยแคนํามา Piug ลงใน Expension slot บน Mainboard และทําการ Config ก็สามารถใช
งานได โดยไมจําเปนตองมาเดินสายไฟ รื้อ Mainboard ใหมไหยุงยากประเภทของชองเพิ่มขยายจะมี
ดังนี้
• แบบ PCI เปนชองเสียบอุปกรณเพิ่มเติมสวนใหญจะเปนสีขาวเรียงตอกัน 2-5 ชอง ใชเสียบ
อุปกรณเพิ่มเติม เชน การดเสียบ การดแสดงผล โมเด็มแบบติดตั้งภายในและการดแลนเปน
ตน
• แบบ ISA เปนชองเสียบอุปกรณเพิ่มเติมเชนเดียวกับแบบ PCI แตเปนรุนเกากวามีสีดําขนาด
ยาวกวาแบบ PCI เมนบอรดในปจจุบันสวนใหญไมมีชองเสียบแบบนี้แลว
• แบบ AGP เปนชองเสียบอุปกรณแสดงผลความเร็วสูง
• แบบ EISA
• แบบ MCA
แหลงจายไฟ ( Power Supply )
แหลงจายไฟ ( Power Supply ) เปนสวนสําคัญเชนกันเพราะถาไมมี แหลงจายไฟ ( Power Supply )
แลวนั้นคอมพิวเตอรจะทํางานอยางไร แหลงจายไฟจะมีรูปทรงและการทํางานที่เปนไปตาม
ระบบปฏิบัติการของเมนบอรดเชนกัน
แหลงจายไฟแบบ ATX นั้นมีการทํางานที่ดีกวาและเหนือกวาการทํางานดวยแหลงจายไฟ
( Power Supply ) แบบ AT เพราะการปดเปดเครื่องดวยระบบ ATX นั้นจะมีการทํางานดวยซอฟแวร
เปนตัวกําหนดการทํางานสําหรับการปดเปดเครื่องและเคส ATX นั้นจะมีการใหแหลงจายไฟ ( Power
Supply )มาใหที่มากกวาแหลงจายไฟ ( Power Supply ) แบบ AT สวนมากที่เคสแบบ ATX ใหมา
นั้นมักจะอยูที่ 250 watt ถึง 400 watt ซึ่งเปนพลังงานที่มากกวาระบบ AT ทําใหมีความเสถียรภาพ
มากขึ้นนั้นเอง
16
อุปกรณตอพวง
เครื่องพิมพชนิดตางๆ (Printer)
เครื่องพิมพ เปนอุปกรณที่เชื่อมตอเขากับคอมพิวเตอรเพื่อทําหนาที่ในการแปลผลลัพธที่ได
จาก การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร ใหอยูในรูปอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยูบน
กระดาษ นับเปนอุปกรณแสดงผลที่นิยมใช เครื่องพิมพแบงออกเปน 4 ประเภท
1. เครื่องพิมพดอตเมทริกซ (Dot Matrix Printer)
เครื่องพิมพแบบนี้เปนที่นิยมและใชกันอยางกวางขวาง เนื่องจากสามารถพิมพไดทั้งตัว
อักขระและรูปภาพ และมีราคาคอนขางถูกเมื่อเทียบกับเครื่องพิมพแบบอื่น การพิมพจะใชหัวพิมพที่มี
ลักษณะเปนเข็มซึ่งเรียกวา Pin เรียงกันเปนแถวในแนวตั้ง กระทบลงบนผาหมึกเพื่อใหเกิดจุดบน
กระดาษทีละแถวตัวหนังสือจะถูกสรางจากชุดของรอยจุดที่เกิดจากหัวเข็มพิมพนี้ ดังนั้นตัวอักษรที่ได
จะมีลักษณะเปนจุดๆที่ตอเนื่องกันความหยาบหรือความละเอียดจะขึ้นอยูกับหัวเข็มพิมพและโหมดที่
ใชในการพิมพ
โดยทั่วไปแลวในการพิมพจะมีโหมดของการพิมพ 2 โหมดคือ โหมด Draft และโหมด NLQ
(Near Quality Mode) การพิมพในโหมด draft ในแตละแถวของกระดาษจะถูกพิมพเพียงเทียวเดียว ทํา
ใหไดตัวหนังสือไม คมชัดโดยเฉพระอยางยิ่งถาเปนเครื่องพิมพแบบ 9 หัวเข็ม เนื่องจากมีชองวาง
ระหวางจุดอยู จึงไดมีการปรับปรุงโหมดการพิมพขึ้นเปนโหมดเรียกวา NLQ ในโหมดนี้จะมีการสั่ง
ใหหัวพิมพทําการพิมพ 2 เที่ยวในแตละแถวโดยจุดที่พิมพในเที่ยวที่ 2 จะพิมพในระหวางที่พิมพไป
แลวครั้งแรก ดังรูป 5.17 (ข) ซึ่งลักษณะการพิมพแบบนี้จะทําใหตัวอักษรมีความคมชัดขึ้นและมีความ
สม่ําเสมอขึ้นอีกเทาตัวแตขอเสียคือจะใชเวลาในการพิมพมากขึ้น ดังนั้นจึงไดมีการปรับปรุงหัวพิมพ
ใหมีจํานวนหัวเข็มพิมพมากขึ้น ซึ่งแตเดิมมีเพียง 9 หัวเข็ม ก็ไดพัฒนา 18 หรือ 24 หัวเข็ม ทําใหการ
พิมพทั้งในโหมด Draft และโหมด NLQ สามารถพิมพเทียวเดียว ซึ่งจะเทียบเทากับกับแบบ 9 หัวเข็ม
สั่งพิมพ 2 เที่ยว ตัวพิมพจึงสวยงามและมีความเร็วเพิ่มขึ้นกวาเดิมมาก
17
2. เครื่องพิมพแบบพนละอองหมึก(Ink Jet Spray Printer)
เครื่องพิมพแบบนี้จะมีความเร็วในการทํางานมากเครื่องหนึ่ง โดยการพิมพจะใชหัวเข็มแบบ
ปน ฉีดหมึกเปนจุดเล็กๆบนกระดาษเพื่อประกอบกันเปนตัวหนังสือ โดยไมตองกดหัวเข็มลงไปจริงๆ
และเนื่องจากแตละจุดของน้ําหมึกบนกระดาษจะมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับจุดที่เกิดจากเครื่องพิมพ
แบบดอตเมทริกซ ดังนั้นความคมชัดของการพิมพจึงมีมากกวาแบบดอตเมทริกซ และโดยทั่วไป
เครื่องพิมพชนิดนี้ถูกออกแบบมาสําหรับการพิมพภาพสีโดยเฉพาะ ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการพิมพ
ภาพดานกราฟฟก นอกจากนี้ความเร็วในการพิมพก็คอนขางสูง ราคาก็ใกลเคียงกับเครื่องพิมพแบบ
ดอตเมทริกซ ดังนั้นเครื่องพิมพประเภทนี้จึงไดรับความนิยมมากกวาแบบเครื่องพิมพแบบใชความ
รอน – ไฟฟา
3. เครื่องพิมพแบบเลเซอร(Laser Printer)
เปนเครื่องพิมพที่มีความเร็วสูงเมื่อเทียบกับเครื่องพิมพชนิดอื่น เดิมทีถูกออกแบบมาใชกับ
เครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ เชน เมนเฟรม แตเนื่องจากความสามารถในการพิมพผลงานที่มี
คุณภาพสูง และราคาที่ลดลง จึงทําใหเครื่องพิมพชนิดนี้ไดรับความนิยมจากคอมพิวเตอรเกือบทุก
ประเภท และมีแนวโนมวาจะเปนเกรดมาตรฐานของเครื่องพิมพพีซีในอนาคตอีกดวย
เครื่องพิมพเลเซอรนี้จะใชเทคโนโลยีของเครื่องถายเอกสาร คอมพิวเตอรสงสัญญาณบอก
เครื่องพิมพวาจะใหพิมพผงหมึกลงบนกระดาษตําแหนงใดบาง ซึ่งจะเริ่มจากการใชเลเซอรวาดภาพที่
จะพิมพนี้ลงบนแทงทรงกระบอกที่เรียกวา ดรัม (Drum) กอน โดยตัวประมวลผลของคอมพิวเตอรจะ
ควบคุมใหมีการยิงแสงเลเซอรไปยังกระจกสะทอนแสงที่หมุนไดไปตกทบดรัมตามรูปรางที่จะพิมพ
แสงเลเซอรจะทําใหดรัมที่ถูกแสงประจุไฟฟาเปนบวกเหมือนกับแผนกระดาษ สวนบริเวณที่ไมถูก
แสงจะยังคงมีประจุเปนลบอยู เมื่อดรัมหมุนถึงตัวปลอยผงหมึก ผงหมึกซึ่งมีประจุเปนลบก็จะเกาะ
ดรัมเฉพาะบริเวณที่มีประจุไฟฟาเปนบากเทานั้น ทําใหเปนรูปภาพหรือตัวอักษรขึ้นบนดรัม หลังจาก
นั้นกลไกจัดกระดาษจะปอนกระดาษเขามายังดรัมซึ่งยังคงหมุนอยู
18
ประจุไฟฟาบวกที่มีความแรงกวาประจุไฟฟาบวกบนดรัมจะเกิดการผลักกันและดึงผงหมึกที่มีประจุ
ไฟฟาลบจากดรัมตกลงมายังกระดาษจนเปนรูปรางตัวอักษรหรือรูปภาพ หลังจากนั้นกระดาษก็จะ
เคลื่อนที่ไปสูกลไกอบกระดาษซึ่งจะใชความรอนอบละลายใหผงหมึกที่มีสวนประกอบของไขละลาย
ติดกระดาษ และกลไกการจัดกระดาษก็จะนํากระดาษออกมาจากเครื่องพิมพ ซึ่งจะสังเกตไดวา
กระดาษมีความรอนหลังจากที่ออกจากเครื่องพิมพใหมๆ
เครื่องพิมพเลเซอรจะเปนเครื่องพิมพที่ทํางานไดเร็วมาก ความเร็วในการพิมพอาจ
สูงถึง 10 – 12 แผนตอนาที การทํางานจะคอนขางเงียบและตัวหนังสือก็สวยงามมาก ซึ่งลักษณะ
ตัวหนังสือจะลักษณะที่เรียกวา NLQ (Near Quality Mode) เนื่องจากภาพหรือตัวอักษรที่ไดจะเกิดจาก
จุดเล็กๆของลําแสงเลเซอร จึงมีความละเอียดสูงกวาแบบดอตเมทริกซมากมายนัก
4. พล็อตเตอร(Plotter)
พล็อตเตอร เปนเครื่องพิมพที่ใชปากกาในการเขียนขอมูลตางๆลงบนกระดาษเหมาะสําหรับ
งานเขียนแบบทางวิศวกรรม(เขียนลงบนกระดาษไข) และตกแตงภายใน สําหรับวิศวกรรมและ
สถาปนิก พล็อตเตอร ทํางานโดยใชเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใชปากกาได 6 – 8 สี ความเร็วในการ
ทํางานของพล็อตเตอร มีหนวยวัดเปนนิ้วตอวินาที (Inches Per Secon: IPS) ซึ่งหมายถึงจํานวนนิ้วที่
พล็อตเตอร สามารถเลื่อนปากกาไปบนกระดาษ
เครื่องสแกนภาพ (Scaner)
สแกนเนอร คืออุปกรณซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของแอนาลอกเปนดิจิตอล
ซึ่งคอมพิวเตอร สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษาและผลิตออกมาได ภาพนั้นอาจเปนรูปถาย
ขอความ ภาพวาด หรือแมแตวัตถุสามมิติ สามารถใชสแกนเนอรทํางานตางๆไดดังนี้
ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถายในเอกสาร-
บันทึกขอมูลลงในเวิรดโปรเซสเซอร-
19
แฟคเอกสาร ภายใตดาตาเบส และเวิรดโปรเซสเซอร-
เพิ่มเติมภาพและจินตนาการตางๆลงไปในผลิตภัณฑโฆษณาตางๆ-
โดยพื้นฐานการทํางานของสแกนเนอร ชนิดของสแกนเนอรและความสามารถของ
สแกนเนอรแบงออกไดดังตอไปนี้
ชนิดของเครื่องสแกนเนอร
สแกนเนอรสามารถจัดแบงตามลักษณะทั่วๆไปได 2 ชนิด คือ
1. Flatbed scanners ซึ่งใชสแกนภาพถายหรือภาพพิมพตาง ๆ สแกนเนอร ชนิดนี้มีพื้นผิว
แกวบนโลหะที่ตัวสแกน เชน ScanMaker III
2. Transparency and slide scanners ซึ่งถูกใชสแกนโลหะโปรง เชน ฟลมและสไลด
สิ่งที่จําเปนสําหรับการสแกนภาพมีดังนี้
สแกนเนอร-
สาย SCSI สําหรับตอกับสแกนเนอรไปยังเครื่องคอมพิวเตอร-
ซอฟตแวรสําหรับสแกนภาพ ซึ่งทําหนาที่ควบคุมการทํางานของสแกนเนอรใหสแกน-
ภาพตามที่สั่ง
สแกนเอกสารเก็บไวเปนไฟลที่นํากลับมาแกไขไดอาจตองมีซอฟตแวรที่สนับสนุนดาน-
OCR
จอภาพที่เหมาะสําหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร-
เครื่องมือสําหรับแสดงพิมพภาพที่สแกน เชน เครื่องพิมพแบบเลเซอรหรือสไลด-
โปรเจคเตอร
ประเภทของภาพที่เกิดจากการสแกน แบงเปนประเภทดังนี้
1. ภาพ Single Bit เปนภาพที่มีความหมายมากที่สุดใชพื้นที่ในการเก็บขอมูลนอยที่สุด และ
นํามาใชประโยชนอะไรไมคอยได แตขอดีของภาพประเภทนี้ คือ ใชทรัพยากรของเครื่องนอยที่สุด
ใชพื้นที่ในการเก็บขอมูลนอยสุด ใชเวลาในการสแกนภาพนอยที่สุด Single Bit แบงออกไดเปนสอง
ประเภทคือ
- Line Art ไดแกภาพที่มีสวนประกอบของภาพเปนขาวดํา ตัวอยางของภาพนี้ ไดแก ภาพที่
ไดจากการสแกน
- Halftone ภาพเหลานี้จะเปนสีโทนสีเทามากกวา แตโดยทั่วไปยังถูกจัดวาเปนประเภท
Single bit เนื่องจากเปนภาพแบบหยาบๆ
20
2. ภาพ Gray Scale ภาพพวกนี้จะมีสวนประกอบมากกวาภาพขาวดํา โดยจะประกอบดวย
เฉดสีเทาเปนลําดับขั้น ทําใหเห็นรายละเอียดดานแสงเงา ความชัดลึกมากขึ้นกวาเดิมภาพพวกนี้แตละ
พิกเซลหรือแตละจุดของภาพ อาจประกอบดวยจํานวนบิตมากกวา มีพื้นที่เก็บขอมูลมากขึ้น
3. ภาพสี หนึ่งพิกเซลของภาพสีจะประกอบดวยจํานวนบิตมหาศาล และใชพื้นที่เก็บขอมูล
มาก ความสามารถในการสแกนภาพออกมาไดละเอียดขนาดไหนนั้นขึ้นอยูกับวาใชสแกนเนอรขนาด
ความละเอียดเทาไร
4. ตัวหนังสือ ตัวหนังสือในที่นี้ไดแก เอกสารตางๆ เชน ตองเก็บเอกสารโดยไมตองพิมพลง
บนแฟมเอกสารของเวิรดโปรเซลเซอร ก็สามารถใชสแกนเนอรสแกนเอกสารดังกลาว และเก็บไวใน
เอกสารได นอกจากนี้เทคโนโลยีในปจจุบันสามารถใชโปรแกรมที่สนับสนุน OCR (Optical
Characters Reconize) มาแปลงแฟม เอกสารดังกลาวออกมาเปนแฟมขอมูลที่สามารถแกได
โมเด็ม (Modems)
เปนอุปกรณสําหรับคอมพิวเตอรอยางหนึ่งที่ชวยใหคุณสัมผัสกับโลกภายนอกไดอยาง
งายดาย โมเด็มเปนงานโทรศัพทสําหรับคอมพิวเตอร ที่จะชวยใหระบบของคอมพิวเตอรของคุณ
สามารถสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอรอื่นๆทั่วโลก โมเด็ม จะสามารถทํางานของคุณใหสําเร็จไดก็
ดวยการเชื่อมตอระหวางคอมพิวเตอรของคุณเขา คูสายโทรศัพทธรรมดาคูหนึ่ง ซึ่งโมเด็มจะทําการ
แปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอรใหใชสัญญาณอนาล็อก (analog
signals) เพื่อใหสามารถสงไปบนคูสายโทรศัพท
คําวา โมเด็ม (Modems) มาจากคําวา (modulate/demodulate) ผสมกัน หมายถึง
กระบวนการแปลงขอมูล ของดิจิตอล ใหอยูในรูปของอนาล็อก แลวจึงแปลงสัญญาณกลับเปน
ดิจิตอลอีกครั้งหนึ่ง เมื่อโมเด็มของคุณตอกับโมเด็มตัวอื่น ความแตกตางของโมเด็มแตละประเภทจะมี
คุณสมบัติดังนี้
โมเด็มแตละประเภทจะมีลักษณะที่แตกตางกันดังนี้
21
โมเด็มสามารถทําการแลกเปลี่ยน ขอมูลกับโมเด็มอื่นๆมีหนวยเปนบิต /วินาที(bps) หรือ กิโลบิต/
วินาที(kbps) ในการบอกความเร็วของโมเด็ม เพื่อใหงายตอการพูดและจดจํา มักจะตัดเลขศูนยออก
แลวใชตัวอักษรแทน เชน โมเด็ม56000 bps จะเรียกวา โมเด็มขนาด 56 k
2. ความสามารถในการบีบอัดขอมูล ขอมูลขาวสารที่สงออกไป บนโมเด็มนั้นสามารถทําใหมี
ขนาดกะทัดรัด ดวยวิธีการบีบอัดขอมูล (Compression) ทําใหสามารถสงขอมูลไดครั้งละเปนจํานวน
มากๆ เปนการเพิ่มความเร็ว ของโมเด็มในการรับ – สงสัญญาณ
3. ความสามารถในการใชเปนโทรสาร โมเด็มรุนใหมๆสามารถสงและรับโทรสาร (Fax
capabilities) ไดดีเชนดีกับการรับ – สงขอมูล หากคุณมีซอฟทแวรที่เหมาะสมแลวคุณสามารถใช
แฟคซโมเด็มเปนเครื่องพิมพ ไดเมื่อคุณพิมพเขาไปที่แฟคซโมเด็ม มันจะสงเอกสารของคุณไปยัง
เครื่องโทรสารที่ปลายทางได
4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใชวิธีการควบคุมความผิดพลาด
(error control) ตางๆมากมายหลายวิธี ในการตรวจสอบเพื่อการยืนยันวาจะไมมีขอมูลใดๆสูญหายไป
ระหวางการสงถายขอมูลของคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
5. ออกแบบใหใชไดทั้งภายในภายนอก โมเด็มที่จําหนาย ในทองตลาดทั่วๆไป จะมี 2
รูปแบบ คือ โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (external modems) และแบบติดตั้งภายใน (internal modems)
6. ใชเปนโทรศัพทได โมเด็มบางรุนมีการใสวงจรโทรศัพทธรรมดาเขาไป พรอมกับ
ความสามารถในการรับขอมูล และโทรสารดวย
22
การพัฒนางานคอมพิวเตอรภายในองคกร
ภายในองคกรมีสิ่งที่จะตองพิจารณา และจัดเปนโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการใชไอที
หลายอยางแตละอยางมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน การพัฒนาตองพัฒนาไปทั้ง “หา
องคประกอบ” นี้ ไดแกฮารดแวรซอฟตแวร ขอมูล ขาวสาร ,คน และระเบียบวิธีปฏิบัติ
ฮารดแวร (Hard ware)
ฮารดแวร เปนเครื่องมือที่จะเขามาชวยเพิ่มประสิทธิภาพ และอํานวยความสะดวกในการ
ทํางาน การวางรากฐานการใชเครื่องมือสมัยใหม ใชระบบการประมวลผลที่ทําใหทํางานไดอยาง
รวดเร็วแมนยํา มีระบบการเชื่อมโยงสื่อสาร เพื่อใหขอมูลขาวสารเดินทางไปถึง และประสานการ
ทํางานอยางเปนระบบได ฮารดแวรจึงรวมไปถึงอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารขอมูลตางๆ
ซอฟตแวร(Software)
ซอฟตแวร (Software) หมายถึงชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอร
ทํางาน ซอฟตแวรจึงหมายถึง ลําดับขั้นตอนการทํางานที่เขียนขึ้นดวยคําสั่งคอมพิวเตอร คําสั่งเหลานี้
เรียงกันเปนโปรแกรมคอมพิวเตอร จากที่ทราบมาแลววาคอมพิวเตอรทํางานตามคําสั่ง การทํางาน
พื้นฐานเปนการทํางานกับขอมูลที่เปนตัวเลขฐานสอง ซึ่งใชแทนขอมูลตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ
หรือแมแตเปนเสียงพูดก็ได โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใชสั่งงานคอมพิวเตอรจึงเปนซอฟตแวร เพราะ
เปนลําดับขั้นตอนการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งทํางานไดแตกตางกัน
ไดมากมายดวยซอฟตแวรที่แตกตางกัน ซอฟตแวรจึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอรทุกประเภท
ที่ทําใหคอมพิวเตอรทํางานได
โปรแกรมประเภทตางๆ
ขอมูลขาวสาร(Content)
คือเนื้อหาสาระที่สําคัญ การดําเนินการขององคกรเกี่ยวของกับการผลิต การประมวลผล
การสรุปผล การดําเนินการสื่อสารระหวางกัน การกระทําเหลานี้เกิดขึ้นกับเนื้อหาของขาวสาร
ดังนั้นในองคกรตองใหความสําคัญในเรื่องขอมูลขาวสาร ทําอยางไรจึงจะใหขอมูลขาวสารเขาไป
โลดแลนอยูในระบบและใชงานไดอยางเต็มที่
23
บุคลากร(People ware)
บุคลากร คือ บุคลที่สําคัญ และเปนบุคลที่เกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และ
หากใหงานมีประสิทธิผลมากที่สุด จําเปนตองพัฒนาบุคลากร มีการฝกอบรมหรือดําเนินการให
บุคลากรหันมาใหความสําคัญ และการใชเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อประโยชนตอการพัฒนาองคกร
ความสามารถของบุคลากรจึงเปนฐานสําคัญในการใชไอทีเพื่อประโยชนตอองคกรโดยรวม
ประเภทของบุคลากรในงานคอมพิวเตอร
▪ ระดับผูบริหาร(Administration)ไดแก Electronic Data Processing manager : EDP
▪ ระดับวิชา(Technical)ไดแก System Analyst and Designer,Programme
▪ ระดับปฏิบัติการ (Operation) Computer Operator,Keypunch Operator,Data Entry
ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedure)
บางอยางอาจเปลี่ยนแปลงไป จําเปนตองมีการปรับปรุงใหสอดคลองกับการใชเทคโนโลยี
สอดคลองกับวิถีการทํางานแนวใหม กําหนดขั้นตอนการทํางานอยางเปนระบบ หรืออาจจําเปนตองมี
การปรับเปลี่ยนวิถีการทํางานบางอยางขององคกร บางองคกรจึงมีการปรับเปลี่ยนองคกรอยางรุนแรง
ถึงขั้นหรือปรับระบบ (Re-en-gineering) เพื่อใหสอดคลองกับการทํางานแนวใหมที่มีไอทีเขามา
สนับสนุน พัฒนาการทั้ง
“หาองคประกอบ” นี้ตองไปดวยกัน จะเลือกองคประกอบใดองคประหนึ่งไมได หากองคประกอบ
หนึ่งองคประกอบใดไมไดรับการพัฒนา ยอมทําใหองคประกอบขององคกรมีปญหา เชน มีการซื้อ
คอมพิวเตอร และอุปกรณสื่อสารขอมูลที่ทันสมัย มีซอฟตแวรที่ทํางานไดเปนเลิศ แตขาดการ
ดําเนินการกับขอมูลขาวสารที่ดี หรือเกือบจะไมมีขอมูลขาวสารใด การลงทุนนั้นก็จะดูสูญเปลา
24
ปฏิบัติการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร
การเชื่อมตอระบบคอมพิวเตอรสวนบุคคล
การตอระบบไฟฟาและสายเมาส-คียบอรด
การตอสาย Power ดานหลังควรจะเสียบใหแนน ๆ สวนสายเมาสกับคียบอรดอยาใหสลับกัน ถา
ใสสลับกันกับคียบอรดอาจจะไมติดเลยก็ไดครับ
จากนั้นก็ใสสายจอภาพกับสายลําโพงไดตามลําดับ เทานี้ก็เทากับเรียบรอยจากนั้นก็ลองเปดเครื่อง
ทดสอบกันเลยและกันวาจะออกมาในลักษณะอยางไรแตคงไมมีปญหาอะไรหรอกครับถาไดปฏิบัติ
ตามที่ผมไดพูดมาทั้งหมดก็เรียบรอยถาเกิดปญหาขึ้นมาตอนเปดเครื่องอยาตกใจครับ ลองเริ่มตน
ตรวจเช็คดูใหดีๆวาเราผิดพลาดตรงไหน
การตอสายสัญญาณ
การตอสายสัญญาณใหพิจารณาพอรตหรือชองทางที่จะตอตามภาพ ดังนี้
• วีจีเอ พอรต (VGA Port)
พอรตนี้สําหรับตอคอมพิวเตอรเขากับมอนิเตอร เปนพอรตขนาด 15 พิน
ในคอมพิวเตอรบางเครื่องอาจจะติดตั้งการดสําหรับถอดรหัสสัญญาณ MPEG เพิ่มเขามาซึ่งลักษณะ
ของพอรตนั้นจะคลาย ๆ กันแตการด MPEGจะมีพอรตอยูสองชุดดวยกันสําหรับเชื่อมไปยังการด
แสดงผลหนึ่งพอรต และตอเขากับมอนิเตอรอีกหนึ่งพอรต ดังนั้นเครื่องใครที่มีพอรตแบบนี้ ก็ควร
จะบันทึกไวดวย เพราะไมงั้นอาจจะใสสลับกันจะทําใหโปรแกรมบางตัวทํางานไมได
• พอรตอนุกรม (Serial Port)
เปนพอรตสําหรับตอกับอุปกรณอินพุตและเอาตพุต โดยสวนใหญเราจะใชตอกับเมาสใน
กรณีที่คอมพิวเตอรเครื่องนั้นไมมีพอรต PS/2 หรือเปนเคสแบบ AT
นอกจากนั้นเรายังใชสําหรับเปนชองทางการติดตอโมเด็มดวยในคอมพิวเตอรหนึ่งเครื่องจะมีพอรอนุ
กรมใหอยูสองพอรต เรียกวาพอรตคอม 1 และพอรตคอม 2 นอกจากนั้นอาจจะมีฮาดแวรบางตัว เชน
จอยสติ๊กรุนใหมๆ มาใชพอรตอนุกรมนี้เชนกัน
• พอรตอนุกรมจะมีหัวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอรตนี้จะเปนตัวผู เพราะมีเข็มยื่นออกมา)
• พอรตนี้จะตอกับอุปกรณตางๆ เชน เมาส โมเด็ม สแกนเนอร เปนตน
• สามารถตอความยาวไดถึง 6 เมตร และราคาสวยก็ไมแพงนัก
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer
Computer

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Plew Woo
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการdollar onohano
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 

La actualidad más candente (12)

Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 

Similar a Computer

Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]Nattapon
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3Smart H Der
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นjintana2
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นjintana2
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computerajpeerawich
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2niramon_gam
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2ratiporn555
 
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)Phongsakorn Wisetthon
 
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์Netnapa Champakham
 
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์Netnapa Champakham
 

Similar a Computer (20)

Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
ประเภทของคอมพิวเตอร์กลุ่ม3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์
 
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ชนิดของคอมพิวเตอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์
 
C0143-05
C0143-05C0143-05
C0143-05
 

Más de Maliwan Boonyen

สำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองสำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองMaliwan Boonyen
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1Maliwan Boonyen
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันMaliwan Boonyen
 

Más de Maliwan Boonyen (7)

สำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองสำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเอง
 
Unit033
Unit033Unit033
Unit033
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Computer

  • 1. 1 ความหมาย บทบาทและความสําคัญของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรคืออะไร ปจจุบันจะพบวาคอมพิวเตอรมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งขนาดคอมพิวเตอรพกพา คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ คอมพิวเตอรแบบกกระเปาหิ้ว คอมพิวเตอรขนาดใหญ เชน คอมพิวเตอร เมนเฟรม หรือซุปเปอรคอมพิวเตอร แตไมวาจะเปนรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอรก็มีความหมายที่ ชัดเจนในตัวของมันเองคือเครื่องคํานวณ ในรูปของอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่สามารถรับขอมูลและ คําสั่งนั้นไปประมวลดวยหนวยประมวลผลเพื่อใหไดผลลัพธที่ตองการ และแสดงผลผานอุปกรณ แสดงผลตลอดจนสามารถบันทึกรายการตาง ๆ ไวเพื่อใชงานไดดวยอุปกรณบันทึกขอมูลสํารอง คอมพิวเตอรจึงสามารถมีรูปรางอยางไรก็ได ไมจําเปนตองเปนรูปรางอยางที่เราคุนเคยหรือ พบเห็น ตัวอยางเชน เครื่องฝากถอดเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรรูปแบบ หนึ่ง เหตุผลที่นําคอมพิวเตอรมาใชงาน 1. สามารถบันทึกขอมูลตาง ๆ ไดรวดเร็ว เชน การใชเครื่องอานหัสแทง (Bar - Code) อานเวลา เขา-ออก ของพนักงานและคิดราคาสินคา ในหางสรรสินคา 2. สามารถเก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ไวฐานขอมูล (Database) เพื่อใชงานไดทันที 3. สามารถนําขอมูลที่เก็บไวมาคํานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุม ทํารายงานลักษณะ ตาง ๆ ไดโดยระบบประมวลผลขอมูล (Data Processing) 4. สามารถสงขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว 5. สามารถจัดทําเอกสารตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว ดวยระบบประมวลผลคํา(Word Processing) ซึ่งเปนสวนของระบบสํานักงานอัตโนมัติ(Office Automation) 6. การนํามาใชงานทั้งดานการศึกษา การวิจัย
  • 2. 2 7. การใชงานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐตาง ๆ เชน การนําคอมพิวเตอร มาใช กับงานบัญชี งานบริหารสํานักงาน งานเอกสาร งานจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ 8. การควบคุมระบบอัตโนมัติตางๆ เชน ระบบจราจร ระบบเปด/ปดน้ําของเขื่อน 9. การใชงานเพื่อวิเคราะหตาง ๆ เชน การวิเคราะหสภาวะดินฟาอากาศ สภาพของดิน น้ํา เพื่อการเกษตร 10. การใชคอมพิวเตอรเพื่อจําลองรูปแบบ เชน การจําลองในงานวิทยาศาสตร จําลองโมเลกุล จําลองรูปแบบการฝกขับเครื่องบิน 11. การใชคอมพิวเตอรนันทนาการ เชน การเลนเกม การดูหนัง การฟงเพลง 12. การใชคอมพิวเตอรรวมกับเทคโนโลยีล้ําสมัยอื่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารขอมูล เกิด เครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน หลักการทํางานของคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบดวยหนวยสําคัญ 4 หนวย คือ 1. หนวยรับขอมูลจะรับขอมูลโดยผูใชเปนผูปอนคําสั่งแลวสงไปยังหนวยประมวลผล 2. หนวยประมวลผลโดยทําตามโปรแกรมที่เก็บไวในหนวยความจําหลัก หนวยความจําหลัก ซึ่งเปนหนวยความจําที่ประมวลผลสามารถอานเขียนไดรวดเร็วมาก ขอมูลจะถูกเก็บไวที่ หนวยความจําหลักเพื่อประมวลผลตีความและกระทําตามไดอยางรวดเร็ว สวนหนวยความจําสํารอง มีไวสําหรับเก็บขอมูลหรือโปรแกรมที่มีจํานวนมากและหากจะใชงานก็มีการถายจากหนวยความจํา สํารองมายังหนวยความจําแลวนําขอมูลที่เก็บไวมาประมวลผล 3. หนวยสงออกหรือแสดงผล เปนหนวยที่นําขอมูลที่ไดรับการประมวลมาแสดงผล ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร ประมาณป พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอรที่อยูในโลกนี้ไมมากนัก สวนใหญจะเปนเครื่องในระบบ เมนเฟรมซึ่งมีขนาดใหญและราคาแพง ใชกับงานทางดานวิทยาศาสตรเทานั้น ซึ่งจะไมเกี่ยวของกับ ชีวิตประจํามากนักแต ในปจจุบันคอมพิวเตอรไดมีขนาดเล็กลง และ ราคาไมแพงนัก คนทั่วไป สามารถซื้อหามาใชไดเหมือนกับเรื่องใชไฟฟาโดยทั่วไป งานที่คอมพิวเตอรทํา ตัวอยางเชน 1. งานที่ตองจัดเก็บขอมูลเปนจํานวนมาก เชน เก็บขอมูลงานทะเบียนราษฎร เปนตน 2. งานที่ตองอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความถูกตองและแมนยํามากที่สุด เชน งาน ดานวิทยาศาสตร 3. งานที่ไมตองการหยุดพัก คือทํางานไดตลอดเวลา ในขณะที่ยังมีไฟฟาอยู 4. งานที่คนไมสามารถเขาไปทําได เชน ในสภาพแวดลอมที่เปนอันตรายตอสุขภาพรางกาย เชน ที่มีกาซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม
  • 3. 3 งานคอมพิวเตอรกับงานการศึกษา ปจจุบันตามสถานศึกษาตางๆ ไดมีการนําคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอนอยาง มากมายรวมทั้งใชคอมพิวเตอรในงานบริหารของโรงเรียน เชน การจัดทําประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย การคัดคะแนนสอบ การทําตารางสอน ใชคอมพิวเตอร ในงานหองสมุด เปนตน คอมพิวเตอรยุคที่ 1 (พ.ศ. 2547 - 2501) คอมพิวเตอรในยุคนี้ใชหลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส เครื่องยัง มีขนาดใหญมากกระแสไฟฟาจํานวนมาก ทําใหเครื่องมีความรอนสูงจึงมักเกิดขอผิดพลาดงาย คอมพิวเตอรในยุคนี้ ไดแก VACI, IBM600 เครื่องคอมพิวเตอร Mark1 เครื่องคอมพิวเตอรENIAC คอมพิวเตอรยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502 - 2507) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชทรานซิสเตอร(Transistor) เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส และใชวงแหวน แมเหล็กเปนความจํา คอมพิวเตอรมีขนาดเล็กมากกวายุคแรก ตนทุนต่ํากวา ใชกระแสไฟฟานอยกวา และมีความแมนยํา คอมพิวเตอรยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508 - 2513) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจรไอซี(Integrated Circuit) เปนสารกึ่งตัวนําที่สามารถบรรจุวงจรทาง ตรรกะไวแลว แผนซิลิกอน (Silicon) เรียกวา “ชิป” คอมพิวเตอรยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514 - 2523) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เปนการรวบรวมวงจรไอซี จํานวนมากลงในกอนชิป 1 แผน สามารถบรรจุไดมากกวา 1 ลานวงจรดวยเทคโนโลยีใหมทําใหเกิด แนวคิดในการบรรจุสําคัญสําหรับการทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรนั้นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียก “ไมโครโปรเชสเซอร” คอมพิวเตอรยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524 - ปจจุบัน) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciuit) การพัฒนา ไมโครโปรเชสเซอร สิทธิภาพมากขึ้น
  • 4. 4 ลักษณะและประเภทของคอมพิวเตอร การจัดแบงประเภทเครื่องคอมพิวเตอรอาจจะแบงไดหลายกรณีดวยกัน แตในที่นี้จะอาศัย หลักการโดยใชความเร็วและขนาดของหนวยความจําบันทึกขอมูลเปนหลักของการแบงลักษณะและ ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถแบงได 4 ประเภทไดแก 1. Super Computer 2. Mainframc Computer 3. Mini Computer 4. Micro Computer Super Computer เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพสูง มีความเร็วในการประมวลผลที่สูงประมาณ 100 คําสั่ง ตอวินาที และมีขนาดความจําปริมาณมาก ตองการหองที่สามารถปรับอุณหภูมิได และมักจะใช งานวิจัยตาง ๆ เชนการวิจัยเกี่ยวกับดินฟาอากาศ(อุตุนิยมวิทยา) การวิเคราะหภาพถาวดาวเทียม การ วิเคราะหดานโมเลกุลของสารตาง ๆ Mainframc Computer เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพรองมาจาก Super Computer มีความตองการการ บํารุงรักษาคลาย ๆ กับ Super Computer แตมักจะพบในองคกรขนาดใหญ เชน ธนาคาร บริษัท ธุรกิจการบิน และมหาวิทยาลัยตาง ๆ เพราะเปนคอมพิวเตอรที่สามารถเชื่อมโยงกับเครื่องปลายทางได จํานวนมาก ทําใหสามารถตอบสนองการใชงานระหวางผูใชไดพรอมกันหลาย ๆ คน Mainframc Computer Mini Computer Mini Computer เปนคอมพิวเตอรขนาดกลางที่มักจะพบในหนวยงานบริษัทที่ใชงานดานเฉพาะ เชน ประมวลผลงานบัญชีสามารถนําไปเชื่อมตอกับเครื่องปลายทางไดหลายเครื่อง โดยมีลักษณะการ ทํางานแบบ การประมวลผลกระทําสวนกลางแลวนําไปประมวลผลที่ปลายทาง โดยที่เครื่อง ปลายทางไมตองประมวลผลเอง(Centralized)
  • 5. 5 Micro Computer คอมพิวเตอรใชงานที่พบไดอยางแพรหลายโดยอาจจะพบไดทั้งในรูปของเครื่องคอมพิวเตอร สวนบุคคล แบบตั้งโตะ(Personal Computer)หรือแบบพกพา(Portable Computer)ลักษณะตาง ๆ ลักษณะการใชงานของเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสวนบุคคล(PC) ไมโครคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็ก บาง คนเห็นวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานสวนบุคคล หรือเรียกวาพีซี (personal Computer : PC) สามารถใชเปนเครื่องตอเชื่อมในเครือขาย หรือใชเปนเครื่องปลายทาง (tcrminal) ซึ่งอาจจะทําหนาที่ เปนเพียงอุปกรณรับและแสดงผลสําหรับเขียนขอมูลและดูผลลัพธโดยการดําเนินการประมวลผลบน เครื่องอื่นในเครือขาย อาจจะกลาวไดวาไมโครคอมพิวเตอร คือเครื่องคอมพิวเตอรที่มีหนวย ประมวลผลกลางเปนไมโครคอมโพรเซสเซอร ใชงานงาย ทํางานในลักษณะสวนบุคคลได สามารถ แบงแยกไมโครคอมพิวเตอรตามขนาดของเครื่องไดดังนี้ Desktop Laptop Notebook Palmtop คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (Desktop Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กถูก ออกแบบมาใหตั้งโตะ มีการแยกชิ้นสวนประกอบเปน ซีพียู จอภาพ และแผงแปนอักขระ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร (Labtop Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่วางใชงาน บนตักได ภาพที่ใชเปนแบบแบนราบชนิดจอภาพผนึกเหลว (liquid Crystal Display : LCD) น้ําหนักของเครื่องประมาณ 18 กิโลกรัม โนตบุคคอมพิวเตอร (Notebook Computer) เปน ไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาดและมีความหนามากกวาแล็บท็อป น้ําหนักประมาณ 1.5-3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเปนแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบสีโนตบุคที่มีขายทั่วไปมี ประสิทธิภาพและความสามารถเสมือนแล็ปท็อป ปาลมท็อปคอมพิวเตอร (Plamptop Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรสําหรับทํางาน เฉพาะอยางเชนเปนพจนานุกรม เปนสมุดจดบันทึกประจําวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บขอมูล เฉพาะบางอยางที่สามารถพกพาติดไปมาไดสะดวก
  • 7. 7 องคประกอบของคอมพิวเตอรสวนบุคคล สวนประกอบภายนอกและการการใชงาน • จอภาพ (Monitor) • เคส (Casc) • คียบอรด (Keyborad) • เมาส (Mouse) • ลําโพง (Speaker) • เครื่องสํารองไฟ (UPS) สวนประกอบภายในและการการใชงาน • หนวยประมวลผลกลาง (Contral Processing Unit : CPU) • หนวยความจําสําหรับเก็บขอมูลและคําสั่ง (Data & Programming Memory) • เมนบอรด (Mainborad) • ฮารดดิสกไดรฟ (Harddisk Drive) • ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) • ฟล็อปปดิสกไดรฟ (Floppy Disk Drive) • ชองขยาย (Slot) • แหลงจายไฟ (Power Supply) อุปกรณตอพวง • เครื่องพิมพชนิดตาง ๆ (Printer) • เครื่องสแกนภาพ (Scanner) • โมเด็ม (Modem)
  • 8. 8 สวนประกอบภายในและการทํางาน หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หนวยประมวลผลกลางเปรียบไดกับสมองของคอมพิวเตอร เปนสวนที่สําคัญที่สุด ทําหนาที่ เปนศูนยกลางในการประมวลผลและควบคุมระบบตาง ๆ ของคอมพิวเตอร ใหทุกหนวยทํางาน สอดคลองสัมพันธกัน หลายทานคงสงสัยวาไมโครโพรเซสเซอร(Microprocessor) , ชิป(Chip) , โพรเซสเซอร (Processor) เหมือนหรือตางจาก CPU หรือไม อยางไร ? คําตอบคือเหมือนกัน จะเรียกชื่ออะไรก็ได เนื่องจากสวนประกอบภายในวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ซับซอนจํานวนมาก มีทรายซิสเตอรประกอบกัน เปนวงจรหลายลานตัว แตละชิ้นมีความกวาง 0.35 ไมครอน (ขณะที่เสนผมคนเรามีเสนผาศูนยกลาง 100 ไมครอน ผานกรรมวิธีการผลิตที่สะอาดในโรงพยาบาลเสียอีก สําหรับยี่หอหรือแบรนด ของ ซีพียูที่ใชในปจจุบัน คือ Intel , AMD , Cyrix) หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยหนวยยอย ดังนี้ • หนวยควบคุม (Control Unit) • หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic unit;ALU) • หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit) สื่อสารระหวางหนวยงานตาง ๆ ใน CPU จะใชสายสัญญาณที่เรียกวา Bus Line หรือ Data Bus หนวยควบคุม (Control Unit) หนวยควบคุมทําหนาที่ควบคุมการทํางานของทุก ๆ หนวยใน CPU และอุปกรณอื่นที่ตอพวง เปรียบเสมือนสมองที่ควบคุมการทํางานสวนประกอบตาง ๆ ของรางกายมนุษย เชน แปลคําสั่งที่ ปอน ควบคุมใหหนวยรับขอมูลเขามาเปนตัวหารประมวลผล ตัดสินใจวาจะใหเก็บขอมูลไวที่ไหน ถูกตองหรือไม ควบคุม ALU ทําการคํานวณขอมูลเขามา ตลอดจนควบคุมการแสดงผลลัพธ เปนตน หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic unit;ALU) หนวยคํานวณแลตรรกะ ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร (Arithmetic operations) และการ คํานวณและคณิตศาสตร (Logical operations) โดยปฏิบัติการเกี่ยวกับการคํานวณไดแก การบวก (Addition) ลบ (Subtraction)
  • 9. 9 คูณ (Multiplication ) หาร (Division) สําหรับการคํานวณทางตรรกศาสตร ประกอบดวย การ เปรียบเทียบคาจริงหรือคาเท็จ โดยอาศัยปฏิบัติการพื้นฐาน 3 คา คือ • เงื่อนไขเทากับ ( = , Equal to condition ) • เงื่อนไขนอยกวา ( < , Less than condition) • เงื่อนไขมากกวา ( >, Greater than condition ) สําหรับตัวปฏิบัติทางตรรกะ สามารถนํามาผสมกันไดทั้งหมด 6 รูปแบบ คือ • เงื่อนไขเทากับ (=, Equal to condition ) • เงื่อนไขนอยกวา (< , Less than condition ) • เงื่อนไขมากกวา ( >, Greater than condition ) • เงื่อนไขนอยกวาหรือเทากับ (< = , Less than or equal condition ) • เงื่อนไขมากกวาหรือเทากับ ( <>, Less than or grater than condition ) ซึ่งเปนเงื่อนไขที่มีคา คือ “ไมเทากับ ( not equal to) ” นั่นเอง หนวยความจําหลัก ( Main Memory Unit) หนวยความจําหลัก ซึ่งมีชื่อเรียกหลายชื่อ ไดแก Main Memory Unit ,Primary Starage Unit ,Internal Storage Unit เปนหนวยที่ใชเก็บขอมูล และคําสั่งที่ใชในการประมวนผล และเก็บขอมูลในการ ประมวลผล และเก็บขอมูลตลอดจนคําสั่งชั้วคราวเทานั่น ขอมูลและคําสั่งจะถูกสงมาจากหนวย ควบคุม สามารถแบงไดเปน 2ประเภท คือ • หนวยความจําสําหรับเก็บคําสั่ง (Program Memory) • หนวยความจําสําหรับเก็บขอมูลและคําสั่ง (Data & Programming Memory) หนวยความจําสําหรับเก็บขอมูลและคําสั่ง (Data & Programming Memory ) หรือที่เรียกวา (RAM ; Random Access Memory) เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูล และคําสั่งจากหนวยรับขอมูล แตขอมูล และคําสั่งเหลานั่น สามารถหายไปได เมื่อมีการรับขอมูลหรือคําสั่งใหม หรือปดเครื่อง หรือกระแสไฟฟาขัดของ หนวยความจํา แรม เปนหนวยความจําที่สําคัญที่สุดของคอมพิวเตอร จําเปนจะตองเลือกซื้อใหมีขนาดใหญพอสมควร มิ เชนนั้นจะทํางานไมสะดวกแรมในปจจุบันแบงไดเปน 1. SRAM ( Static RAM ) ทํางานไดโดยไมตองอาศัยนาฬิกา เปนหนวยความจําที่ สามารถอานและเขียนขอมูลไดเร็วกวา DRAM เนื่องจากไมตองมีการรีเฟรชอยูตลอดเวลา แต หนวยความจําชนิดนี้มีราคาแพงและจุขอมูลไดไมมาก จึงนิยมใชเปนหนวยความจําแครชซึ่งเปน อุปกรณชวยเพิ่มความเร็วในการทํางานของ DRAM 2. DRAM (Dynamic Ram ) ทํางานโยสัญญานาฬิกามากระตุน แตก็มีจุดเดนคือ มีขนาด เล็กกวา DRAM และสินเปลืองพลังงานนอยกวา ยังบงยอยไดเปน - PRM DRAM (Fast Page Mode Dynamic RAM)
  • 10. 10 - EDO RAM ( Extened - Data - Out RAM) - SDRAM (Synchronous Dynamic RAM) - DDR SDRAM ( Double data Rate Syncronous Dynamic RAM) - RDRAM ( Rambys Dynamic RAM ) - เมนบอรด ( Mainboard ) เมนบอรดเปนอุปกรณที่สําคัญรองมาจากซีพียู เมนบอรดทําหนาที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทํางาน ของอุปกรณตางๆ แทบทั้งหมด ในเครื่องคอมพิวเตอร ตั้งแตซีพียูไปจนถึงหนวยความจําแคช หนวยความจําหลัก ฮารดดิสก ระบบบัส บนเมนบอรดประกอบดวยชิ้นสวนตางๆ มากมายแตสวนสําคัญๆประกอบดวย ชุดชิพเซ็ต ชุดซิพเซ็ตเปนเหมือนหัวใจของเมนบอรดอีกทีหนึ่ง เนื่องจากอุปกรณตัวนี้จะมีหนาที่หลัก เปนเหมือนทั้งอุปกรณแปลภาษาใหอุปกรณตางๆ ที่อยูบนเมนบอรดสามารถทํางานรวมกันได และทํา หนาที่ควบคุม อุปกรณตางๆ ใหทํางานไดตามตองการโดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบดวยชิพ 2 ตัวคือ ชิพ System Controller และชิพ PCI to SA Bridge ชิพ SyStem Controller หรือ AGPSET หรือ NORTH bridge เปนชิพที่ทําหนาที่เปนอุปกรณ เชื่อมตอกันระหวางระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณอื่นๆ ที่มีความเร็วในการทํางานต่ํากวาเชนระบบ บัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ
  • 11. 11 USB ชิพ คอนโทรลเลอร IDE ชิพ หนวยความจํารอมไบออส ฟล็อบปดิสก คียบอรด พอรตอนุกรม และพอรตขนาน ชุดชิพเซ็ตจะมีอยูดวยกันหลายรุนหลายยี่กอโดยลักษณะการใชงานจะขึ้นอยูกับซีพียู ที่ใช เปนหลัก เชน ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 430 ของอินเทล เชน ชิพเซ็ต 430FX, 430HX,430VX, และ 430TX จะใชงานรวมกับซีพียู ตระกูลเพนเทียม เพนเทียม MMX, K5, K6, 6X86L, 6X86MX (M II) และ IDT Winchip C 6 ชุดชิพเซ็ตตระกูล 440 ของอินเทล เชน ชิพเต 440 FX ,440LX,440EXและ ชิพเซ็ต 440BXจะใชงานรวมกับ ซีพียูตระกลูเพนเที่ยมโปรเพนเทียมทู และเซลเลอรอน และชุดชิพ เช็ท450GXและ450NXก็จะใชงานรวมกับซีพียูตระกลูเพนเทียมทูซีนอนสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร ระดับServer และ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัทอื่นๆอีกหลายรุนหลายยี่หอที่ถูกผลิต ออกมา แขงกับอินเทล เชน ชุดชิพเซ็ต Apollo VP2 , Apollo VP3และ Apollo mvp3 ของ VIA , ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+และAladin V ของ Ali และชุดชิพเซ็ต 5597/98,5581/82 และ5591/92 ของ SiS สําหรับ ซีพียูตระกลูเพนเทียม เพนเทียม MMx, K5 , K 6 ,6X86L, 6X86MX (M II) และ IDT Winchip C 6 ชุดชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo Pro ของ VIA , ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II M162/M1543C ของ Ali ของ ชุดชิพเซ็ต 5601 ของ SiS สําหรับซีพียูตระกูลเพนเทียมทู และเซล เลอรอน ซึ่งชิพเซ็ตแตละรุน แตละยี่หอนั้นจะมีจุดดีจุดเดนแตกตางกันไป หนวยความจํารอมไบออส และแบตเตอรี่แบ็คอัพ ไบออส BIOS ( Basic Input Output Sytem ) หรือ อาจเรียกวา ซีมอส (CMOS) เปน ชิพ หนวยความจําชนิดหนึ่งที่ใชสําหรับเก็บขอมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จําเปนตอการบูตของระบบ คอมพิวเตอร โดยในอดีตสวนของชิพรอมไบออสจะประกอบดวย 2 สวนคือ ชิพไบออส และชิพ ซีมอส ซึ่งชิพไบออสจะทําหนาที่ เก็บขอมูลพื้นฐานที่จําเปนตอการบูตของระบบคอมพิวเตอรสวน ชิพซีมอสจะทําหนาที่ เก็บโปรแกรมขนาดเล็กที่ใชในการบูตระบบและสามารถเปลี่ยนขอมูลบางสวน ภายในชิพได ชิพไบออสใชพื้นฐานเทคโนโลยีของรอม สวนชิพซีมอสจะใชเทคโนโลยีของแรม ดังนั้นชิพไบออสจึงไมจําเปนใชเทคโนโลยีพลังงานไฟฟา ในการเก็บรักษาขอมูลแตชิพซีมอสจะตอง การพลังงานไฟฟาในการเก็บรักษาขอมูลตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟา ก็จะมาจากแบตเตอรี่ แบ็คอัพที่ อยูบนเมนบอรด ( แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเปนกระปองสีฟา หรือเปนลักษณะแบนกลมสีน้ําเงิน ซึ่งภายในจะ บรรจุแบตเตอรี่แบบลิเธียมขนาด 3 โวลลไว ) แตตอมาในสมัย ซีพียูตระกูล 80386 จึงไดมีการรวม ชิพทั้งสองขางไวดวยกันและเรียกชื่อวา ชิพรอมไบออสเพียงอยางเดียว และที่การชิพรอมไบออสเปน การรวมกันของชิพไบออส และชิพซีมอสจึงทําใหขอมูลบางสวนที่อยูภายใน ชิพรอมไบออสตองการ พลังงานไฟฟาเพื่อรักษาขอมูลไวแบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเปนสิ่งจําเปนอยูจนถึงปจจุบัน จึงเห็นได วาเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแลวขอมูลที่คุณเซ็ตไว เชน วันที่ จะหายไป เปนพื้นฐาน จากโรงงานและก็จะเซ็ตใหมทุกครั้งที่เปดเครื่องเทคโนโลยีรอมไบออสในอดีต หนวยความจํารอม ชนิดนี้จะเปนแบบ EPROM ( Electrocal Programmable Read Only Memory ) ซึ่งเปนชิพ
  • 12. 12 หนวยความแคชระดับสอง หนวยความจําแคชระดับสองนั้นเปนอุปกรณ ตัวหนึ่งที่ทําหนาที่เปนเสมือนหนวยความจํา บัฟเฟอรใหกับซีพียู โดยใชหลักการที่วา การทํางานรวมกับอุปกรณที่ความเร็วสูงกวา จะทําให เสียเวลาไปกับการรอคอย ใหอุปกรณที่มีความเร็วต่ํา ทํางานเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการ ทํางานสูงมาก การที่ซีพียูตองการขอมูลซักชุดหนึ่งเพื่อนําไปประมวลผลถาไมมีหนวยความจําแคช ฮารดดิสกไดรฟ ( Harddisk Drive ) เปนที่สําหรับเก็บขอมูลขนาดใหญ มีความจุสูงถึงหนวยเมกะไบต จนถึงกิกะไบต และมีความเร็ว สูงในการทํางาน และการสงผานขอมูลมากกวา Secondary Storage ทั่วไปซึ่ง Harddisk จะประกอบ ไปดวยจาน Disk หรือที่เรียกวา Platters หลายๆแผนรวมกัน ซึ่งแตละดานของ Platters จะถูกปกคลุม ไปดวยสารประกอบ Oxide เพื่อใหสามารถบันทึกขอมูล Harddisk จะอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรซึ่ง ไมสะดวกในการเคลื่อนยาย บางทีถูกเรียกวา Fixed Disk การทํางานของ Harddisk ก็มีลักษณะคลายๆกับแผนดิสกโดยที่จะทําการบันทึกขอมูลจําเปนตอง Farmat เพื่อใหมีการกําหนด Track , Cylinder ตางๆขึ้นมากอนเพื่อใชในการอางตําแหนง นอกจากนี้แลวมันยังสามารถจัดแบง partition กลาวคือ Hard Disk ตัวหนึ่งสามารถแบงไดหลาย partition ขึ้นอยูกับการแบง partition กอนการ Format (การกําหนด partition สามารถทําไดโดยใช คําสั่ง FDISK ) นอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรวาใชระบบ PCI หรือไม ถาไมใชระบบ PCI ในเครื่องจะมองเห็นฮารดดิสกขนาดสูงสุดเพียง 540 MB แตถาเปน PCI จะตองมาตรวจสอบ OS (Operation System) ดูอีกทีวาใชอะไร เชน ถาเปน Window 95 จะสามารถมองเห็น Hard Disk สูงสุด 1.27 GB 9ตอ 1 partition ซึ่งถาเรามี Hard Disk 1 ตัว
  • 13. 13 แตเปน 2 GB ก็ตองจัดแบงมันเปน 2 partition ถาเปนระบบ Window 95 OSR2 จะสามารถมองเห็น ได 2 GB เปนตน ระบบควบคุมการทํางานของ Hard Disk ที่มีการใชงานอยูในคอมพิวเตอรสามารถจําแนกตาม จุดตอประสาน ( Interface ) ไดเปน 4 ระบบ คือ ระบบ ST – 506/412 ระบบ ESDI ระบบ SCSI และ ระบบ IDE ซึ่งในปจจุบัน 2 ชนิดแรกไมมีใชแลวซึ่งขอกลาวถึงสองชนิดหลักดังนี้ • SCSI ( Small System Interface) เปนระบบที่ใชกันมากในขนาดนี้ เพราะนอกจากจะสามารถ ควบคุมฮารดดิสกแลว ยังสามารถควบคุมเสนทางการสงถาย ขอมูลเกี่ยวกับอุปกรณอื่นๆที่มีโพรเซสเซอรอยูในตัวเอง ทําใหเปนสวนเพิ่มขยายสําหรับ แผงวงจรใหมและสามารถใชควบคุมอุปกรณเสริมอื่นๆไดดวย เชน โมเด็ม ซีดีรอม เปนตน • IDE ( Integrated Drive Electronics ) เปนระบบใหมที่มีความใกลเคียงกับ SCSI แตมีราคาต่ํา กวาปจจุบันนิยมบรรจุ IDE รวมอยูในแผงวงจรของซีพียู ทําใหมีชองวางใหใชงานอื่นๆ เพิ่มขึ้น ซีดีรอมไดรฟ (CD- ROM Drive) CD-ROM เปนอุปกรณที่ทําหนาที่อานขอมูล จากแผนซีดีรอมและทําการแปลงสัญญาณขอมูล แลวสงไปยังหนวยประมวลผลของคอมพิวเตอร การทํางานของซีดีรอมภายในซีดีรอมจะแบงเปนแทร็กและเซ็คเตอรเหมือนกับแผนดิสก แตเซ็คเตอร ในซีดีรอมจะมีขนาดเทากัน ทุกเซ็คเตอรทําใหสามารถเก็บขอมูลไดมากขึ้น เมื่อไดรฟซีดีรอมเริ่ม ทํางานมอเตอรจะเริ่มหมุนดวยความเร็ว หลายคา ทั้งนี้เพื่อใหอัตราเร็วในการอานขอมูลจากซีดีรอม คงที่สม่ําเสมอทุกเซ็คเตอร ไมวาจะเปนเซ็คเตอร ที่อยูรอบนอกหรือวงในก็ตาม จากแสงเลเซอรจะฉาย ซีดีรอม โดยลําแสงจะถูกโฟกัสดวยเลนสที่เคลื่อนที่ดวยตําแหนงได โดยการทํางานของขดลวด ลําแสงเลเซอรจะทะลุไปที่ซีดีรอมแลวถูกสะทอนกลับที่ผิวหนาของซีดีรอมจะเปน หลุมเปนบอ สวน ที่เปนหลุม ลงไปเรียกวา “แลนด” สําหรับบริเวณที่ไมมีการเจาะลึกลงไปเรียกวา “พิต” ผิวสอง รูปแบบนี้เราใชแทนการเก็บขอมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไมสะทอน กลับ แตเมื่อแสงถูกเลนสจะสะทอยกลับผานแทงปริซึม จากนั้นผานแทงปริซึมไปยัง ตัวตรวจจับแสง อีกที ทุก ๆ ชวงของลําแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจะกําเนิดแรงดันไฟฟา หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทําให คอมพิวเตอรสามารถเขาใจได สวนการบันทึกขอมูลลงแผนซีดีรอมนั้นตองแสงเลเซอรเชนกัน โดยมี ลําแสงเลเซอรจากหัว
  • 14. 14 บันทึกของเครื่อง บันทึกขอมูลสองไปกระทบพื้นผิวหนาแผน ถาสองไปกระทบบริเวณใดจะทําให บริเวณนั้นเปนหลุมขนาดเล็ก บริเวณที่ไมถูกบันทึกจะมีลักษณะเปนพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอด ทั้งแผน แผนซีดีรอมเปนสื่อในการเก็บขอมูลแบบออปติคอล(Optical Storage) ใชลําแสงเลเซอรอาน ขอมูลแผนซีดีรอม ทํามาจากพลาสติกเคลือบดวยอลูมิเนียม เพื่อสะทอนแสงเลเซอรที่ยิงมา เมื่อแสง เลเซอรที่ยิงมาสะทอนกลับไปที่ตัวอานขอมูลที่เรียกวา Photo Detector ก็อานขอมูลที่ไดรับกลับมาวา เปนอะไรและสงคา 0 และ 1 ไปใหกลับซีพียูเพื่อนําไปประมวลผลตอไป ฟล็อปปดิสกไดรฟ ( floppy Disk Drive) ในการเลือกใชแผนดิสกแตละชนิดนั้น จะตองมีตัวขับดิสก ( Floppy Disk Drive: FDD) ที่ สนับสนุนการทํางานเหลานี้ดวย โดยดิสกไดรฟตัวแรก พัฒนาโดย Alan Shugat บริษัท ไอบีเอ็มใน ป ค.ศ. 1967 เปนดิสกไดรฟ สําหรับแผนบันทึกขอมูลขนาด 8 นิ้ว ( แผนดิสก – Diskette 8”) จากนั้นมีการพัฒนาขนาดลงมาเพื่อ สนับสนุนแผนดิสกขนาด 5 ¼ นิ้ว และ 3 ½ นิ้ว ในปจจุบัน ดังนั้นดิสกไดรฟจึงมี 2 ขนาดตามแผนดิสกที่ใชในปจจุบัน คือ ดิสกไดรฟขนาด 3.5 นิ้ว และ 5.25 นิ้ว ( ปจจุบัน พบ ดิสก 5.25 นิ้วนอยมาก ) และแตละประเภท ยังแบงตามประเภทความจุของแผนดิสก ไดอีกเปน • ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 3.5 นิ้ว ความจุ 740 KB • ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB- HD: high density • ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 5.25 นิ้ว ความจุ 640 KB • ดิสกไดรฟ สําหรับแผนดิสก 5.25 นิ้ว ความจุ 1.2 MB-HD: high density ชองขยาย (Slot) การมีชองเพิ่มขยาย หรือเรียกอีกอยางวาระบบบัสเพิ่มขยายนั้น จะชวยใหเราสามารถปรับแตง หรือเพิ่มขยายความสามารถของระบบ โดยผานทาง Plug – in Board หรือเรียกวาเปน Card เพิ่มขยาย Expransion Card เชน เมื่อตองการให Computer มีเสียง อยากให Computer เลนเพลงได ก็ตอง หาซื้อได Sound Card และลําโพง มา
  • 15. 15 ตอเพิ่ม โดยแคนํามา Piug ลงใน Expension slot บน Mainboard และทําการ Config ก็สามารถใช งานได โดยไมจําเปนตองมาเดินสายไฟ รื้อ Mainboard ใหมไหยุงยากประเภทของชองเพิ่มขยายจะมี ดังนี้ • แบบ PCI เปนชองเสียบอุปกรณเพิ่มเติมสวนใหญจะเปนสีขาวเรียงตอกัน 2-5 ชอง ใชเสียบ อุปกรณเพิ่มเติม เชน การดเสียบ การดแสดงผล โมเด็มแบบติดตั้งภายในและการดแลนเปน ตน • แบบ ISA เปนชองเสียบอุปกรณเพิ่มเติมเชนเดียวกับแบบ PCI แตเปนรุนเกากวามีสีดําขนาด ยาวกวาแบบ PCI เมนบอรดในปจจุบันสวนใหญไมมีชองเสียบแบบนี้แลว • แบบ AGP เปนชองเสียบอุปกรณแสดงผลความเร็วสูง • แบบ EISA • แบบ MCA แหลงจายไฟ ( Power Supply ) แหลงจายไฟ ( Power Supply ) เปนสวนสําคัญเชนกันเพราะถาไมมี แหลงจายไฟ ( Power Supply ) แลวนั้นคอมพิวเตอรจะทํางานอยางไร แหลงจายไฟจะมีรูปทรงและการทํางานที่เปนไปตาม ระบบปฏิบัติการของเมนบอรดเชนกัน แหลงจายไฟแบบ ATX นั้นมีการทํางานที่ดีกวาและเหนือกวาการทํางานดวยแหลงจายไฟ ( Power Supply ) แบบ AT เพราะการปดเปดเครื่องดวยระบบ ATX นั้นจะมีการทํางานดวยซอฟแวร เปนตัวกําหนดการทํางานสําหรับการปดเปดเครื่องและเคส ATX นั้นจะมีการใหแหลงจายไฟ ( Power Supply )มาใหที่มากกวาแหลงจายไฟ ( Power Supply ) แบบ AT สวนมากที่เคสแบบ ATX ใหมา นั้นมักจะอยูที่ 250 watt ถึง 400 watt ซึ่งเปนพลังงานที่มากกวาระบบ AT ทําใหมีความเสถียรภาพ มากขึ้นนั้นเอง
  • 16. 16 อุปกรณตอพวง เครื่องพิมพชนิดตางๆ (Printer) เครื่องพิมพ เปนอุปกรณที่เชื่อมตอเขากับคอมพิวเตอรเพื่อทําหนาที่ในการแปลผลลัพธที่ได จาก การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร ใหอยูในรูปอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยูบน กระดาษ นับเปนอุปกรณแสดงผลที่นิยมใช เครื่องพิมพแบงออกเปน 4 ประเภท 1. เครื่องพิมพดอตเมทริกซ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพแบบนี้เปนที่นิยมและใชกันอยางกวางขวาง เนื่องจากสามารถพิมพไดทั้งตัว อักขระและรูปภาพ และมีราคาคอนขางถูกเมื่อเทียบกับเครื่องพิมพแบบอื่น การพิมพจะใชหัวพิมพที่มี ลักษณะเปนเข็มซึ่งเรียกวา Pin เรียงกันเปนแถวในแนวตั้ง กระทบลงบนผาหมึกเพื่อใหเกิดจุดบน กระดาษทีละแถวตัวหนังสือจะถูกสรางจากชุดของรอยจุดที่เกิดจากหัวเข็มพิมพนี้ ดังนั้นตัวอักษรที่ได จะมีลักษณะเปนจุดๆที่ตอเนื่องกันความหยาบหรือความละเอียดจะขึ้นอยูกับหัวเข็มพิมพและโหมดที่ ใชในการพิมพ โดยทั่วไปแลวในการพิมพจะมีโหมดของการพิมพ 2 โหมดคือ โหมด Draft และโหมด NLQ (Near Quality Mode) การพิมพในโหมด draft ในแตละแถวของกระดาษจะถูกพิมพเพียงเทียวเดียว ทํา ใหไดตัวหนังสือไม คมชัดโดยเฉพระอยางยิ่งถาเปนเครื่องพิมพแบบ 9 หัวเข็ม เนื่องจากมีชองวาง ระหวางจุดอยู จึงไดมีการปรับปรุงโหมดการพิมพขึ้นเปนโหมดเรียกวา NLQ ในโหมดนี้จะมีการสั่ง ใหหัวพิมพทําการพิมพ 2 เที่ยวในแตละแถวโดยจุดที่พิมพในเที่ยวที่ 2 จะพิมพในระหวางที่พิมพไป แลวครั้งแรก ดังรูป 5.17 (ข) ซึ่งลักษณะการพิมพแบบนี้จะทําใหตัวอักษรมีความคมชัดขึ้นและมีความ สม่ําเสมอขึ้นอีกเทาตัวแตขอเสียคือจะใชเวลาในการพิมพมากขึ้น ดังนั้นจึงไดมีการปรับปรุงหัวพิมพ ใหมีจํานวนหัวเข็มพิมพมากขึ้น ซึ่งแตเดิมมีเพียง 9 หัวเข็ม ก็ไดพัฒนา 18 หรือ 24 หัวเข็ม ทําใหการ พิมพทั้งในโหมด Draft และโหมด NLQ สามารถพิมพเทียวเดียว ซึ่งจะเทียบเทากับกับแบบ 9 หัวเข็ม สั่งพิมพ 2 เที่ยว ตัวพิมพจึงสวยงามและมีความเร็วเพิ่มขึ้นกวาเดิมมาก
  • 17. 17 2. เครื่องพิมพแบบพนละอองหมึก(Ink Jet Spray Printer) เครื่องพิมพแบบนี้จะมีความเร็วในการทํางานมากเครื่องหนึ่ง โดยการพิมพจะใชหัวเข็มแบบ ปน ฉีดหมึกเปนจุดเล็กๆบนกระดาษเพื่อประกอบกันเปนตัวหนังสือ โดยไมตองกดหัวเข็มลงไปจริงๆ และเนื่องจากแตละจุดของน้ําหมึกบนกระดาษจะมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับจุดที่เกิดจากเครื่องพิมพ แบบดอตเมทริกซ ดังนั้นความคมชัดของการพิมพจึงมีมากกวาแบบดอตเมทริกซ และโดยทั่วไป เครื่องพิมพชนิดนี้ถูกออกแบบมาสําหรับการพิมพภาพสีโดยเฉพาะ ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการพิมพ ภาพดานกราฟฟก นอกจากนี้ความเร็วในการพิมพก็คอนขางสูง ราคาก็ใกลเคียงกับเครื่องพิมพแบบ ดอตเมทริกซ ดังนั้นเครื่องพิมพประเภทนี้จึงไดรับความนิยมมากกวาแบบเครื่องพิมพแบบใชความ รอน – ไฟฟา 3. เครื่องพิมพแบบเลเซอร(Laser Printer) เปนเครื่องพิมพที่มีความเร็วสูงเมื่อเทียบกับเครื่องพิมพชนิดอื่น เดิมทีถูกออกแบบมาใชกับ เครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ เชน เมนเฟรม แตเนื่องจากความสามารถในการพิมพผลงานที่มี คุณภาพสูง และราคาที่ลดลง จึงทําใหเครื่องพิมพชนิดนี้ไดรับความนิยมจากคอมพิวเตอรเกือบทุก ประเภท และมีแนวโนมวาจะเปนเกรดมาตรฐานของเครื่องพิมพพีซีในอนาคตอีกดวย เครื่องพิมพเลเซอรนี้จะใชเทคโนโลยีของเครื่องถายเอกสาร คอมพิวเตอรสงสัญญาณบอก เครื่องพิมพวาจะใหพิมพผงหมึกลงบนกระดาษตําแหนงใดบาง ซึ่งจะเริ่มจากการใชเลเซอรวาดภาพที่ จะพิมพนี้ลงบนแทงทรงกระบอกที่เรียกวา ดรัม (Drum) กอน โดยตัวประมวลผลของคอมพิวเตอรจะ ควบคุมใหมีการยิงแสงเลเซอรไปยังกระจกสะทอนแสงที่หมุนไดไปตกทบดรัมตามรูปรางที่จะพิมพ แสงเลเซอรจะทําใหดรัมที่ถูกแสงประจุไฟฟาเปนบวกเหมือนกับแผนกระดาษ สวนบริเวณที่ไมถูก แสงจะยังคงมีประจุเปนลบอยู เมื่อดรัมหมุนถึงตัวปลอยผงหมึก ผงหมึกซึ่งมีประจุเปนลบก็จะเกาะ ดรัมเฉพาะบริเวณที่มีประจุไฟฟาเปนบากเทานั้น ทําใหเปนรูปภาพหรือตัวอักษรขึ้นบนดรัม หลังจาก นั้นกลไกจัดกระดาษจะปอนกระดาษเขามายังดรัมซึ่งยังคงหมุนอยู
  • 18. 18 ประจุไฟฟาบวกที่มีความแรงกวาประจุไฟฟาบวกบนดรัมจะเกิดการผลักกันและดึงผงหมึกที่มีประจุ ไฟฟาลบจากดรัมตกลงมายังกระดาษจนเปนรูปรางตัวอักษรหรือรูปภาพ หลังจากนั้นกระดาษก็จะ เคลื่อนที่ไปสูกลไกอบกระดาษซึ่งจะใชความรอนอบละลายใหผงหมึกที่มีสวนประกอบของไขละลาย ติดกระดาษ และกลไกการจัดกระดาษก็จะนํากระดาษออกมาจากเครื่องพิมพ ซึ่งจะสังเกตไดวา กระดาษมีความรอนหลังจากที่ออกจากเครื่องพิมพใหมๆ เครื่องพิมพเลเซอรจะเปนเครื่องพิมพที่ทํางานไดเร็วมาก ความเร็วในการพิมพอาจ สูงถึง 10 – 12 แผนตอนาที การทํางานจะคอนขางเงียบและตัวหนังสือก็สวยงามมาก ซึ่งลักษณะ ตัวหนังสือจะลักษณะที่เรียกวา NLQ (Near Quality Mode) เนื่องจากภาพหรือตัวอักษรที่ไดจะเกิดจาก จุดเล็กๆของลําแสงเลเซอร จึงมีความละเอียดสูงกวาแบบดอตเมทริกซมากมายนัก 4. พล็อตเตอร(Plotter) พล็อตเตอร เปนเครื่องพิมพที่ใชปากกาในการเขียนขอมูลตางๆลงบนกระดาษเหมาะสําหรับ งานเขียนแบบทางวิศวกรรม(เขียนลงบนกระดาษไข) และตกแตงภายใน สําหรับวิศวกรรมและ สถาปนิก พล็อตเตอร ทํางานโดยใชเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใชปากกาได 6 – 8 สี ความเร็วในการ ทํางานของพล็อตเตอร มีหนวยวัดเปนนิ้วตอวินาที (Inches Per Secon: IPS) ซึ่งหมายถึงจํานวนนิ้วที่ พล็อตเตอร สามารถเลื่อนปากกาไปบนกระดาษ เครื่องสแกนภาพ (Scaner) สแกนเนอร คืออุปกรณซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของแอนาลอกเปนดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษาและผลิตออกมาได ภาพนั้นอาจเปนรูปถาย ขอความ ภาพวาด หรือแมแตวัตถุสามมิติ สามารถใชสแกนเนอรทํางานตางๆไดดังนี้ ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถายในเอกสาร- บันทึกขอมูลลงในเวิรดโปรเซสเซอร-
  • 19. 19 แฟคเอกสาร ภายใตดาตาเบส และเวิรดโปรเซสเซอร- เพิ่มเติมภาพและจินตนาการตางๆลงไปในผลิตภัณฑโฆษณาตางๆ- โดยพื้นฐานการทํางานของสแกนเนอร ชนิดของสแกนเนอรและความสามารถของ สแกนเนอรแบงออกไดดังตอไปนี้ ชนิดของเครื่องสแกนเนอร สแกนเนอรสามารถจัดแบงตามลักษณะทั่วๆไปได 2 ชนิด คือ 1. Flatbed scanners ซึ่งใชสแกนภาพถายหรือภาพพิมพตาง ๆ สแกนเนอร ชนิดนี้มีพื้นผิว แกวบนโลหะที่ตัวสแกน เชน ScanMaker III 2. Transparency and slide scanners ซึ่งถูกใชสแกนโลหะโปรง เชน ฟลมและสไลด สิ่งที่จําเปนสําหรับการสแกนภาพมีดังนี้ สแกนเนอร- สาย SCSI สําหรับตอกับสแกนเนอรไปยังเครื่องคอมพิวเตอร- ซอฟตแวรสําหรับสแกนภาพ ซึ่งทําหนาที่ควบคุมการทํางานของสแกนเนอรใหสแกน- ภาพตามที่สั่ง สแกนเอกสารเก็บไวเปนไฟลที่นํากลับมาแกไขไดอาจตองมีซอฟตแวรที่สนับสนุนดาน- OCR จอภาพที่เหมาะสําหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร- เครื่องมือสําหรับแสดงพิมพภาพที่สแกน เชน เครื่องพิมพแบบเลเซอรหรือสไลด- โปรเจคเตอร ประเภทของภาพที่เกิดจากการสแกน แบงเปนประเภทดังนี้ 1. ภาพ Single Bit เปนภาพที่มีความหมายมากที่สุดใชพื้นที่ในการเก็บขอมูลนอยที่สุด และ นํามาใชประโยชนอะไรไมคอยได แตขอดีของภาพประเภทนี้ คือ ใชทรัพยากรของเครื่องนอยที่สุด ใชพื้นที่ในการเก็บขอมูลนอยสุด ใชเวลาในการสแกนภาพนอยที่สุด Single Bit แบงออกไดเปนสอง ประเภทคือ - Line Art ไดแกภาพที่มีสวนประกอบของภาพเปนขาวดํา ตัวอยางของภาพนี้ ไดแก ภาพที่ ไดจากการสแกน - Halftone ภาพเหลานี้จะเปนสีโทนสีเทามากกวา แตโดยทั่วไปยังถูกจัดวาเปนประเภท Single bit เนื่องจากเปนภาพแบบหยาบๆ
  • 20. 20 2. ภาพ Gray Scale ภาพพวกนี้จะมีสวนประกอบมากกวาภาพขาวดํา โดยจะประกอบดวย เฉดสีเทาเปนลําดับขั้น ทําใหเห็นรายละเอียดดานแสงเงา ความชัดลึกมากขึ้นกวาเดิมภาพพวกนี้แตละ พิกเซลหรือแตละจุดของภาพ อาจประกอบดวยจํานวนบิตมากกวา มีพื้นที่เก็บขอมูลมากขึ้น 3. ภาพสี หนึ่งพิกเซลของภาพสีจะประกอบดวยจํานวนบิตมหาศาล และใชพื้นที่เก็บขอมูล มาก ความสามารถในการสแกนภาพออกมาไดละเอียดขนาดไหนนั้นขึ้นอยูกับวาใชสแกนเนอรขนาด ความละเอียดเทาไร 4. ตัวหนังสือ ตัวหนังสือในที่นี้ไดแก เอกสารตางๆ เชน ตองเก็บเอกสารโดยไมตองพิมพลง บนแฟมเอกสารของเวิรดโปรเซลเซอร ก็สามารถใชสแกนเนอรสแกนเอกสารดังกลาว และเก็บไวใน เอกสารได นอกจากนี้เทคโนโลยีในปจจุบันสามารถใชโปรแกรมที่สนับสนุน OCR (Optical Characters Reconize) มาแปลงแฟม เอกสารดังกลาวออกมาเปนแฟมขอมูลที่สามารถแกได โมเด็ม (Modems) เปนอุปกรณสําหรับคอมพิวเตอรอยางหนึ่งที่ชวยใหคุณสัมผัสกับโลกภายนอกไดอยาง งายดาย โมเด็มเปนงานโทรศัพทสําหรับคอมพิวเตอร ที่จะชวยใหระบบของคอมพิวเตอรของคุณ สามารถสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอรอื่นๆทั่วโลก โมเด็ม จะสามารถทํางานของคุณใหสําเร็จไดก็ ดวยการเชื่อมตอระหวางคอมพิวเตอรของคุณเขา คูสายโทรศัพทธรรมดาคูหนึ่ง ซึ่งโมเด็มจะทําการ แปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอรใหใชสัญญาณอนาล็อก (analog signals) เพื่อใหสามารถสงไปบนคูสายโทรศัพท คําวา โมเด็ม (Modems) มาจากคําวา (modulate/demodulate) ผสมกัน หมายถึง กระบวนการแปลงขอมูล ของดิจิตอล ใหอยูในรูปของอนาล็อก แลวจึงแปลงสัญญาณกลับเปน ดิจิตอลอีกครั้งหนึ่ง เมื่อโมเด็มของคุณตอกับโมเด็มตัวอื่น ความแตกตางของโมเด็มแตละประเภทจะมี คุณสมบัติดังนี้ โมเด็มแตละประเภทจะมีลักษณะที่แตกตางกันดังนี้
  • 21. 21 โมเด็มสามารถทําการแลกเปลี่ยน ขอมูลกับโมเด็มอื่นๆมีหนวยเปนบิต /วินาที(bps) หรือ กิโลบิต/ วินาที(kbps) ในการบอกความเร็วของโมเด็ม เพื่อใหงายตอการพูดและจดจํา มักจะตัดเลขศูนยออก แลวใชตัวอักษรแทน เชน โมเด็ม56000 bps จะเรียกวา โมเด็มขนาด 56 k 2. ความสามารถในการบีบอัดขอมูล ขอมูลขาวสารที่สงออกไป บนโมเด็มนั้นสามารถทําใหมี ขนาดกะทัดรัด ดวยวิธีการบีบอัดขอมูล (Compression) ทําใหสามารถสงขอมูลไดครั้งละเปนจํานวน มากๆ เปนการเพิ่มความเร็ว ของโมเด็มในการรับ – สงสัญญาณ 3. ความสามารถในการใชเปนโทรสาร โมเด็มรุนใหมๆสามารถสงและรับโทรสาร (Fax capabilities) ไดดีเชนดีกับการรับ – สงขอมูล หากคุณมีซอฟทแวรที่เหมาะสมแลวคุณสามารถใช แฟคซโมเด็มเปนเครื่องพิมพ ไดเมื่อคุณพิมพเขาไปที่แฟคซโมเด็ม มันจะสงเอกสารของคุณไปยัง เครื่องโทรสารที่ปลายทางได 4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใชวิธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ตางๆมากมายหลายวิธี ในการตรวจสอบเพื่อการยืนยันวาจะไมมีขอมูลใดๆสูญหายไป ระหวางการสงถายขอมูลของคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง 5. ออกแบบใหใชไดทั้งภายในภายนอก โมเด็มที่จําหนาย ในทองตลาดทั่วๆไป จะมี 2 รูปแบบ คือ โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (external modems) และแบบติดตั้งภายใน (internal modems) 6. ใชเปนโทรศัพทได โมเด็มบางรุนมีการใสวงจรโทรศัพทธรรมดาเขาไป พรอมกับ ความสามารถในการรับขอมูล และโทรสารดวย
  • 22. 22 การพัฒนางานคอมพิวเตอรภายในองคกร ภายในองคกรมีสิ่งที่จะตองพิจารณา และจัดเปนโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการใชไอที หลายอยางแตละอยางมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน การพัฒนาตองพัฒนาไปทั้ง “หา องคประกอบ” นี้ ไดแกฮารดแวรซอฟตแวร ขอมูล ขาวสาร ,คน และระเบียบวิธีปฏิบัติ ฮารดแวร (Hard ware) ฮารดแวร เปนเครื่องมือที่จะเขามาชวยเพิ่มประสิทธิภาพ และอํานวยความสะดวกในการ ทํางาน การวางรากฐานการใชเครื่องมือสมัยใหม ใชระบบการประมวลผลที่ทําใหทํางานไดอยาง รวดเร็วแมนยํา มีระบบการเชื่อมโยงสื่อสาร เพื่อใหขอมูลขาวสารเดินทางไปถึง และประสานการ ทํางานอยางเปนระบบได ฮารดแวรจึงรวมไปถึงอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารขอมูลตางๆ ซอฟตแวร(Software) ซอฟตแวร (Software) หมายถึงชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอร ทํางาน ซอฟตแวรจึงหมายถึง ลําดับขั้นตอนการทํางานที่เขียนขึ้นดวยคําสั่งคอมพิวเตอร คําสั่งเหลานี้ เรียงกันเปนโปรแกรมคอมพิวเตอร จากที่ทราบมาแลววาคอมพิวเตอรทํางานตามคําสั่ง การทํางาน พื้นฐานเปนการทํางานกับขอมูลที่เปนตัวเลขฐานสอง ซึ่งใชแทนขอมูลตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแมแตเปนเสียงพูดก็ได โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใชสั่งงานคอมพิวเตอรจึงเปนซอฟตแวร เพราะ เปนลําดับขั้นตอนการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งทํางานไดแตกตางกัน ไดมากมายดวยซอฟตแวรที่แตกตางกัน ซอฟตแวรจึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอรทุกประเภท ที่ทําใหคอมพิวเตอรทํางานได โปรแกรมประเภทตางๆ ขอมูลขาวสาร(Content) คือเนื้อหาสาระที่สําคัญ การดําเนินการขององคกรเกี่ยวของกับการผลิต การประมวลผล การสรุปผล การดําเนินการสื่อสารระหวางกัน การกระทําเหลานี้เกิดขึ้นกับเนื้อหาของขาวสาร ดังนั้นในองคกรตองใหความสําคัญในเรื่องขอมูลขาวสาร ทําอยางไรจึงจะใหขอมูลขาวสารเขาไป โลดแลนอยูในระบบและใชงานไดอยางเต็มที่
  • 23. 23 บุคลากร(People ware) บุคลากร คือ บุคลที่สําคัญ และเปนบุคลที่เกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และ หากใหงานมีประสิทธิผลมากที่สุด จําเปนตองพัฒนาบุคลากร มีการฝกอบรมหรือดําเนินการให บุคลากรหันมาใหความสําคัญ และการใชเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อประโยชนตอการพัฒนาองคกร ความสามารถของบุคลากรจึงเปนฐานสําคัญในการใชไอทีเพื่อประโยชนตอองคกรโดยรวม ประเภทของบุคลากรในงานคอมพิวเตอร ▪ ระดับผูบริหาร(Administration)ไดแก Electronic Data Processing manager : EDP ▪ ระดับวิชา(Technical)ไดแก System Analyst and Designer,Programme ▪ ระดับปฏิบัติการ (Operation) Computer Operator,Keypunch Operator,Data Entry ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedure) บางอยางอาจเปลี่ยนแปลงไป จําเปนตองมีการปรับปรุงใหสอดคลองกับการใชเทคโนโลยี สอดคลองกับวิถีการทํางานแนวใหม กําหนดขั้นตอนการทํางานอยางเปนระบบ หรืออาจจําเปนตองมี การปรับเปลี่ยนวิถีการทํางานบางอยางขององคกร บางองคกรจึงมีการปรับเปลี่ยนองคกรอยางรุนแรง ถึงขั้นหรือปรับระบบ (Re-en-gineering) เพื่อใหสอดคลองกับการทํางานแนวใหมที่มีไอทีเขามา สนับสนุน พัฒนาการทั้ง “หาองคประกอบ” นี้ตองไปดวยกัน จะเลือกองคประกอบใดองคประหนึ่งไมได หากองคประกอบ หนึ่งองคประกอบใดไมไดรับการพัฒนา ยอมทําใหองคประกอบขององคกรมีปญหา เชน มีการซื้อ คอมพิวเตอร และอุปกรณสื่อสารขอมูลที่ทันสมัย มีซอฟตแวรที่ทํางานไดเปนเลิศ แตขาดการ ดําเนินการกับขอมูลขาวสารที่ดี หรือเกือบจะไมมีขอมูลขาวสารใด การลงทุนนั้นก็จะดูสูญเปลา
  • 24. 24 ปฏิบัติการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร การเชื่อมตอระบบคอมพิวเตอรสวนบุคคล การตอระบบไฟฟาและสายเมาส-คียบอรด การตอสาย Power ดานหลังควรจะเสียบใหแนน ๆ สวนสายเมาสกับคียบอรดอยาใหสลับกัน ถา ใสสลับกันกับคียบอรดอาจจะไมติดเลยก็ไดครับ จากนั้นก็ใสสายจอภาพกับสายลําโพงไดตามลําดับ เทานี้ก็เทากับเรียบรอยจากนั้นก็ลองเปดเครื่อง ทดสอบกันเลยและกันวาจะออกมาในลักษณะอยางไรแตคงไมมีปญหาอะไรหรอกครับถาไดปฏิบัติ ตามที่ผมไดพูดมาทั้งหมดก็เรียบรอยถาเกิดปญหาขึ้นมาตอนเปดเครื่องอยาตกใจครับ ลองเริ่มตน ตรวจเช็คดูใหดีๆวาเราผิดพลาดตรงไหน การตอสายสัญญาณ การตอสายสัญญาณใหพิจารณาพอรตหรือชองทางที่จะตอตามภาพ ดังนี้ • วีจีเอ พอรต (VGA Port) พอรตนี้สําหรับตอคอมพิวเตอรเขากับมอนิเตอร เปนพอรตขนาด 15 พิน ในคอมพิวเตอรบางเครื่องอาจจะติดตั้งการดสําหรับถอดรหัสสัญญาณ MPEG เพิ่มเขามาซึ่งลักษณะ ของพอรตนั้นจะคลาย ๆ กันแตการด MPEGจะมีพอรตอยูสองชุดดวยกันสําหรับเชื่อมไปยังการด แสดงผลหนึ่งพอรต และตอเขากับมอนิเตอรอีกหนึ่งพอรต ดังนั้นเครื่องใครที่มีพอรตแบบนี้ ก็ควร จะบันทึกไวดวย เพราะไมงั้นอาจจะใสสลับกันจะทําใหโปรแกรมบางตัวทํางานไมได • พอรตอนุกรม (Serial Port) เปนพอรตสําหรับตอกับอุปกรณอินพุตและเอาตพุต โดยสวนใหญเราจะใชตอกับเมาสใน กรณีที่คอมพิวเตอรเครื่องนั้นไมมีพอรต PS/2 หรือเปนเคสแบบ AT นอกจากนั้นเรายังใชสําหรับเปนชองทางการติดตอโมเด็มดวยในคอมพิวเตอรหนึ่งเครื่องจะมีพอรอนุ กรมใหอยูสองพอรต เรียกวาพอรตคอม 1 และพอรตคอม 2 นอกจากนั้นอาจจะมีฮาดแวรบางตัว เชน จอยสติ๊กรุนใหมๆ มาใชพอรตอนุกรมนี้เชนกัน • พอรตอนุกรมจะมีหัวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอรตนี้จะเปนตัวผู เพราะมีเข็มยื่นออกมา) • พอรตนี้จะตอกับอุปกรณตางๆ เชน เมาส โมเด็ม สแกนเนอร เปนตน • สามารถตอความยาวไดถึง 6 เมตร และราคาสวยก็ไมแพงนัก